ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ...

52

Transcript of ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ...

Page 1: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง
Page 2: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

ค าน า

การถ่ายทอดเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วง หิมพานต์เป็นการใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือท้ิงจากการแปรรูป โดยใช้รูปแบบการขยายผลสู่การปฏิบัติและสามารถน าไปสู่การใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะกับกลุ่มเปูาหมายผู้ใช้ประโยชน์โดยตรง ด้วยรูปแบบการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน อันจะก่อให้เกิดการเพิ่มประสิทธิภาพและการสร้างมูลค่าเพิ่ม เกิดการพึ่งพาตนเองของประเทศทางด้านเทคโนโลยี เครื่องจักรกลการเกษตรลดการน าเข้าเทคโนโลยีจากต่างประเทศ และก่อให้เกิดการพัฒนาศักยภาพของชุมชนในการจัดการเศษเหลือท้ิงทางการเกษตรหลังจากการแปรรูปได้อย่างมีประสิทธิภาพ

ทางคณะผู้จัดท าโครงการจึงได้จัดท าคู่มือที่ใช้ประกอบการฝึกอบรมถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยการให้ความรู้เกี่ยวกับหลักการใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือท้ิงจากการแปรรูป หลักการท าการและขั้นตอนการใช้งานรวมไปถึงการบ ารุงรักษาเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ เพื่อใช้ส าหรับเป็นสื่อประกอบการถ่ายทอดเทคโนโลยีในรูปแบบของการจัดการความรู้เพื่อใช้ประโยชน์จากผลงานวิจัยส าหรับการจัดการเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือทิ้งจากการแปรรูปต่อไป

พิทักษ์ คล้ายชมและคณะ

กันยายน 2559

Page 3: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

2

สารบัญ

หน้า ค าน า 1 สารบัญ 2 แนวคิดและหลักการ 3 จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันฯ 6 ประโยชน์ของการพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันฯ 6 เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ 7 น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ 9 การสกัดแยกน้ ามัน CNSL 11 มาตรฐานน้ ามัน CNSL 13 การใช้ประโยชน์น้ ามัน CNSL 14 หลักการออกแบบเครื่องสกัดน้ ามัน ฯ 16 ส่วนประกอบของเครื่องสกัดน้ ามันฯ 20 ประสิทธิภาพของเครื่องสกัดน้ ามนัฯ 30 ต้นทุนค่ากระแสไฟฟูาจากการใช้งานของเครื่องสกัดน้ ามัน ฯ 32 การใช้งานของเครื่องสกัดน้ ามันฯ

การบ ารุงรักษาเครื่องสกัดน้ ามันฯ 34 45

ข้อควรระวังในการใช้เครื่องสกัดน้ ามันฯ 46 แบบประเมินตนเองด้านความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีฯ 47 เอกสารอ้างอิง 49

Page 4: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

3

เทคโนโลยกีารสกัดน้ ามนัเพือ่เพิม่มลูค่าเปลือกเมลด็มะมว่ง

หิมพานตท์ี่เหลอืทิง้จากกระบวนการแปรรปู

แนวคิด และหลักการ มะม่วงหิมพานต์ เป็นถั่วเปลือกแข็ง มีการปลูกกันมาเป็นเวลานาน เนื่องจากเป็นพืชที่ทนแล้ง ปลูกง่าย เจริญเติบโตเรว็ ดูแลง่าย ขึ้นได้ในดินแทบทุกชนิดที่ระบายน้ าดี มะม่วงหิมพานต์เป็นพืชอเนกประสงค์สามารถน าส่วนต่างๆ ของต้นมาใช้ประโยชน์ได้มากมาย ทั้งด้านการบริโภค การแพทย์ และอุตสาหกรรม ตั้งแต่ ราก ล าตัน เปลือก ใบ ยอดอ่อน ผลจริง ผลปลอม น้ ามันจากเปลือกผล เยื้อหุ้มเมล็ดใน และเมล็ดใน แต่มีเพียงสองส่วนเท่านั้นที่สามารถน ามาใช้ประโยชน์ได้มากที่สุด คือ เมล็ดในมะม่วงหิมพานต์ และน้ ามันจากเปลือกของเมล็ด ด้านลักษณะของเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ มีรูปร่างคล้ายไต เปลือกและเม็ดจะหนาและแข็งภายในน ามาใช้ประโยชน์ได้หลายอย่าง เช่น เปลือกหุ้มเม็ด ถ้าน ามาสกัดจะได้กรดน้ ามัน ซึ่งมีช่ือทางการค้าว่า CNSL (Cashew nut shell liquid) มีส่วนประกอบของกรดอราคาร์ดิค 90% และคาร์ดอล 10% มีสีน้ าตาลคล้ าแกมด า น้ ามันในเปลือกหุ้มเม็ดนี้ สามารถน าเอาไปใช้ประโยชน์ได้หลายประการ เช่น ใช้ท าสีย้อมแห ด้าย อวน ใช้ทาผลิตภัณฑ์ไม้ เฟอร์นิเจอร์ ไม้ต่าง ๆ เพื่อปูองกันพวกมอด ปลวก และแมลงที่กัดกินเนื้อไม้ ใช้ผสมกับน้ ามันก๊าด หรือสารพาราฟินเหลวราดลงบนแอ่งน้ า หรือหลุมเพื่อปกคลุมผิวน้ าสามารถก าจัดตัวอ่อนหรือลูกน้ าของยุงได้ ใช้ท าเป็นยาปูองกันหรือไล่ยุงในบ้านเรือนได้เป็นอย่างดี โดยใช้เปลือกส่วนที่แกะเอาเนื้อในออกแล้ว หรือกากที่เหลือจากการสกัดน้ ามันออกแล้วมาสุมไฟ ใช้เป็นครีมลอกฝูาหรือลอกผิวหนังที่ตกกระออก หรือใช้ท ายารักษาโรคเรื้อน โรคเท้าช้าง โรคผิวหนัง โรคฝุาเท้าแตก โรคเรื้อนวงแหวน หูด ตาปลา

Page 5: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

4

ริดสีดวงทวาร โรคเหน็บชา ใช้ในอุตสาหกรรมเคมีภัณฑ์ อุตสาหกรรมพลาสติก อุตสาหกรรมสี และอื่น ๆ มากกว่า 400 ชนิด เช่น สีทาบ้าน ท าพลาสติก ผ้าเบรก ผ้าคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุ้มสายไฟฟูาซึ่งเป็นฉนวนไฟฟูาท่ีสามารถทนต่อกรด ด่าง ความร้อนและแรงเสียดสีได้ดี

การแปรรูปเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ในปัจจุบันนั้นประสบปัญหาในส่วนที่เกี่ยวกับการจัดการเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ซึ่งเป็นที่เศษเหลือทิ้งจากการแปรรูป ซึ่งกลุ่มผู้ผลิตส่วนใหญ่มักใช้วิธีการจัดการโดยการน าไปทิ้งตามที่ทิ้งขยะสาธารณะหรือในบริเวณพื้นที่ว่างเปล่าจึงท าให้เกิดการก่อมลภาวะในหลายๆด้านกับชุมชน เช่น กลิ่นเหม็น ท าลายแหล่งน้ าของชุมชน หรือแม้แต่การก่อให้เกิดปัญหาขยะที่เป็นอันตรายต่อคนในชุมชน เนื่องมาจากในเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มีส่วนประกอบของกรด กรดน้ ามันนี้เป็นอันตรายต่อผิวหนังและเนื้อเยื่อต่าง ๆ ของมนุษย์ ซึ่งถ้าหากไปแตะต้องเข้าแล้วจะท าให้เกิดเป็นแผลผุพองและเน่าเปื่อยได้ และมีกลุ่มผู้ผลิตบางรายที่ท าการก าจัดเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์โดยการเผาท าลาย ซึ่งเป็นวิธีการที่ท าให้เกิดมลพิษ เนื่องจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เมื่อถูกความร้อนสูงประมาณ 80-100 องศาเซลเซียส สารพิษพวกนี้จะระเหยมีกลิ่นฉุนจัด เป็นอันตรายต่อเยื่อหุ้มจมูกและนัยน์ตาด้วย จึงท าให้กลุ่มผู้ผลิตมะม่วงหิมพานต์ เลือกที่จะใช้วิธีการก าจัดเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์โดยการกองทิ้งไว้ให้ย่อยสลายไปตามธรรมชาติ เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์จ านวนนี้จะก่อให้เกิดปัญหากับชุมชนและสิ่งแวดล้อมของอ าเภอท่าปลาในระยะยาวแน่นอนหากไม่มีการจัดการที่ เหมาะสมและถูกต้อง แต่ในปัจจุบันเปลือกเมล็ดมะม่วง หิมพานต์จะจ าหน่ายให้พ่อค้ากิโลกรัมละ 1 บาท เพื่อขายส่งโรงงานสกัดเป็นน้ ามันเบรก ส่วนหนึ่งขายให้โรงงานแปรรูปเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ท าเป็นเช้ือเพลิงในกระบวนการผลิต โดยพ่อค้าจากกรุงเทพมารับซื้อจากกลุ่มผู้ผลิตมะม่วงหิมพานต์ เนื่องจากปริมาณที่ต้องการต่อการรับซื้อต่อครั้งทางโรงงาน

Page 6: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

5

ผู้ผลิตจะต้องรวบรวมเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ให้ได้จ านวน 15 ตัน จึงจะมารับเอาไป แต่เนื่องจากปัจจุบันเกิดปัญหาค่าขนส่งราคาสูง จึงมีผลท าให้กลุ่มพ่อค้าที่มารับซื้อเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ลดจ านวนครั้งในการมารับซื้อลง อีกทั้งยังกดราคาให้ต่ าลงเหลือเพียงกิโลกรัมละ 50 สตางค์ จึงท าให้กลุ่มผู้แปรรูปมะม่วงหิมพานต์ส่วนใหญ่น าเปลือกที่เหลือไปก าจัดหรือท าลายอย่างไม่ถูกวิธีเหมือนอย่างเดิมที่เคยเป็นมา จากสภาพการณ์ที่เกิดขึ้นจึงท าให้มีการด าเนินโครงการวิจัยเพื่อการศึกษารูปแบบการใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือทิ้งจากการแปรรูปโดยความร่วมมือระหว่างมหาวิทยาลัยราชภัฎอุตรดิตถ์กับกลุ่มเครือข่ายวิสาหกิจชุมชน อ าเภอท่าปลา จังหวัดอุตรดิตถ์ ขึ้นในปีพ.ศ.2557 โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อการหาแนวทางหรือวิธีการเพิ่มมูลค่าและใช้ประโยชน์จากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือทิ้งจากการแปรรูป โดยได้มีการทดลองน าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือทิ้งจากการแปรรูปมาสกัดน้ ามันด้วยเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ที่ออกแบบโดยใช้หลักการบีบอัดแบบเกลียวอัด ซึ่งสามารถบีบน้ ามันออกจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ได้ จนน าไปสู่ขั้นตอนการถ่ายทอดเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ซึ่งเป็นการใช้ประโยชน์และเพิ่มมูลค่าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือทิ้งจากการแปรรูป โดยใช้รูปแบบการขยายผลสู่การปฏิบัติและสามารถน าไปสู่การใช้ประโยชน์โดยตรงกับกลุ่มเกษตรกร เพื่อการใช้ประโยชน์เชิงสาธารณะด้วยรูปแบบการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วมอย่างยั่งยืน

Page 7: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

6

จุดมุ่งหมายของการพัฒนาเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันเพื่อเพิ่มมูลค่ าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือทิ้งจากกระบวนการแปรรูป

1. เพื่อประดิษฐ์เครื่องสกัดน้ ามันจากเปลอืกเมลด็มะม่วงหิมพานต์ที่เหลือท้ิงจากกระบวนการแปรรูปให้กับกลุ่มเปูาหมาย

2. เพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีและองค์ความรู้การสกัดน้ ามันเพื่อเพิ่มมูลค่าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือท้ิงจากกระบวนการแปรรูปด้วยรูปแบบการจัดการความรู้แบบมีส่วนร่วม

3. เพื่อสร้างคุณค่าให้กับผลงานวิจัยด้านการสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหมาะสมส าหรับชุมชน โดยการใช้วัตถุดิบเหลือท้ิงภายในชุมชนเพื่อการพึ่งพาตนเอง

ประโยชนข์องการพฒันาเทคโนโลยกีารสกดัน้ ามนัเพือ่เพิม่มลูคา่เปลอืกเมลด็มะมว่งหมิพานตท์ีเ่หลอืทิง้จากกระบวนการแปรรปู

1. เพิ่มมูลค่าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือท้ิงจากกระบวน การแปรรูปโดยใช้เทคโนโลยีการสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ 2. เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการเศษเหลือท้ิงจากกระบวนการ แปรรูป 3. ลดปัญหาด้านการก่อมลภาวะทางสิ่งแวดล้อมในชุมชนอันเนื่อง มาจากเศษเหลือทิ้งจากกระบวนการแปรรูปผลผลิตทางการเกษตรลดปัญหาการเผาท าลายที่ท าให้เกิดปัญหามลภาวะทางอากาศกลุ่มควันและก๊าซพิษที่ท าลายสิ่งแวดล้อม 4. เพิ่มความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจ

Page 8: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

7

เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

มะม่วงหิมพานต์ ประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ผลแท้และผลเทียม ผลแท้ของมะม่วงหิมพานต์เป็นผลเมล็ดเดียว รูปไต งอกออกมาจากลายของผลเทียม โดยผลแท้ของมะม่วงหิมพานต์จะมีเปลือกแข็ง ผลอ่อนจะมีสีเขียวและจะขยายการเจริญเติบโตจนใหญ่กว่าผลเทียมในระยะแรก เมื่อได้ขนาดจะหยุดการเจริญและเปลี่ยนสีเป็นสีเทา ในขณะเดียวกันดอกที่เป็นผลเทียมจะเริ่มขยายตัวพอโตขึ้นจนใหญ่กว่าเมล็ด เมล็ดด้านในจะมีสีขาวนวลประกบกัน 2 ซีก จะถูกหุ้มด้วยเปลือกสองช้ัน คือ เปลือกเมล็ด และเปลือกช้ันใน โดยเมล็ดมะม่วงหิมพานต์จะประกอบดว้ยส่วนเปลือกประมาณ 72-75 เปอร์เซ็นต์ และเมล็ดอีกประมาณ 25 เปอร์เซ็นต์ โดยอัตราส่วนของเปลือกและเมล็ดจะแตกต่างกันตามแหล่งเพาะปลูก ลักษณะของเปลือกเมล็ด จะมีผิวด้านนอกและด้านในติดกับเมล็ด ลักษณะเรียบ เป็นมัน มีลักษณะคล้ายรวงผึ้ง ท าหน้าที่ห่อหุ้มสารจ าพวกยางฟีนอลิก และน้ ามัน ซี่งจะมีพิษที่ระคายเคืองต่อผิวหนังอย่างงรุนแรง เนื่องจากยางนี้เป็นน้ ามันกรดอย่างแรง เมื่อถูกความร้อนสูงจะระเหยได้ มีกลิ่นฉุน กัดเยื่อจมูกและนัยน์ตา น้ ามันที่สกัดได้จากเปลือกจะเรียกว่า น้ ามันเปลือกมะม่วงหิมพานต์ (Cashew Nut Shell Liquid : CNSL) ซึ่งประกอบด้วย กรดอานาคาร์ดิก 90 เปอร์เซ็นต์ และกรดคาร์ดอล10 เปอร์เซ็นต์ ส่วนเปลือกช้ันในจะห่อหุ้มเมล็ดอีกช้ันหนึ่ง ส่วนเนื้อในมีลักษณะโค้งงอคล้ายไต มี 2 ซีก สีขาวนวล เป็นแหล่งอาหารที่มีคุณค่า ซึ่งประกอบไปด้วย โปรตีน 20 เปอร์เซ็นต์ ไขมัน 47 เปอร์เซ็นต์ เกลือแร่ วิตามิน ในไขมันที่ละลายน้ ามันได้ ได้แก่ วิตามินเอ วิตามินบี และมีกรดไลโนลิอิค ซึ่งสามารถช่วยปูองกันโรคไขมันในตับและโรคหัวใจได้ (Das et al., 2003) จากการศึกษาองค์ประกอบของเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ของ Tychopoulas และTyman (1990) พบว่า เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ประกอบด้วย ความช้ืน 8-10%, น้ ามัน CNSL40-48%, โปรตีน 18-20%, คาร์โบไฮเดรด 38-40%,

Page 9: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

8

เส้นใย 1-1.5 และOhler (1979) ศึกษาเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ พบ เถ้า 6.74% เซลลูโลส และลิกนิน 17.35% น้ าตาล 20.85%

ภาพที่ 1 ลักษณะของผลมะม่วงหมิพานต ์ทีม่า : Global Perspective, Cashew Handbook, 2014 : ออนไลน ์

ภาพที่ 2 ลักษณะและโครงสร้างของเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ทีม่า : วิทยา บุญค า (2547)

Page 10: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

9

ภาพที่ 3 เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต ์ทีม่า : บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จ ากัด (2555)

น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์จะมีปริมาณ น้ ามัน CNSLอยู่ประมาณ 30-40 % ของน้ าหนักเมล็ดรวมเปลือก ซึ่งสามารถสกัดออกมาได้โดยการน าเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มาผ่านกระบวนการสกัดด้วยความร้อน สกัดด้วยสารละลาย หรือบีบด้วยเครื่องมือ (ระรินธร สายแสงทอง , 2557) น้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ เป็นของเหลว มีสีน้ าตาลเข้ม เหนียว ข้น ไม่ละลายน้ า ละลายได้ดีในตัวท าละลายอินทรีย์แทบทุกชนิด มีความหนืดที่ 30 องศาเซลเซียล ราว 550 เซนติพอยส์ จึงนิยมเรียกว่า น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ซึ่งใช้เป็นวัตถุดิบผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ได้มากกว่า 400 สูตร ประเทศท่ีผลิตน้ ามัน น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ที่ส าคัญของโลก คือ ประเทศโมชัมบิก บราซิล และอินเดีย โดยมีปริมาณผลผลิตเพิ่มขึ้นในแต่ละปี นับแต่ประมาณปีละ 12,000 เมตริกตันในปี 2505 จนถึง 42,000 เมตริกตันในปี 2523 และประเทศที่สั่งน้ ามัน CNSL เข้าไปใช้มาก ได้แก่ สหรัฐอเมริกา ญี่ปุุน สหราชอาณาจักร ออสเตรเลีย เกาหลีใต้ เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส

Page 11: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

10

และเบลเยี่ยมผลการศึกษาของ Aggarwal (1972) พบว่า น้ ามัน CNSLมีอยู่ในเปลือกเมล็ดประมาณร้อยละ 32-43 โดยน้ าหนัก โดยที่เปลือกเมล็ดมีสัดส่วนโดยน้ าหนักประมาณร้อยละ 67 ของเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ทั้งเมล็ด น้ ามันCNSL จะเป็นตัวปูองกันแมลงโดยธรรมชาติ ไม่ให้เข้าไปท าลายเมล็ดใน ซึ่งเป็นส่วนที่มีลักษณะโค้งเล็กน้อย มีเนื้อสัมผัสละเอียด และมีกลิ่นรสเป็นที่ต้องการ ประเทืองศรี สิน ชัยศรี (2534) รายงานว่ า น้ ามันชนิดนี้ ประกอบด้วยสารเคมีต่าง ๆ ดังนี้คือ กรดอนาคาร์ดิด ร้อยละ 82 คาร์ดอล ร้อยละ 1.6 และเมทิลคาร์ดอล ร้อยละ 2.6 ซึ่งสารเหล่านี้เมื่อน าไปผสมกับสารเคมีอื่น ๆ จะเกิดสารใหม่ขึ้น ซึ่งสามารถน าไปใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้ รายละเอียดองค์ประกอบหลักทางเคมีของน้ ามัน CNSL มีอยู่ 4 ชนิด คือ

1. กรดอนาคาร์ดิก เป็นสารจ าพวกกรดไฮดรอกซิล คาร์บอนซิลิก มีสูตรโมเลกุล C22H32O3 เมื่อท าการสกัดด้วยความร้อนต่ าจะได้ปริมาณของกรดอนาคาร์ดิก 65-70 เปอร์เซ็นต์ โดยน้ าหนักของ CNSL มีฤทธ์ิเป็นกรด กัดผิวหนัง มีกลิ่นฉุน การน าไปใช้ประโยชน์ เช่น น าไปรักษาโรคผิวหนังบางชนิด โรคเรื้อน และสารต่อต้านการเกิดมะเร็ง เป็นต้น

2. คาร์ดานอล เป็นสารจ าพวกฟีนอลิกที่มีหมู่ ไฮดรอกซี 1 ต าแหน่ง เมื่อท าการสกัดด้วยความร้อนต่ าจะได้ปริมาณของคาร์ดานอล18 เปอร์เซ็นต์โดยน้ าหนักของ CNSL แต่เมื่อท าการสกัดด้วยความร้อนสูงจะเกิดปฏิกิริยาดีคาร์บอกซิเลชัน โดยความร้อนจะไปท าการสลายหมู่ฟังก์ชัน คาร์บอกซิลของกรดอนามคาร์ดิก น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ซึ่งมีองค์ประกอบหลักเป็นคาร์ดานอลอยู่ 60-65%คาร์ดอล15-201% และสารพอลิเมอร์อื่น ๆ 10 % โดยน้ าหนักของ CNSL ซึ่งคาร์ดานอลสามารถน าไปใช้เป็นสารตั้งต้นในการผลิตโพลิยูริเทน และอุตสาหกรรมทาสีได้ (Smith et al., 2003)

Page 12: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

11

3. คาร์นอล เป็นสารจ าพวกฟีนอลิก เมื่อท าการสกัดด้วยความ

ร้อนต่ าจะได้ปริมาณของคาร์ดอลอยู่ 5% โดยน้ าหนักของ CNSL2-เมทิลคาร์ดอลเป็นสารจ าพวกฟีนอลิกที่มีอยู่ปริมาณน้อยมากประมาณ 0.5% โดยน้ าหนักของ CNSL และจะพบเมื่อท าการสกัดด้วยความร้อนสูง เนื่องจากมีปริมาณที่น้อยจึงไม่นิยมน าไปใช้ประโยชน์

ภาพที่ 5 น้ ามัน CNSLจากเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานต ์

การสกดัแยกน้ ามนั CNSLออกจากเปลอืกเมลด็มะมว่งหมิพานต์

1. การใช้วิธีทางกล ได้แก่ การบีบอัดโดยเครื่องบีบอัดแบบสกรู หรือการบีบอัดด้วยเครื่องบีบอัดระบบไฮดรอลิก โดยระบบหลังจะเป็นเครื่องจักรแบบกะ วิธีท ากลเป็นวิธีที่ง่ายและสะดวกรวดเร็ว หลักการจะเป็นการบีบอัดเปลือกมะม่วงหิมพานต์ที่ผ่านการกะเทาะเอาเมล็ดในออกแล้วด้วยเครื่องอัด ท าให้น้ ามันในเปลือกเมล็ดในไหลออกมา ขั้นตอนเริ่มด้วยการคัดเอาเศษฝุุนผงออกก่อนให้หมด อาจจะเอาเปลือกไปคั่วก่อนประมาณ 20 นาที เพื่อให้

Page 13: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

12

ผิวนอกกรอบและช่วยให้น้ ามันไหลออกมามากขึ้น น้ ามันที่ออกมาต้องน าไปผ่านการกรองเอาเศษฝุุนผงออกอีกครั้งเปลือกที่ผ่านการบีบอัดด้วยวิธีนี้จะมีน้ ามันหลงเหลืออยู่ประมาณ 4-5% โดยน้ าหนักกาก กากส่วนที่เหลือนี้สามารถน ามาใช้เป็นเชื้อเพลิงให้ความร้อนได้ แต่การใช้เครื่องบีบอัดแบบสกรูจะท าให้เกิดความร้อนขึ้น ท าให้เกิดไอระเหยจาก CNSL ก่อเกิดอาการระคายเคืองต่อผู้ท างานและอาจท าให้ CNSL ลุกติดไฟได้ 2. การสกัด วิธีนี้สามารถสกัดเอาน้ ามันออกจากเปลือกได้ทั้งก่อนและหลังการกระเทาะเปลือก ซึ่งสามารถแบ่งออกได้เป็น 3 แบบใหญ่ ไดแ้ก่ 2.1 การสกัดด้วยไอน้ าร้อน วิธีนี้ท าโดยการเอาเมล็ดหรือเปลือกที่ผ่านการกะเทาะออกแล้วบรรจุในหม้อทรงกระบอก แล้วผ่านไอน้ าที่อุณหภูมิ

ประมาณ 200-250C ลงไปประมาณ 2-3 นาที ก็จะสามารถสกัดเอา CNSL ออกมา วิธีนี้จะมีน้ ามันหลงเหลือในเปลือกอยู่ประมาณ 7-12% โดยน้ าหนักกาก ซึ่งมากที่สุดในบรรดากรรมวิธีต่าง ๆ ที่ใช้ในการสกัด CNSL ต้องใช้พลังงานสูงเนื่องจากต้องผลิตไอน้ าที่อุณหภูมิสูง ท าให้วิธีนี้ไม่เป็นที่นิยมไม่คุ้มค่าการลงทุน 2.2 การสกัดด้วยการทอดในน้ ามันร้อน วิธีนี้เป็นวิธีที่มักจะใช้กับเมล็ดดิบก่อนการน าไปกะเทาะเปลือก มักพบการใช้วิธีนี้ในแถบภาคใต้ที่สามารถหาน้ ามันปาล์มได้ในราคาถูกกว่าภาคอื่น การทอดจะทอดด้วย

อุณหภูมิประมาณ 200Cซึ่งจะช่วยท าให้ผิวนอกของมะม่วงหิมพานต์กรอบละเปราะขึ้น สามารถกะเทาะเอาเมล็ดในออกมาได้ง่าย แต่อาจท าให้ CNSL ปนเปื้อนไปกับเมล็ดในที่กะเทาะออกมาได้ การแยกเอา CNSL ออกจากน้ ามันพืชท าได้ยาก 2.3 การสกัดด้วยตัวท าละลายเคมี วิธีนี้เป็นการอาศัยตัวท าละลายเคมี ซึ่งส่วนใหญ่จะเป็นตัวท าละลายไฮโดรคาร์บอนมาสกัด CNSL ออกจากเปลือกที่กะเทาะเมล็ดในออกแล้ว ไม่นิยมใช้กับเมล็ดดิบท่ียังไม่กะเทาะเปลือก

Page 14: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

13

เพราะอาจจะมีตัวท าละลายปนเปื้อนในเมล็ดในที่กะเทาะออกมาได้ เริ่มโดยการน าเปลือกที่จะสกัดมาท าความสะอาดเอาเศษฝุุนผงออก ท าการบดเป็นช้ินเล็ก ๆ เพื่อลดความช้ืนและท าให้สามารถสกัด CNSL ได้ดียิ่งข้ึน หลังจากสกัดด้วยตัวท าละลายแล้ว น าเอาส่วนผสมของ CNSL และตัวท าละลายมากลั่นแยกเอาตัวท าละลายออกเพื่อน ากลับมาใช้ใหม่ วิธีนี้ยุ่ งยากและต้องอาศัยเครื่องจักรที่มีราคาสูง เหมาะกับอุตสาหกรรมที่มีขนาดใหญ่ที่มีตลาดรองรับเพียงพอและมีปริมาณของเปลือกปูอนได้ตลอด อีกท้ังใช้เงินลงทุนสูง

มาตรฐานน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

ปัจจุบันน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่มีจ าหน่ายอยู่มีมาตรฐานที่ใช้ทั่วไปอยู่สองมาตรฐานคือ มาตรฐาน BPและมาตรฐาน IRVINGTON ดังแสดงในตารางที่ 1 (กรรณิการ์ สถาปิตานนท์ และคณะ, 2532)

ตารางที่ 1 มาตรฐานน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

รายการ มาตรฐาน BP มาตรฐาน IRVINGTON

สิ่งสกปรก ความถ่วงจ าเพาะ 25 °C ความหนืดที่ 25 °C (cp) ค่าไอโอดีน ความช้ืนร้อยละ เถ้าร้อยละ สารที่ระเหยเป็นไอโอดีนได้ร้อยละ Polymerization Hardening

ไม่เกิน 1.0 0.955-0.975 ไม่เกิน 600 ไม่น้อยกว่า220 ไม่เกิน 1.0 ไม่เกิน 1.0 - -

ไม่เกิน 1.0 0.943-0.968 ไม่เกิน 600 - - - ไม่เกิน 2.0 -

Page 15: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

14

เวลา 7.5-16 (นาที) ทดลองหลอดเจล(นาที)

-

ไม่เกิน 7

ที่มา : กรรณิการ์ สถาปิตานนท์ และคณะ (2532) การใช้ประโยชน์น้ ามัน CNSL จากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

การประยุกต์ใช้น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ในทางอุตสาหกรรมและวิศวกรรมโดย น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เป็นของผสมระหว่างสารประกอบฟีนอลิกต่างๆ ที่ได้จากธรรมชาติการใช้งานของ น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ได้แก่ ใช้ทาสี และวาร์นิช ที่ต้องการความต้านทานต่อการกัดกร่อน และท าวัสดุเชิงประกอบ เป็นต้น จากงานวิจัยท่ีผ่านมาได้มีการน าน้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มาปรับแต่งคุณสมบัติเบนซอกซาซีนเรซิน โดยพบว่าพอลิเมอร์อัลลอยด์ที่ได้จากสารดังกล่าวนั้นมีสมบัติเหมาะแก่การใช้เป็นกาวประสานในการผลิตวัสดุทดแทนไม้การประยุกต์ใช้น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ในทางอุตสาหกรรมและทางการแพทย์ สามารถด าเนินการ (J.H.PTyman,et al.,1984) ได้ดังนี้ 1. การน าน้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ มาใช้ประโยชน์ในทางอุตสาหกรรม โดยจะน าไปผ่านกระบวนการพอลิเมอร์ไรเซชัน โดยวิธีการต่าง ๆ แบ่งเป็นทางฟิสิกส์ โดยการให้ความร้อน ความดัน รังสีและทางเคมี โดยการเติมสารเข้าท าปฏิกิริยา โดยใช้การเกิดปฏิกิริยา ประโยชน์ท่ีได้รับได้แก่ 1.1 อุตสาหกรรมเกี่ยวกับไฟฟูา โดยส่วนใหญ่จะผลิตเป็น สารเคลือบ ซึ่งมีคุณสมบัติทางด้านการฟอร์มตัวเป็นแผ่นฟิล์ม มีความต้านทานความร้อนปูองกันความชื้น และมีคุณสมบัติเป็นฉนวนไฟฟูา

Page 16: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

15

1.2 แล็คเกอร์ใช้ประโยชน์ในด้านการเป็นฉนวน ปูองกัน และอาบวัสดุตกแต่ง แล็คเกอร์ ที่ได้จะมีความยืดหยุ่น และความเหนียวที่เหมาะสม มีความมัน และมีคุณสมบัติติดแน่น มีความต้านทานต่อความช้ืน สารเคมีทั้งกรด และเบส 1.3 ตัวน าไฟฟูาจะมีคุณสมบัติ คือ ปูองกันน้ า และความช้ืน ทนทานต่อความร้อนได้ถึง 260 องศาเซลเซียส หรือสูงกว่า และเมื่อท าให้เย็นจะไม่ท าให้ค่า Dielectric ลดต่ าลง 1.4 เรซิ่นลามิเนตที่ได้จะมีความยืดหยุ่นสูงมาก สามารถน า ไปใช้ในอุตสาหกรรมต่าง ๆ ได้ เช่น อุตสาหกรรมกระดาษ เสื้อผ้า และใยแก้ว เป็นต้น 1.5 ปูนซีเมนต์โดยการน า พอลิเมอร์เมล็ดมะมว่งหิมพานต์มาท าปฏิกิริยากับฟอร์มาลดีไฮด์จะให้ เจลยาง ซึ่งสามารถใช้แทนปูนซีเมนต์ได้ แต่จะแข็งตัวช้ากว่า ปูนซีเมนต์ สามารถท าให้แข็งตัวเร็วได้โดยการใช้ความร้อนเข้าช่วย ปูนซีเมนต์ที่ได้นี้จะสามารถติดได้ดีกับวัสดุพวก เหล็กกล้าคาร์บอน บล็อกผง งานก่ออิฐเป็นต้น โดยที่ ปูนซีเมนต์ที่ได้มานี้จะไม่เกิดปฏิกิริยากับสารทั้งที่เป็นกรดและเบส 1.6 ยางผสม สามารถท าได้โดยการน าเรซินเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ฟีนอลฟอร์มาลดีไฮด์มาท าให้เกิดการรวมตัวกับยางสังเคราะห์ เช่น ยางไนไตรล์ โดยยางที่ผลิตขึ้นใหม่ จะมีค่าความต้านแรงดึงที่ดี แข็งแรง และทนทานต่อการเสียดสี 1.7 เบรคและคลัตช์สามารถท าได้โดยการใช้ พอลิเมอร์เมล็ดมะม่วงหิมพานต์มาท าเช่ือมกับ Aldehydes แล้วจะได้เรซินท่ีสูงขึ้น ซึ่งจะใช้เป็น วัสดุปรับแรงเสียดทานในการท าผ้าเบรก และคลัส ซึ่งมีคุณสมบัติในด้านความเสียดทานสูง

Page 17: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

16

1.8 อุตสาหกรรมเคมี สามารถใช้เป็นตัวประสานระหว่างสาร 2 ชนิดที่ไม่สามารถละลายรวมได้ ท าให้สามารถรวมกันได้อย่างดี หรืออาจใช้เป็นตัวเร่งในการเกิดปฏิกิริยาเคมีก็ได้

2. การใช้ประโยชน์ในด้านการแพทย์ ใช้ท ายารักษาผู้ปุวยท่ีเป็น โรคเหน็บชาวัณโรค โรคเท้าช้าง โรคเลือดคั่ง โรคเรื้อน โรคผิวหนัง หูด ตาปลา และส้นเท้าแตกได้(ประเทืองศรี สินชัยศรี, 2534)

หลักการออกแบบเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

ส าหรับเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เพื่อให้ได้สารสกัดน้ ามันจากส่วนของเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่มีส่วนผสมของกรดอราคาร์ดิคและสารคาร์ดอลผู้วิจัยใช้หลักการออกแบบด้วยการบีบอัดด้วยแรงจากเครื่องบีบอัดแบบเกลียวอัดด าเนินการออกแบบและเขียนแบบโดยพิจารณาจากหลักการออกแบบช้ินส่วนเครื่องจักรกลการเกษตร ส่วนการเขียนแบบใช้เครื่องคอมพิวเตอร์ส าเร็วรูป ซึ่งสามารถอธิบายขั้นตอนและวิธีการออกแบบค านวณ และสร้างชุดช้ินส่วนที่ส าคัญของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์แบบเกลียวอัดได้ดังนี้ 1. การค านวณทางวิศวกรรมของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ การออกแบบสกรู อัดส าหรับการออกแบบสกรู อัดเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มีข้อก าหนดเบื้องต้นในการออกแบบดังนี ้ 1.1 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของเพลา มีขนาด 280 มิลลิเมตร 1.2 ความเร็วรอบของสกรูที่ใช้ในการอัดเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มีค่า 100 รอบ/นาที

Page 18: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

17

1.3 สัมประสิทธ์ความเสียดทานระหว่างเบดอนุภาคของแข็งกับผิวของเพลา มีค่า 0.6 เป็นค่าเริ่มต้นท่ีใช้ในการออกแบบตามทฤษฎี 1.4 สัมประสิทธ์ิความเสียดทานระหว่างเบดอนุภาคของแข็งกับผิวของสกรู มีค่า 0.36 เป็นค่าเริ่มต้นท่ีใช้ในการออกแบบตามทฤษฎี 1.5 ความหนาแน่นของเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เริ่มต้นมีค่า 1120 kg/m3 1.6 เส้นผ่านศูนย์กลางของสกรูมีค่า 80 มิลลิเมตร

1.7 มุมเกลียวสกรูที่ต าแหน่งโคน (ɸS) มีค่า 20 องศาในการออกแบบ 1.8 ความหนาของฟันเกลียวสกรูมีค่า 6 มิลลิเมตรเป็นค่าเริม่ตน้ที่ใช้ในการออกแบบตามทฤษฎี 2. แนวคิดในการออกแบบสกรูอัด โดยปกติสกรูอัดวัสดุทีใ่ช้ในงานอุตสาหกรรมการบีบอัดทั่วไปจะเห็นว่าสกรูอัดดงักล่าว มีลกัษณะทีโ่คนของสกรูมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางสกรูเล็กกว่าช่วงของปลายสกรูเพราะทีช่่วงโคนเป็นช่วงทีใ่ช้ส าหรับล าเลียงอนุภาคของวัสดุที่จะท าการอัด และช่วงปลายจะเป็นช่วงอัดซึ่งจะมีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของสกรูโตขึ้นเพื่ออัดอนุภาคของวัสดุใหม่ความหนาแน่นเพิ่มมากขึน้และดันตัวออกมาจากแม่พิมพ ์การสร้างสกรูบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์โดยหลักการของสกรูอัดคือการเพิ่มความหนาแน่นของอนุภาคในแต่ละร่องเกลียว จากหลักการดังกล่าวสามารถใช้ในการออกแบบสกรูที่ ใช้ในการบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ได้ผู้วิจัยออกแบบโดยเลือกใช้สกรูอัดแบบเพิ่มเส้นผ่านศูนย์กลาง ลักษณะสกรูแบบนี้จะเปน็การเพิม่ขนาดเส้นผ่านศนูย์กลางของเพลาให้มากขึ้นตามล าดับแล้วแต่การออกแบบ โดยเกลียวแบบน้ีจะมีระยะพิทช์คงที ่

Page 19: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

18

ภาพที่ 6 แสดงลักษณะสกรูอัดวสัดุทีใ่ช้ในงานอุตสาหกรรมการบีบอัดทั่วไป

ภาพที่ 7 ลกัษณะสกรูอัดแบบเพิม่เส้นผา่นศูนยก์ลาง

Page 20: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

19

3. การค านวณช่วงอัดของของสกรูของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ในการค านวณสกรูอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ในช่วงอัดจะมีคา่ของเทอม M3 เพิม่ขึ้นมาเนื่องจากในช่วงการอัดนั้นจะเกิดความดันแตกต่างของเบดอนุภาคของเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ระหว่างทางเข้าร่องเกลียวและทางออกของร่องเกลียว (P2/P1) แต่ละร่องฟนัท่ีเกิดการอัดอนภุาคของเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์โดยจะตั้งเปูาหมายในการค านวณจ านวนฟันเกลียวคือการลดลงของระยะพิทช์แต่ละเกลียวจะห่างกัน 5 มิลลิเมตร และเหตุผลดังกล่าวนี้ท าให้การหาปริมาตรของร่องเกลียวต้องใช้ความสูงของฟันเกลียวเฉลี่ย (Dbi) ระหว่างฟันเกลียวในต าแหน่งที่ก าลังพิจารณา (Dbi) และฟันเกลียวในต าแหน่งทีไ่ด้พิจารณามาก่อนแล้ว

ภาพที่ 8 แสดงโครงสร้างของรูปแบบพ้ืนฐานของสกรู

Page 21: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

20

ภาพที่ 9 แสดงรูปแบบสกรูและตวัแปรทีก่ าหนด จากการค านวณสกรูในช่วงอัดข้างต้นเมื่อท าการค านวณต่อไปจนกระทั้งได้ความหนาแน่นสุดที่ฟัน เกลียวสุดท้ายมีค่าประมาณ 1,000 kg/m3 และค่าก าลงังานท่ีใช้ในการขบัสกรูอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ นั้นมีค่าเท่ากับ 3.31 kW ซึ่งเมื่อ น ามาหาขนาดของมอเตอร์ที่ใช้ขับสกรูอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ซึ่งเมื่อคิดเป็นแรงม้าจะมีค่าขนาด5 แรงม้า เพื่อขับสกรูอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

ส่วนประกอบของเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ 1. โครงสร้างเครื่อง เป็นช้ินส่วนหลักของเครื่องเป็นช้ินส่วนที่ท าหน้าท่ีรองรับน้ าหนักและเป็นช้ินส่วนท่ีจับยึดส่วนส าคัญอื่นๆเข้าด้วยกัน โครงเครื่องท าจากเหล็กกล้าคาร์บอน เป็นเหล็กรูปพรรณ (เหล็กฉากขนาด 4 นิ้ว หนา 5 มิลลิเมตร) และเหล็กแผ่นแบนหนา 15 มิลลิเมตร ประกอบเข้ากันเป็นตัวเครื่องโดยใช้การเช่ือมด้วยไฟฟูา และการจับยึดด้วยสลักเกลียว

Page 22: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

21

ภาพที่ 10 แสดงส่วนของโครงสร้างเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ด มะม่วงหิมพานต ์

Page 23: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

22

ภาพที่ 11 แสดงส่วนประกอบของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมลด็ มะม่วงหิมพานต ์ 2. ชุดเกียร์ทด ท าหน้าที่ลดความเร็วรอบของมอเตอร์ไฟฟูาเพื่อเพิ่มแรงบิดเพื่อส่งก าลังต่อไปยังเกลียวอัด เกียร์ทดท ามาจากเหล็กหัวแดงและผ่านชุบแข็งด้วยกระแสไฟฟูาภายใต้ความร้อนสูง เพื่อให้เกียร์มีความแข็งตามมาตรฐานคุณสมบัติของเกียร์ ซึ่งชุดเกียร์ทดที่ผู้วิจัยเลือกน ามาใช้เป็นชุดเกียร์ทดแบบส าเร็จรูป ที่มีอัตราการทดก าลังเท่ากับ 100 : 20 รอบ

Page 24: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

23

ภาพที่ 12 ชุดเกียร์ทดแบบส าเร็จรูป ที่มีอัตราการทดก าลังเท่ากับ 100 : 20 รอบ

3. มอเตอร์ไฟฟูา ท าหน้าที่เป็นต้นก าลังส าหรับขับชุดเกลียวอัด โดยส่งก าลังผ่านชุดเกียร์ทดก าลังเพื่อขับให้ชุดเกลียวอัดท างาน ซึ่งมอเตอร์ไฟฟูาที่ผู้วิจัยเลือกใช้ส าหรับเป็นต้นก าลังของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์แบบเกลียวอัดขนาด 5 HP (3.7 KW) 4 Pole Hz 50 V 220 A 23.0 ความเร็วรอบ 1,440 รอบ/นาที

ชุดเกียร์ทด

ก าลงั

Page 25: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

24

ภาพที่ 13 มอเตอร์ไฟฟูาที่ใช้เป็นต้นก าลังของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือก เมล็ดมะม่วงหิมพานต์

4. ชุดบีบอัดน้ ามัน ท าหน้าที่แยกน้ ามัน CNSLออกจากเปลือกเมล็ด มะม่วงหิมพานต์ โดยมีส่วนประกอบท่ีส าคัญ 2 ส่วนดังนี ้ 4.1 กระบอกอัด ท าหน้าที่รับแรงอัดที่เกิดจากเกลียวอัดถ่าย ทอดก าลังผ่านเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มายังผนังของกระบอกอัด วัสดุที่ใช้เป็นเหล็กหัวแดง เพลากลวง ผ่านการกลึงและไสด้วยเครื่องมือกล และมีชั้นของแผ่นเหล็กตะแกรงอยู่ด้านในเพื่อท าหน้าท่ีกรองกากท่ีเหลือจากการบีบอัดไม่ให้ปะปนกับน้ ามันCNSL ที่ไหลออกมาในระหว่างการบีบอัด ตะแกรงที่ใช้มีรูขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางเท่ากับ 2 มิลลิเมตร

มอเตอรไ์ฟฟูา

Page 26: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

25

ภาพที่ 14 กระบอกอัดของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะมว่ง หิมพานต ์ 4.2 เกลียวอัด ส าหรับสกรูอัด ของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ผู้วิจัยออกแบบโดยเลือกใช้สกรูอัดแบบเพิ่มเส้นผ่านศูนย์กลาง ลักษณะสกรูแบบนี้จะเป็นการเพิ่มขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางของเพลาให้มากขึ้นตามล าดับแล้วแต่การออกแบบ โดยเกลียวแบบนี้จะมีระยะพทิช์คงที ่และเส้นผ่านศนูยก์ลางภายนอกของสกรูอัดจะมีค่าคงที่ จึงท าให้กระบอกอัดควรมีเส้นผ่านศูนย์กลางคงที่ หรือจะเป็นแบบไม่คงที่ก็ได้ ถ้าแบบไม่คงที่เส้นผ่านศูนย์กลางกระบอกอัดจะต้องลดลงเรื่อยๆ เพื่อใช้ท าหน้าท่ีล าเลียงเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานตใ์ห้เกิดการเคลือ่นที่ภายในกระบอก

ตะแกรงทีม่ีรูขนาดเส้น

ผา่นศนูย์กลาง 2 ม.ม.

โครงเหลก็สว่นด้านนอก

ของกระบอกอดั

ตะแกรงท่ีมีรู

ขนาดเส้นผ่าน

ศูนย์กลาง 2 ม.

ม.

โครงเหล็กส่วน

ด้านนอกของ

กระบอกอัด

Page 27: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

26

อัดและในขณะเดียวกันนั้น เนื่องจากแกนเกลียวมีลักษณะเรียวปลายซึ่งจะเป็นส่วนท่ีใช้ส าหรับท าหน้าท่ีอัดเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ไปด้วย

ภาพที่ 15 สกรูอัดแบบเพิม่เส้นผ่านศนูยก์ลาง 4.3 ชุดหัวอัดและช่องคายเศษ ผู้วิจัยออกแบบให้อยู่ทาง ด้านส่วนปลายสุดของสกรูอัด โดยโครงสร้างของชุดหัวอัดท าจากเหล็กกล้าขึ้นรูปหนา 5 มิลลิเมตร คว้านรูให้มีความลาดเอียง 109 องศาส่วนของช่องคายเศษมีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางเท่ากับ 72 มิลลิเมตร

สกรูอัด

Page 28: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

27

ภาพที่ 16 แสดงลักษณะโครงสร้างและส่วนประกอบของชุดหัวอัดและ ช่องคายเศษ 4.4 ชุดถาดปูอนเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ท ามาจากเหล็กแผ่นบางขนาดความหนา 2 มิลลิเมตร ผ่านขั้นตอนการพับและปิดด้าน ข้าง

ชุดหัวอัด

ขดสปริงส าหรับใช้เพื่อลด-ขยายช่องคายเศษ ติดตั้งไวที่ดา้น

ปลายสุดที่แกนเพลาของสกรูอัด

Page 29: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

28

ภาพที่ 17 ชุดถาดปูอนเปลือกเมลด็มะม่วงหมิพานต ์

4.5 ถาดรองรับน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์และกาก โครงถาดท าจากเหล็กฉากขนาด 1 นิ้ว หนา 2 มิลลิเมตร และถาดท าจากแผ่นเหล็กหนา 1 มิลลิเมตร โดยผ่านการพับและเคาะดัดเข้ากับโครงสร้างของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

ชุดถาดปูอนเปลือก

เมลด็มะม่วงหิมพานต ์

Page 30: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

29

ภาพที่ 18 ถาดรองรับน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ และกาก ส าหรับการท างานของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ใช้หลักการบีบอัดแบบเกลียวอัด ซึ่งออกแบบให้มีช่วงของการท างานสองช่วง ประกอบด้วย 1) ช่วงการปูอนวัตถุดบิและล าเลียง 2) ช่วงการอัดตัว โดยหลักการท างาน คือ เมื่อเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่ปูอนเข้าเครื่องจะชว่ยเพิม่แรงอดัน้ ามันจะไหลออกจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่บริเวณใกล้กับรูทางออกของกาก ส่วนกากจะถูกอัดผ่านรูทางออกบริเวณหัวเกลียวหมุน ซึ่งรูทางออก (ช่องคายเศษ) นี้สามารถปรับเปลี่ยนขนาดได้โดยการใช้แรงสปริงแบบยึดที่ติดตั้งอยู่ที่บริเวณปลายเกลียว โดยกากที่ออกมาจะมีลักษณะเป็นเศษเปลือกเม็ดหิมพานต์ที่แห้งเนื่องจากถูกบีบน้ ามันออกจากเปลือกไปแล้วเป็นบางส่วน

ถาดรองรับน า้มนั

ถาดรองรับน้ ามัน

Page 31: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

30

ภาพที่ 19 แสดงหลักการท างานของเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ด มะม่วงหิมพานต ์ ประสทิธภิาพของเครื่องสกดัน้ ามนัจากเปลอืกเมลด็มะมว่งหมิพานต ์

ผลจากการทดสอบประสิทธิภาพของเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ที่ใช้กระบอกอัดแบบรูกลม ขนาด 4 มิลลิเมตร และกระบอกอัดแบบเว้นร่อง ขนาด 3 มิลลิเมตร ทดสอบกับเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์หลังการกะเทาะ ท่ีมีความชื้นในเปลือก เฉลี่ย 12.05 % จ านวน 5 กิโลกรัม ด้วยความเร็วรอบเกลียวอัด 50 รอบต่อนาที ท าการบีบอัดจ านวน 3 ครั้ง ประสิทธิภาพการท างานของเทคโนโลยีเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่ท าการทดสอบพบว่ากระบอกอัดแบบรูกลม ขนาด 4 มิลลิเมตร และกระบอกอัดแบบเว้นร่อง ขนาด 3 มิลลิเมตร มีความสามารถในการบีบน้ ามันจากเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานต์เฉลี่ยเป็น10.82 และ 12.18 กิโลกรัมต่อช่ัวโมง ตามล าดับ เปอร์เซ็นต์น้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่สกัดได้ เฉลี่ยเป็น 20.22 และ 22.56 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ เปอร์เซ็นต์ความ สะอาดของน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์โดยมีเปอร์เซ็นต์ความสะอาดของน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่บีบอัดได้ เฉลี่ยเป็น

Page 32: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

31

76.98 และ 71.85 เปอร์เซ็นต์ ตามล าดับ ซึ่งการวิเคราะห์ทางสถิติของผลการทดสอบประสิทธิภาพที่ใช้ชนิดของกระบอกแบบรูกลม ขนาด 4 มิลลิเมตร และกระบอกอัดแบบเว้นร่อง ขนาด 3 มิลลิเมตร ไม่มีผลต่อความสามารถในการบีบน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เปอร์เซ็นต์น้ ามันจากเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานตท์ี่สกัดได้ เปอร์เซ็นต์ความสะอาดของน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์แต่อัตราส่วนของ น้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วง หิมพานต์ที่เหลือในกากอยู่ระหว่าง 0.11-0.13 ที่วิเคราะห์ได้พบว่าการใช้กระบอกทั้ง 2 แบบส่งผลต่ออัตราส่วนของ น้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วง หิมพานต์ที่สกัดได้ในกาก จากผลการวิเคราะห์ทางสถิติที่ความเช่ือมั่น 95% ผู้วิจัยเลือกใช้กระบอกอัดแบบเว้นร่อง ขนาด 3 มิลลิเมตร เนื่องจากผลจากการทดสอบประสิทธิภาพการท างานของเครื่องด้านต่าง ๆ สูงกว่าการใช้กระบอกแบบรูกลม ขนาด 4 มิลลิเมตร ด้านการบ ารุงรักษาเครื่องสกัดฯ การใช้กระบอกอัดแบบเว้นร่อง สามารถดูแลรักษา ท าความสะอาดภายหลังการใช้งานเครื่องง่าย รวดเร็ว กว่าการใช้กระบอกอัดแบบรูกลม ซึ่งมีกากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ติดตามรูกลมของกระบอกอัด ท าให้การท าความสะอาดยาก และใช้ระยะเวลานาน

Page 33: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

32

ต้นทุนค่ากระแสไฟฟูาจากการใช้งานของเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

ผลการวิเคราะห์เพื่อค านวณหาต้นทุนค่ากระแสไฟฟูาเมื่อมีการใช้งานเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่ใช้มอเตอร์ไฟฟูาต้นก าลังขนาด 23 แอมแปร์ โดยในขณะที่เครื่องฯท างานโดยมีโหลด อัตราการกินกระแส 7.8 แอมแปร์ แรงดันไฟฟูา 220 โวลต์ซึ่งผลจากการค านวณ พบว่า เครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ใช้ก าลังไฟฟูา =1.761 กิโลวัตต์/ช่ัวโมงและมีค่าใช้จ่ายไฟฟูาเมื่อใช้งานเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ในเวลา 1 ช่ัวโมงเท่ากับ 4.17 บาท/ช่ัวโมง ค่าใช้จ่ายไฟฟูาเมื่อใช้งานเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ 1 วัน (8 ช่ัวโมง) เท่ากับ 33.36 บาท/วัน และมีค่าใช้จ่ายไฟฟูาเมื่อใช้งานเครื่องบีบอัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ 1 เดือน (30 วัน) เท่ากับ 1517.78 บาท/เดือน

Page 34: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

33

เศษเปลือกเม็ดมะม่วงหิมพานต์ที่ติด

ค้างที่บริเวณเกลียวอัด หลังจากท า

การบีบอัดน้ ามันแล้ว

ช่ังน้ าหนักเปลือกเมล็ดมะม่วง

หิมพานต์หลังบีบอัด เพื่อวัดปรมิาณ

การบีบอัดน้ ามัน (CNSL)

การวัดอุณหภูมิของน้ ามัน CNSL

จากเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานต์

บีบอดัและไหลออกจากเกลยีวอดั

ด้านหน้าของเกลยีวอดั

การวัดค่าแรงดันของกระแสไฟฟูา

ของเครื่องบีบอัดน้ ามันCNSL

Page 35: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

34

วธิกีารใชง้านเครือ่งสกดัน้ ามนัจากเปลอืกเมลด็มะมว่งหมิพานต์

1. การเตรียมเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ โดยการตรวจสอบดูความเรียบร้อยของอุปกรณ์ต่างๆ ของเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ได้แก่ ช้ินส่วนทางกล มอเตอร์ สายพาน เกลียวอัด กระบอกอัด ชุดเกียร์ทดรอบ ช่องคายเศษ ถาดรองรับน้ ามัน อุปกรณ์ไฟฟูา สายไฟ เบรคเกอร์ สวิทช์ควบคุม ไฟแสดงผล ตู้ควบคุม ให้อยู่ในสภาพปกติ สะอาด พร้อมใช้งาน

ภาพที่ 20 เครื่องสกัดน้ ามันเมล็ดมะม่วงพิมพานตส์ภาพพร้อมใช้งาน

Page 36: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

35

2. การเตรียมเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เพื่อใช้เป็นวัตถุดิบ ส าหรับ

การสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ซึ่งเปลือกเมล็ดมะม่วง หิมพานต์เป็นวัสดุเหลือทิ้งจากการแปรรูป หลังจากกะเทาะเอาเมล็ดในออกไปแล้ว ทิ้งเปลือกไว้ให้แห้งอย่างน้อย 7 วัน มีความช้ืนประมาณ 12 % มีลักษณะดังภาพแสดงลักษณะเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่เหลือทิ้งจากการกะเทาะเอาเมล็ดในออกไปแล้วท าการคัดแยกสิ่งเจือปนต่าง ๆ ออก ปูองกันความเสียหายของเครื่องสกัดน้ ามัน

ภาพที่ 21 แสดงลักษณะเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ทีเ่หลือท้ิงจากการ กะเทาะเอาเมลด็ในออกไปแล้ว

Page 37: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

36

3. เตรียมภาชนะรองรับน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์และ

กากเปลือกเมล็ดมะม่วงหมิพานต์ ให้มีขนาดที่เหมาะสมและวางให้ตรงต าแหน่งและมีความมั่นคง ดังภาพท่ี 22

ภาพที่ 22 การเตรียมภาชนะรองรบัน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหมิพานต ์ และกากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

4. น าเปลือกเมล็ดมะม่วงที่เตรียมไว้เทใส่ชุดถาดปูอนเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานต์ของเครื่องสกัดน้ ามัน ครั้งละไม่เกิน 10 กิโลกรัม เพือ่ไม่ให้เปลือกเมด็มะม่วงหิมพานตต์กหลน่จากชุดถาดปูอน ดังภาพท่ี 23

Page 38: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

37

ภาพที่ 23 การเทเปลือกเมลด็มะมว่งหิมพานต์ใส่ชุดถาดปูอนเปลือกของ เครื่องสกัดน้ ามัน

5. กดปุุมเปิดสวิทช์การท างานของเครื่องสกัดน้ ามัน ฯ จากน้ันปูอนเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ เข้าสู่เกลยีวอัดอย่างต่อเนื่องดังภาพท่ี 24 น้ ามันจากเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานตแ์ละกากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ จะไหลลงสู่ภาชนะรองรับ

Page 39: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

38

ภาพที ่24 การปูอนเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เขา้สู่เกลียวอัด

ภาพที่ 25 ลักษณะของน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ที่ไหลลงสู่ภาชนะรองรับ

Page 40: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

39

ภาพที่ 26 ลักษณะของกากเปลือกเมลด็มะม่วงหิมพานต์ที่ออกจากเครื่อง

สกัดน้ ามัน ฯ

6. สังเกตการท างานของเครื่องว่าปกติหรือไม่ หากมีเสียงดัง หรือ

มอเตอร์หยุดหมุนเนื่องจากมีแรงเสียดทานของเกลียวอัดมากเกินไป ให้กดปุุมปิดการท างานของมอเตอร์แล้วกดปุุมหมุนถอยหลังทิ้งไว้สักครู่ แล้วกดปุุมปิดการท างาน จากนั้นทดลองกดปุุมเปิดการท างานอีกครั้ง หากมอเตอร์ยังหมุนได้ไม่ปกติ แสดงว่ามีเศษกากเปลือกฯ ติดค้างมากเกินไป ต้องถอดกระบอกอัดออกเพื่อท าความสะอาด

Page 41: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

40

ภาพที ่27 การสังเกตและการควบคุมการท างานของเครื่องสกดัน้ ามนัจาก เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต ์

7. เทเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ปูอนเข้าสู่เครื่องสกัดน้ ามันจาก

เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์อย่างต่อเนื่องตามความต้องการ เมื่อเสร็จงานแล้วให้กดปุุมหยุดการท างาน รอจนกว่าน้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ หยุดไหล

8. ท าความสะอาดช้ินส่วนต่างๆ ของเครื่อง โดยการท าความสะอาดกระบอกอัดเบื้องต้น โดยเอาเศษกากและน้ ามันติดค้างออกก่อน ดังภาพท่ี 28

Page 42: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

41

ภาพที ่28 การท าความสะอาดกระบอกอัดเบื้องต้น

9. หลังจากนั้นใช้ประแจถอดน๊อตยึดกระบอกอัด จ านวน 12 ตัว ออกให้หมด แล้วดึงกระบอกอัดส่วนบนขึ้น ดังภาพที่ 29 จากนั้นท าการถอดกระบอกอัดส่วนล่างออกจากเครื่องสกัดน้ ามันฯ โดยค่อยๆ เลื่อนหมุนขึ้นมาด้านบนก่อน ต่อไปให้ถอดถาดรองรับน้ ามันออก เพื่อน าไปล้างท าความสะอาดโดยใช้น้ าและผงซักฟอกและ ท าความสะอาดเกลียวอัดและช่องคายเศษโดยใช้แปรงลวด

Page 43: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

42

ภาพที ่29 การถอดน๊อตยึดกระบอกอัดและดึงกระบอกอัดส่วนบนออก

Page 44: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

43

ภาพที่ 30 ถาดรองรับน้ ามัน กระบอกอัดส่วนบนและส่วนล่าง เมื่อถอดออก จากเครื่องสกัดน้ ามันฯ แล้ว

ภาพที ่31 การล้างกระบอกอัดส่วนบน ส่วนล่าง และถาดรองรับน้ ามัน

Page 45: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

44

ภาพที่ 32 การท าความสะอาดเกลียวอัดและช่องคายเศษ

10. พึ่งให้แห้ง แล้วประกอบกระบอกอัดส่วนล่าง กระบอกอัดส่วนบน ยึดน๊อต ประกอบถาดรองรับน้ ามัน ให้เรียบร้อย

Page 46: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

45

การบ ารุงรักษาเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

เครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์แบบสกรูอัดช่วงปลายของสกรูจะเป็นช่วงอัดซึ่งจะมีขนาดเสน้ผ่านศูนย์กลางของสกรูโตขึ้นเพื่ออัดอนุภาคของวัสดุให้ความหนาแน่นเพิ่มมากขึ้นและดันตัวออกมา ซึ่งจะเกิดแรงเสียดทานสูงมากจ าเป็นต้องใช้ต้นก าลังแรงบิดสูงเพียงพอต่อการใช้งาน โดยใช้มอเตอร์ไฟฟูา การทดรอบด้วยพูลเลย์สายพาน และชุดเกียร์ทดรอบ อย่างไรก็ตาม เครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์นี้เป็นเทคโนโลยีที่ออกแบบโดยใช้ระบบที่ไม่ซับซ้อน ใช้อุปกรณ์ที่หาซื้อได้ง่ายตามท้องตลาดเครื่องจักรกลทั่วไป เพื่อให้ผู้ใช้งานสามารถใช้งาน/บ ารุงรักษา/ซ่อมแซมได้ง่าย โดยวิธีการบ ารุงรักษาเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ มีดังต่อไปนี้

1. ควรท าความสะอาดเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์หลังจากใช้งานแล้วทุกครั้ง โดยเฉพาะในส่วนของกระบอกอัด เกลียวอัด ช่องคายเศษและถาดรองรับน้ ามัน เนื่องจากน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์มีความเหนียวมาก หากปล่อยทิ้งไว้นาน จะท าให้เกิดการอุดตันของช่องคายเศษ ส่งผลให้ประสิทธิภาพของเครื่องต่ าลง

2. ควรตรวจสอบระดับน้ ามันเกียร์ของชุดเกียร์ และหล่อลื่นจุด ต่างๆของเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ก่อนการน าไปใช้งาน โดยเฉพาะส่วนของแกนเพลาและแบริ่งที่มีการหมุนเพื่อปูองกันความเสียหายจากการใช้งาน

3. ตรวจสอบสภาพสายพานและปรับตั้งให้อยู่ในสภาพปกติ หากสาย พานเสื่อมสภาพควรเปลี่ยนใหม่ทั้งสองเส้นพร้อมกัน

Page 47: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

46

4. ควรคัดแยกสิ่งเจือปนออกจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ โดยเฉพาะวัสดุที่มีความแข็ง เช่น เศษอิฐ เศษปูน หิน เหล็ก เป็นต้น เนื่องจากจะท าให้เกลียวอัด กระบอกอัดและช่องคายเศษ ช ารุดเสียหายได้

5. ในระหว่างเปิดเครื่องใช้งานเครื่อง ผู้ใช้ควรสังเกตการท างานของเครื่องอย่างใกล้ชิด หากเครื่องติดขัดต้องรีบปิดการท างานของเครื่องและ ถอดล้างท าความสะอาดช่องคายเศษให้สะอาดก่อนใช้งานต่อทุกครั้ง เพื่อปูองกันเครื่องเสียหาย

6. ไม่ควรใช้งานเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ติดต่อกันเป็นเวลานานเกิน 3 ช่ัวโมง ควรพักเครื่องเป็นระยะ เพื่อยืดอายุการใช้งานของเครื่อง

ขอ้ควรระวงัในการใชเ้ครือ่งสกดัน้ ามนัจากเปลอืกเมลด็มะมว่งหมิพานต์

1. ในขณะใช้งานเครื่องสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ควรสวมใส่อุปกรณ์ปูองกันอันตราย ได้แก่ ถุงมือยาง เสื้อคลุม และหน้ากาก เนื่องจากน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เป็นอันตรายต่อผิวหนังและทางเดินหายใจมาก

2. สถานที่ปฏิบัติงานควรมีอากาศถ่ายเทสะดวกเนื่องจากขณะเครื่อง ท างานจะเกิดความร้อนสูง ท าให้น้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ระเหย เป็นไอพิษ เป็นอันตรายต่อผู้ปฏิบัติงานได้

3. ควรตรวจสอบระบบจ่ายกระแสไฟฟูาให้เครื่องสกัดน้ ามันจาก เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ เนื่องจากใช้มอเตอร์ไฟฟูา 220 โวลท์ ขนาด 5 แรงม้า 3,750 วัตต์ กินกระแสสูงสุด 23 แอมแปร์ เพราะอาจท าให้มิเตอร์ไฟฟูาและเบรคเกอร์เสียหายได้

Page 48: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

47

แบบประเมินตนเองด้านความรู้ความเข้าใจเทคโนโลยีการสกัด

น้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์

1. จงบอกประโยชน์ของการน าน้ ามัน CNSL ที่สกัดจากเปลือกมะม่วงหิมพานต์เหลือท้ิงจากการแปรรูปไปใช้ในด้านใดบ้าง …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

2. จงอธิบายวิธีการใช้งานของเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………… 3. จงเติมส่วนประกอบของเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันจากเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ดังนี ้

2…………………

….

1…………….

.

5…………………………

…………

6……………………………

……..

4…………………………

…………

3…………………………

….

Page 49: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

48

4. จงอธิบายวิธีการบ ารุงรักษาของเทคโนโลยีการสกัดน้ ามันจาก เปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 50: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

49

เอกสารอา้งองิ

กรรณิการ์ สถาปติานนท์และจุไรลกัษณ์ วรด ารง. (2532). กาวจากแปูงมันส าปะหลังและจากน้ ามันจากเปลอืกเมล็ด มะม่วงหิมพานต์ : วิธีการผลติกาวจากแปูงมันส าปะหลัง กับน้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์ ในระดับ ห้องปฏบิัติการ.กรุงเทพมหานคร : ส านักงานคณะกรรมการวิจยัแห่งชาติ.

กองเกษตรเคมี กรมวิชาการเกษตร.(2534). มะมวงหิมพานต. เอกสารวิชาการที่ 14. กระทรวงเกษตรและสหกรณ. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตร แหงประเทศไทย. กรุงเทพฯ.

ทิพาพร อยู่วิทยา. (2534).การใช้ประโยชน์จากผลมะม่วงหิมพานต์. วารสารสจ.ธ. มิถุนายน; 14(1): 1-14.

บริษัท ทีทีเอฟ อินเตอร์เนชั่นแนล จ ากัด (2555). เปลือกเมล็ดมะม่วง หิมพานต์. [ออน-ไลน]์.แหล่งที่มา :

http://www.energysavingmedia.com/news/page. สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2559 ประเทืองศรี สินชัยศรี.(2535).คุณภาพและการใช้ประโยชน์เมล็ดในมะม่วง

หิมพานต์. วารสารอตุสาหกรรมเกษตร 3(2) เล่มที่ 8 : 14-24. มโน ลิ่มวรพันธุ์. (2543).ปฏิกิริยาดีคาร์บอกวิเลชัน และปฏิกิริยาการเสื่อม

ของน้ ามันเปือกมะม่วงหิมพานต์ .วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรรมเคมี ภาวิชาวิศวกรรมเคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Page 51: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

50

ระรินธร สายแสงทอง. (2557). การใช้น้ ามันเปลือกเมล็ดมะม่วงหิมพานต์เป็น

สารลดแรงตึงผิวส าหรับดีโซฮอล์. วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรรมเคมี ภาควิชาวิศวกรรมเคมีบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

วิทยา บุญค า. (2547). การพัฒนาเครื่องกะเทาะเมล็ดมะม่วงหิมพานต์แบบกึ่งอัตโนมัติให้มีสมรรถนะสูงขึ้น .วิทยานิพนธ์ปริญญาวิศวกรรมศ า ส ต ร ม ห า บั ณ ฑิ ต . ข อ น แ ก่ น : บั ณ ฑิ ต วิ ท ย า ลั ยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อาฬะหะ สิงห์แพ. (2545). การผลิตวาร์นิชพอลิยูรีเทนจากน้ ามันเปลือกมะม่วงหิมพานต์ .วิทยานิพนธ์วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิ ชาวิ ศวกรรรม เคมี ภาควิ ชาวิ ศวกรรม เคมี คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Aggarwal, K.r. (1972). A note on construction of triangular PBIB desing with parametersstatist.

Azam-Ali, S.H. and E.C. Judge.(2004). Small-Scale Cashew Nut Processing.AvailableSource.[Online].www.fao.org/inpho_archive/content/document/vlibrary/ac306e/ ac306e00.htm, February 12, 2013.

Das, P. and A. Ganesh.(2003). Bio-Oil from Pyrolysis of Cashew Nut Shell-a near Fuel.Biomass and Bioenergy. 25 (1) : 113-117.

Global Perspective.(2014). Cashew Handbook 2014.African Cashew Alliance.Global Trading Head Office.[On-line]. www.Cashewinfo.com, August 10, 2016.

Page 52: ค าน า - thai-explore.net · พลาสติก ผ aาเบรก ผ aาคลัชรถยนต์ กระเบื้องยางปูพื้น ฉนวนหุมสายไฟฟาซึ่ง

51

Ohler, J. G. (1979).Cashew.KoninklijkInstituutvoor de Tropen,

Amsterdam. Smith et al., R.L. Smith, R.M. Malaluan, W.B. Setianto, H. Inomata,

K. Arai. (2003). Separation of cashew (Anacardiumoccidentale) nut shell liquid with supercritical carbon dioxide. Journal of Bioresource Technology, 88 : 1–7.

Tyman J.H.P., Tychopoulos V. and Chan P. Long-chain Phenols XXV (1984).Quantitative Analysis of Natural Cashew Nut-shell Liquid (Anacardiumoccidentale) by High- Performance Liquid Chromatography. J Chromatography 303/1 :137-150.