9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย

37
เรื่อง อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย โดย นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ นางสาวนุชรี ขาวขํา โรงเรียนสตรีนนทบุรี สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 3 รายงานฉบับนี้เปนสวนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 6 เนื่องในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน ครั้งที่ 62 ปการศึกษา 2555 วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555

Transcript of 9 9-1-อาเซียนมัลติมีเดีย

เรื่อง อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย

โดย

นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท

นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ

นางสาวนุชรี ขาวขํา

โรงเรียนสตรีนนทบุรี

สังกัดสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา มัธยมศึกษาเขต 3

รายงานฉบับน้ีเปนสวนประกอบของโครงงานคอมพิวเตอร

ช้ันมัธยมศึกษาปที่ 6

เน่ืองในงานศิลปหัตถกรรมนักเรียน คร้ังที่ 62 ปการศึกษา 2555

วันที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555

เร่ือง อาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดีย

โดย

1 นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท

2 นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ

3 นางสาวนุชรี ขาวขํา

โรงเรียนสตรีนนทบุรี

สังกัดสํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษา มัธยมศึกษาเขต 3

ครูท่ีปรึกษา

คุณครูประพจน หมนพันธุ

คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ

ครูท่ีปรึกษาพิเศษ

คุณครูครูณัฐพงศ ปาละนันท

คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน

คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร

ช่ือโครงงาน อาเซยีนศึกษาฉบบัมัลติมีเดยี

ช่ือผูทําโครงงาน นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท

นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงษ

นางสาวนุชรี ขาวขํา

โรงเรียนสตรีนนทบุรี อําเภอเมือง จังหวัดนนทบุรี

ครูที่ปรึกษา คุณครูประพจน หมนพันธุ

คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ

ครูที่ปรึกษาพิเศษ คุณครูณัฐพงศ ปาละนันท

คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน

คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร

บทคัดยอ

ในปพุทธศกัราช 2558 สมาคมอาเซยีนจะกาวไปสูประชาคมเศรษฐกจิอาเซียน

ประเทศไทยถอืเปนหนึ่งในประเทศสมาชิกอาเซยีน ดังน้ันเราจงึจําเปนอยางยิ่งทีจ่ะตองเตรียมตัว

ใหพรอมและปรับตัวกับการกาวไปสูประชาคมเศรษฐกจิอาเซียนดวย แตคนไทยยังไมมีความ

กระตือรือรน และยังไมมีความรูความเขาใจเก่ียวกับอาเซียน ถงึแมจะมสีือ่ท่ีใหความรูเกีย่วกับอาเซยีน

ซ่ึงสือ่เหลาน้ันยงัไมคอยมีความนาสนใจ โดยสวนใหญเปนไฟลท่ีใหผูศึกษาอานเอง คณะผูจดัทํา

จึงเกิดแนวคดิวาการใชมัลติมีเดยี ในการทําใหผูศึกษาสามารถเรียนรูเน้ือหาขอมลูของอาเซยีน

ไดเปนอยางด ีเพราะมัลติมีเดยีเปนสือ่ประสมท่ีนําสือ่หลายๆ ประเภทมาใชรวมกัน ทําใหเน้ือหา

ของอาเซยีนมคีวามนาสนใจเพ่ิมขึ้น นอกจากน้ันสือ่มัลติมีเดยีจะชวยใหเกิดความหลากหลาย นาสนใจ

และเพ่ิมความสนุกสนานในการเรียนรูเน้ือหามากขึ้นดวย โดยการใชโปรแกรม Adobe Captivate

เปนโปรแกรมหลกัในการสรางสือ่มัลตมิีเดยีอาเซยีนศึกษาสําหรับนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1

โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบไฟลสาธารณะ และมีการประยุกตใชโปรแกรมอื่นๆในการสรางสือ่

ไดแก Ulead VideoStudio 11, Microsoft PowerPoint 2007 , Free Video to Flash

Converter และ LetsFun FLV Converter และประเมินระดับความพึงพอใจจากนักเรียน

ระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรีจากแบบสอบถามไดในระดับดมีากและด ี

กิตติกรรมประกาศ

โครงงานอาเซียนศึกษาฉบับมัลติมีเดียน้ีสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี ตลอดระยะเวลาดังกลาว

คณะผูจัดทํา ขอขอบพระคุณผูอํานวยการทรงวิทย นิลเทียน ผูอํานวยการโรงเรียนสตรีนนทบุรี ท่ีให

ความอนุเคราะหการสนับสนุนในดานตางๆ ตลอดโครงงาน ขอขอบพระคุณครูที่ปรึกษา ท้ัง 2 ทาน

คือคุณครูประพจน หมนพันธุ คุณครูพัชรี ศรีสุวรรณ คุณครูท่ีปรึกษาพิเศษ ท้ัง 3 ทาน คือ

คุณครูณัฐพงศ ปาละนันท คุณครูจันทวิไล วัฒนมะโน และ คุณครูกนกวรรณ ชนะถาวร สําหรับ

การใหคําแนะนํา ใหกําลังใจ ใหความเมตตาชวยเหลือ และสละเวลามาชวยฝกฝนในการทําโครงงาน

ขอขอบพระคุณคุณครูชินรัตน ศิริไพบูลย ที่ใหความชวยเหลือในเร่ืองของการลงเว็บไซตโรงเรียน และ

ขอขอบพระคุณ คุณครูฉันทนา จิบโคกหวาย และคุณครูสุภาพร นิธิโสภา คุณครูที่ปรึกษาระดับช้ัน

มัธยมศึกษาปท่ี 6/4 ที่คอยตรวจทาน ใหคําแนะนําและขอเสนอแนะในการทําโครงงาน

สุดทายนี้ คณะผูจัดทําขอขอบพระคุณครอบครัว และทุกทาน ที่ใหกําลังใจ และการสนบัสนนุ

การทําโครงงานคร้ังน้ีดวยดีเสมอมา

นางสาวศิรัญญา จิรลาภานนท

นางสาวสุทธิลักษณ ชายหงส

นางสาวนุชรี ขาวขํา

สารบัญ

หนา

บทคดัยอ ก

กิตติกรรมประกาศ ค

สารบัญ ง

สารบัญตาราง ฉ

สารบัญรูปภาพ ช

บทท่ี 1 บทนํา

ท่ีมาและความสําคญั 1

วัตถุประสงคของโครงงาน 2

นิยามศัพทเฉพาะ 3

ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน 4

ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ 5

บทท่ี 2 เอกสารและงานวิจยัท่ีเกีย่วของ 6

บทท่ี 3 วิธีการดําเนินงาน 9

บทท่ี 4 ผลการดําเนินงาน 15

สารบัญ (ตอ)

บทท่ี 5 สรุป อภปิรายผล และขอเสนอแนะ 17

เอกสารอางอิง 19

ภาคผนวก

ก แบบประเมินความพึงพอใจ 21

ข ผลการสํารวจความรูของประชาชนทั้ง 10 ประเทศ 23

สารบัญตาราง

ตารางที ่ หนา

ตารางที ่1 ผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซยีนศึกษา

ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี 15

ตารางที ่2 แบบประเมินความพึงพอใจ 22

สารบัญรูปภาพ

ภาพที ่ หนา

ภาพท่ี 1 รูป 3.1 สวนแสดงการเขยีน Storyboard 10

ภาพท่ี 2 รูป3.2 สวนแสดงแผนผังการทํางาน 10

ภาพท่ี 3 รูป 4 สวนแสดงหนาท้ังหมดของช้ินงานท่ีสรางขึ้น 11

ภาพท่ี 4 รูป 4.1 สวนแสดงการนําภาพกราฟกมาใสเปนภาพพ้ืนหลัง 11

ภาพท่ี 5 รูป 4.2 สวนแสดงการสรางหนาสําหรับลงทะเบยีนเขาใชงาน 12

ภาพท่ี 6 รูป 4.3 สวนแสดงการสรางหนาท่ีเปนเน้ือหา 12

ภาพท่ี 7 รูป 4.4 สวนแสดงการสรางหนาแบบสอบถาม 13

ภาพท่ี 8 รูป 4.5 สวนแสดงการสรางสรางเกม 13

ภาพท่ี 9 รูป 4.6 สวนแสดงการตดัตอคลิปวิดีโอและอดัเสยีงในวิดีโอ 14

ภาพท่ี 10 กราฟแสดงผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอน

อาเซยีนศึกษาของนกัเรียน ของนักเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี 16

ภาพท่ี 11 ความรูเก่ียวกับอาเซียน เร่ือง รูจกัธงอาเซียน 24

ภาพท่ี 12 ความรูเก่ียวกับอาเซียน เร่ือง รูวาอาเซียนกอตั้งเม่ือใด 24

ภาพท่ี 13 คุณรูสึกวาคุณเปนประชาชนอาเซยีน 25

สารบัญรูปภาพ (ตอ)

ภาพที ่ หนา

ภาพท่ี 14 โดยท่ัวไปคุณคุนเคยเกีย่วกับอาเซยีนแตไหน 25

ภาพท่ี 15 อยากรูเก่ียวกับประเทศอาเซยีนอื่นๆ มากแคไหน 26

บทท่ี 1

บทนํา

ที่มาและความสําคัญ

การศึกษาในปจจบุันสามารถทําไดหลายทาง เชน การเรียนท่ีโรงเรียน การเรียนออนไลน

หรือเรียนดวยตนเอง ไดมีการนําคอมพิวเตอร เทคโนโลยีสารสนเทศ และอินเทอรเน็ต มาใชเปนสือ่

ในการเรียนการสอนอยางแพรหลาย โดยเฉพาะทางอินเทอรเน็ตเปนที่นิยมมากในการสืบคนขอมลู

การตดิตอสือ่สาร การเช่ือมโยงขอมูล ในดานตางๆ ถึงกัน ถอืไดวาเทคโนโลยีมีความสําคัญมากตอการ

ดําเนินชีวิตของมนุษยในปจจุบัน

เน่ืองจากการเปลีย่นแปลงจากสมาคมอาเซยีนสูประชาคมอาเซียนไดมีอิทธิพลมาก

ตอประเทศในภูมิภาคเอเชีย เพราะเปนการรวมตัวกันของ 10 ประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก

เฉยีงใต เพ่ือรวมมอืกันในดานตางๆโดยเฉพาะดานเศรษฐกิจ แตจากผลการสํารวจความรูของ

ประชาชนท้ัง 10 ประเทศ (ของกรมอาเซียน) พบวาคนไทยมีความรูเกีย่วกับอาเซยีนอยูเปนอันดบั

สุดทายของผลการสํารวจ ซึง่จะเห็นไดวาคนไทยยังไมมีความกระตือรือรนและยงัไมมคีวามรู ความ

เขาใจเกีย่วกับอาเซียน แตในปพุทธศักราช 2558 อาเซียนจะมีการทําการคากันอยางเสรีและ

เปดประเทศ ใหประชากรในอาเซียนท้ัง 10 ประเทศเดินทางเขาออกประเทศไทยและประเทศภายใน

อาเซยีนไดอยางเสรี อกีท้ังยังมกีารเคลือ่นยายแรงงานเสรี 8 อาชีพ ภายในอาเซียนดวย อาเซยีนถอื

กําเนดิมานานแลวและประเทศไทยเปนหนึ่งในประเทศผูรวมกอตั้งดวย ปจจบุันอาเซียนกอตั้งมาแลว

ท้ังสิ้น 45 ป แตคนไทยยังรูจกัอาเซียนไมเปนท่ีแพรหลาย แมวาจะมสีือ่มากมายท่ีใหความรูเก่ียวกบั

อาเซยีน แตสือ่เหลานั้นยังไมคอยมีความนาสนใจ ไมดึงดดูความสนใจจากผูเรียน เชน การดาวนโหลด

ไฟลจากเว็บไซตที่ใหความรูเกีย่วกับอาเซียน สวนใหญเปนไฟลท่ีใหผูศึกษาอานเอง เชน ไฟล .pdf

.docx หรือ .ppt ซ่ึงอาจทําใหผูศกึษาละเลยในเน้ือหาน้ันๆไป การใชสีสันและภาพประกอบการ

อธิบายสําคัญมาก เพราะทําใหผูศึกษาเขาใจงาย เห็นภาพทีชั่ดเจน และมีแรงจงูใจในการศึกษาเน้ือหา

น้ันๆ มากขึ้น หนังสอืนิทานตางๆ หรือหนังสอืท่ีชวยเสริมสรางความรูของเดก็ไดมีการใชภาพประกอบ

และมีจดัทํารูปแบบของหนังสอื ที่มีลูกเลนตางๆ เพ่ือดึงดดูความสนใจของเด็ก ในการจดัทําสือ่เพือ่

เสริมความรูของเด็กน้ัน คณะผูจดัทําจงึไดนําหลักการใชภาพการตูนท่ีมีสสีันสวยงาม การใชภาพตุกตา

ท่ีเคลือ่นไหว การใสเสยีงหรือลูกเลนตางๆ ท่ีสามารถโตตอบกับเด็กไดมาประกอบเนือ้หา ซึ่งจะทําให

เดก็เกดิความสนใจและเกิดการเรียนรูไดดกีวาการอานจากตวัหนังสือเพียงอยางเดยีว

สือ่คอมพิวเตอรสะดวกและนําไปใชงานไดงาย Captivate เปนโปรแกรมท่ีไดรับความนิยม

สูงในการใชพัฒนา e-learning การเขาใชงานเว็บไซตตางๆ ไดรับความนิยมมาก เพราะมีความสะดวก

และรวดเร็ว อีกท้ังยงัสามารถเช่ือมตอขอมลูถงึกันไดอยางกวางขวาง คณะผูจดัทําจงึไดนําโปรมแกรม

Adobe captivate V.4 มาใชในการสรางสื่อมัลตมีิเดยีอาเซียนศึกษา และทําเปนไฟลสาธารณะเพ่ือ

เผยแพรผลงานขึ้นสูเว็บไซตโรงเรียนสตรีนนทบุรี เพ่ือชวยเสริมความรูใหกับเด็กนักเรียนระดับ

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 และไดประยุกตเอาการสรางงานมัลติมเิดยีเขามาใชประกอบกับเนือ้หาทําใหเด็ก

เพลดิเพลนิและไดรับความรูจากเนือ้หามากขึ้น เม่ือเดก็เกิดการเรียนรูแลวก็จะนําสิ่งท่ีไดเรียนรูมาไป

เลาใหกับผูปกครองฟง ทําใหผูปกครองเกดิการเรียนรูตามไปดวย

วัตถุประสงคของโครงงาน

1. เพ่ือสรางงานมัลตมีิเดยีอาเซียนศึกษาสําหรับนักเรียนระดบัช้ันมัธยมศกึษาปท่ี 1

โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบไฟลสาธารณะ

2. เพ่ือประเมินระดับความพึงพอใจของนักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี

จากการใชสื่อมัลติมเีดยีอาเซยีนศกึษาโดยวัดจากแบบสอบถาม

2

นิยามศัพทเฉพาะ

Adobe Captivate เปนโปรแกรมสรางสือ่นําเสนอในรูปแบบมัลตมิีเดยี สามารถสรางสือ่

การเรียนการสอน หรือสือ่นําเสนอแบบมัลติมเีดยีไดงายและสะดวกรวดเร็ว และถูกพัฒนาขึ้นมาเพ่ือ

สนับสนุนการสรางภาพยนตรในรูปแบบ การนําเสนอขอมูลดวยสือ่มัลตมีิเดยี เชน การนําเสนอผลงาน

และสามารถนําเขาไฟลจากแหลงตางๆ ได เชน ไฟลรูปภาพ JPG, BMP, GIF , MP3, WAV

Ulead VideoStudio 11 เปนโปรแกรมตดัตอวิดีโอ สามารถใสเอ็ฟเฟกตตางๆ แทรกดนตรี

ประกอบ แทรกคําบรรยาย แทรกรูปภาพ ทําไสดโชว บันทึกวีดีโอทีต่ดัตอกลับลง เทป, VCD, DVD

หรือเผยแพรผลงานผานทางเว็บไซตได

มัลติมิเดยี คอื การใชคอมพิวเตอรรวมกับโปรแกรมซอฟตแวรในการสื่อความหมายโดยการ

ผสมผสานสือ่หลายชนิด เชน ขอความ กราฟก ภาพเคลือ่นไหว เสยีง และวีดทัิศน

ASEAN (Association of South East Asian Nations) คอื สมาคมประชาชาติแหงเอเชีย

ตะวันออกเฉยีงใต คอื องคกรทางภูมิรัฐศาสตรและองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจในภูมภิาค

เอเชียตะวันออกเฉยีงใต มีประเทศสมาชิกทั้งหมด 10 ประเทศ ไดแก บรูไน กัมพูชา อินโดนีเซีย ลาว

มาเลเซีย เมยีนมาร ฟลิปปนส ไทย เวียดนาม และสิงคโปร

โปรแกรมแปลงไฟลวีดิโอ Free Video to Flash Converter เปนโปรแกรมท่ีใชแปลงไฟล

วิดีโอสกุลไฟลตางๆ ใหเปนสกุล .FLV เพ่ือใชงานในโปรแกรมแฟลช หรือเว็บไซต

3

โปรแกรมแปลงไฟลเสยีง LetsFun FLV Converter เปนโปรแกรมท่ีใชแปลงไฟล Flash

Video (FLV) ใหอยูในรูปของไฟล AVI ,MP4, 3GP, AVI, WMV,MOV

ขอบเขตของการศึกษาโครงงาน

1. โปรแกรมท่ีนํามาใชสรางมัลตมิีเดยีอาเซยีนศึกษา คอื Adobe captivate V.4, , Ulead

VideoStudio 11, Free Video to Flash Converter , LetsFun FLV Converter และ

Microsoft PowerPoint

2. กลุมตัวอยางท่ีใช คอื นักเรียนระดบัช้ันมัธยมศกึษาปที ่1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน

ทําการเลอืกกลุมตัวอยาง โดยใชวิธีการสุมกลุมตัวอยางแบบแบงช้ันและคํานวณหาสัดสวนของกลุม

ตัวอยาง ดังน้ี

เมือ่ n = ขนาดของกลุมตัวอยางท่ีใช

N = จาํนวนประชากรทั้งหมด

e = ความคลาดเคลือ่นท่ียอมใหเกดิขึ้น (=0.05)

สตูรยามาเนะซึ่งเปนสตูรท่ีไดรับความนิยมมากในการเลอืกจาํนวนประชากรท่ีตองการ

4

วิธีคิด

จากจํานวนเดก็มัธยมศึกษาปท่ี 1 จํานวน 450 คน

n = 450/1+450(0.0025)

n = 450/2.125

n = 211

จากน้ันคิดแบบแบงช้ันและคํานวณหาสดัสวนของกลุมตัวอยาง 2 คร้ัง คอื

211 x (50/100) = 105 คน

105 x (50/100) = 52

จึงไดกลุมตัวอยางท้ังหมด 52 คน

3. เผยแพรผลงานผานทาง www.satrinon.ac.th

ประโยชนที่คาดวาจะไดรับ

1. ไดงานมลัติมีเดยีอาเซียนศึกษาเพ่ือเสริมความรูเร่ืองอาเซียนใหกับนักเรียนระดบัช้ันมัธยมศกึษาปท่ี

1

โรงเรียนสตรีนนทบุรี ในรูปแบบเว็บไซตมลัตมิิเดยี

2. นักเรียนระดับช้ันมัธยมศึกษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี มีความพึงพอใจจากการไดใชสื่อการ

สอนอาเซียนศึกษา

5

บทท่ี 2

เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

สถาบันการศึกษาเสริมขอมูลอาเซียน

อดตีรองนายกรัฐมนตรีและอดตีรัฐมนตรีวาการกระทรวงการตางประเทศ เรียกรองให

สถาบันการศกึษา พัฒนาองคความรูเกีย่วกับอาเซียนอยางจริงจงั เพ่ือสงเสริมคนไทยใหเขาใจ

อาเซยีนมากขึ้นหลังจากที่มีผลการสํารวจวา คนไทยรูจักอาเซียนนอยมาก ระบุวาปญหาใหญของคน

ไทย คอื ยงัไมรูสึกวา ตนเอง เปนสวนหน่ึงของอาเซยีน สะทอนไดจากผลการสํารวจทัศนคตขิอง

ประชาชนในอาเซยีน ท่ีพบวา คนไทยตระหนักถึงอาเซยีนนอยมาก และตดิอันดบัสดุทายในหลาย

คําถาม ปญหาน้ีตองเรงแกไข ดวยการสงเสริมความรูความเขาใจ ผานสื่อประเภทตาง ๆ

ไมปลอยใหอาเซียนเปนเรือ่งของนโยบายหรือ เรือ่งของผูใหญ กลุมนิเทศตดิตามและประเมินผล

การจดัการศึกษาสํานักงานเขตพ้ืนทีก่ารศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรีเขต 2

ประเทศไทยรูเร่ืองอาเซียนนอยมากเปนลําดบัท่ี 8 ของอาเซียน จากท้ังหมด 10

ประเทศ ประเทศลาวมีความรูเร่ืองอาเซียนมากท่ีสดุ อาเซยีน มีความสําคัญตอเราในระดับเยาวชน

คอื มันไมใชเร่ืองไกลตัวอีกตอไป การเตรียมความพรอมเขาสูอาเซียนไมใชเร่ืองของผูใหญ หรือเปน

หนาที่ของรัฐบาลเทานั้น เยาวชนทุกคนเปนกําลงัของชาติ เด็กเพียงคนเดยีวก็สามารถชวยประเทศได

ยิ่งหลายๆ คนรวมมอืกันประเทศไทยกจ็ะยิ่งพัฒนา "แสดงใหเห็นวาเราก็เปนสวนหน่ึงของประชาคม

อาเซยีน แมจะไมไดเปนผูปลูกตนไมตนน้ีเอง แตเราคอืผูประคับประคองใหตนไมท่ีช่ือวา "อาเซยีน"

เตบิโตและสามารถสรางผลสรางประโยชนใหแกเราในอนาคตได"

พัฒนาการเดก็วยั 6-12 ป และผลกระทบของสือ่ที่สงผลตอเดก็ในวัยเรียน

สถาบันแหงชาติเพ่ือการพัฒนาเดก็และครอบครัว มหาวทิยาลัยมหดิล

ชวงอายขุองเด็กในวัยเรียน 6-12 ป นั้นถือเปนชวงสําคัญของเด็กในการเรียนรูทักษะชีวิต

และพัฒนาการตางๆทางดานสติปญญา (higher cognitive functions) เปนชวงท่ีการทํางานของ

สมองมีการพัฒนาอยางรวดเร็วและเต็มท่ี เดก็อายุ 11-12 ป เด็กวัยน้ีจะมีเพ่ือนวัยเดียวกัน มีการเลน

เปนกลุม บางคนจะเร่ิมสนใจกีฬาท่ีเลนเปนทีม งานอดเิรก หนังสอืการตูน จะมลีักษณะเปนคนท่ี

เปลีย่นแปลงไดงาย ๆ อาจกลายเปนคนเจาอารมณ และชอบการวิพากษวิจารณ จะเห็นวาความ

คดิเห็นของกลุมเพ่ือนมีความสําคัญมากกวาความคดิเห็นของผูใหญ และจะมีความกงัวล เร่ิมเอาใจใส

การเปลีย่นแปลงของรางกาย ตองการใหผูอื่นเขาใจและยอมรับในการเปลีย่นแปลงของตนดวย

ผลกระทบของสื่อตอพัฒนาการดานมิติสัมพันธสถาบันแหงชาติเพ่ือการพัฒนาเดก็และ

ครอบครวั มหาวทิยาลัยมหดิล

รูปแบบของอปุกรณ multimedia ตางๆในปจจบุันถูกออกแบบใหมีการประสาทสัมผัสตางๆ

พรอมกัน ไมวาจะเปนคอมพิวเตอร วีดีโอเกมสใหมๆท่ีชวยฝกทักษะการเช่ืองโยงของการใชประสาท

สัมผัส และการเคลื่อนไหวใหกับเด็กได เชน เกมสเตน เกมสเคร่ืองดนตรีในแบบตางๆ (กลอง กีตาร

คยีบอรด) ซึง่การเลนเกมสประเภทนี้เอือ้ใหเกดิพัฒนาการดานมิตสิัมพันธ และถอืวาเปนกจิกรรมท่ีใช

เพ่ือความบันเทิง ผอนคลายสําหรับเด็กได

จติวทิยาการเรียนรูกับการสรางส่ือการเรียนการสอน

ถนอมพร เลาหจรัสแสง ไดกลาวถงึจติวิทยาท่ีสงผลตอการออกแบบคอมพิวเตอรชวยสอน คอื

แนวคดิทางจติวิทยาพุทธิพิสยั เปนแนวคิดสําคัญซึง่สงผลตอการออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวย

สอน ดงัน้ัน ผูสนใจสรางคอมพิวเตอรชวยสอนทุกทานควรท่ีจะศึกษาและนํามาประยุกตใชในการ

ออกแบบบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนเพ่ือใหไดมาซึง่คอมพิวเตอรชวยสอนที่มีคุณภาพ

7

Graphic User Interface (GUI)

คอืการออกแบบและจดัวาง องคประกอบตางๆ ในโปรแกรม หรือสือ่ปฎสิัมพันธท่ีสามารถ

แสดงผล ในหนาจอคอมพิวเตอร ท้ังนี้การออกแบบดงักลาว จะตองสามารถ สือ่สาร และปฎิสมัพันธ

โตตอบระหวางตัวสื่อเองกับผูใชไดอยางหมาะสม

การออกแบบหนาจอบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน

ธัญลักษณ จันทรแกว กลาวไววา เนื่องจากการจดัทําบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอน เปนการ

นําเสนอผานคอมพิวเตอร ดังนั้นการจดัรูปแบบการนําเสนอที่สมดลุกันขององคประกอบตาง ๆ บน

จอภาพ เพ่ือดึงดดูความสนใจ จงึเปนประเด็นสําคญั เพราะถาเนือ้หาถึงจะดีเพียงใดกต็าม หาก

หนาจอสวยงาม หรือไมดึงดดู อานยาก ก็สงผลตอการใชโปรแกรมได คุณคาของสือ่กจ็ะลดลงดวย

การออกแบบหนาจอของบทเรียน ตองอาศยัความรูพ้ืนฐานในการออกแบบเพ่ือวางองคประกอบตางๆ

ของบทเรียนคอมพิวเตอรชวยสอนใหนาสนใจ องคประกอบเหลาน้ี ไดแก การเลอืกใชตัวอักษรท่ีมี

รูปแบบสวยงามแปลกตา จะชวยดึงดดูความสนใจไดด ีในสวนหัวขอ ควรเลือกหรือออกแบบตัวอักษร

ใหกลมกลนืกับเน้ือหา การออกแบบพ้ืนหลังควรใชรูปแบบเดยีวกัน ไมควรใชสีพ้ืนสลบัไปสลบัมาในแต

ละเฟรมเน้ือหา เพ่ือความตอเน่ืองของการเสนอบทเรียน การเลอืกใชภาพประกอบ จะทําใหผูเรียน

เขาใจเน้ือหางายขึ้น และมีความคงทนในการจําไดดีกวาการใชคําอธิบายเพียงอยางเดยีว ปุมควบคมุ

การเรียนในบทเรียนควรออกแบบใหเปนมาตรฐานเดยีวกันท้ังบทเรียน และใหเขาใจไดงาย อาจ

ออกแบบเปนรูปสัญลักษณ มีขอความกํากับเพิม่อยูดวยเพ่ือความชัดเจนในการสือ่สาร หรือเปน

ขอความเช่ือมโยงท่ีมขีนาดมองเห็นชัดเจน

8

บทท่ี 3

วิธีการดําเนินงาน

เคร่ืองมือ และ วัสดุอุปกรณ

1. คอมพิวเตอร

2. ไมโครโฟน

3. โปรแกรม Adobe Captivate 4

4. หนังสือพัฒนาสือ่การสอนดวย Adobe Captivate 4

5. โปรแกรม Ulead VideoStudio 11

6. โปรแกรม Free Video to Flash Converter

7. โปรแกรมแปลงไฟลเสยีง LetsFun FLV Converter

8. โปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007

ข้ันตอนในการดําเนินงาน

1. รวบรวมขอมลูเกีย่วกับอาเซยีนและสรุปเน้ือหาสําคัญ

2. ศึกษาเกีย่วกับโปรแกรมใชงาน

3. ออกแบบสือ่มลัติมิเดยีโดยการเขยีน Storyboard และแผนผงัการทํางาน ดังรูป 3.1 และ 3.2

รูป 3.1 สวนแสดงการเขยีน Storyboard

รูป 3.2 สวนแสดงแผนผงัการทํางาน

10

4. สรางช้ินงานมัลติมีเดยีอาเซียนศึกษาดวยโปรแกรม Adobe Captivate 4

รูป 4 สวนแสดงหนาทั้งหมดของช้ินงานท่ีสรางขึ้น

4.1 นําไฟลภาพกราฟกใสในงานเพ่ือสรางเปนภาพพ้ืนหลงั

รูป 4.1 สวนแสดงการนําภาพกราฟกมาใสเปนภาพพ้ืนหลัง

11

4.2 สรางหนาสําหรับลงทะเบยีนเขาใชงาน

รูป 4.2 สวนแสดงการสรางหนาสําหรับลงทะเบยีนเขาใชงาน

4.3 สรางหนาท่ีเปนเน้ือหา

รูป 4.3 สวนแสดงการสรางหนาที่เปนเน้ือหา

12

4.4 สรางหนาแบบสอบถามโดยใช Short Answer และ Matching Question

รูป 4.4 สวนแสดงการสรางหนาแบบสอบถาม

4.5 สรางเกมจากโปรแกรม Microsoft Office PowerPoint 2007

รูป 4.5 สวนแสดงการสรางสรางเกม

13

4.6 ตดัตอคลิปวิดีโอและอดัเสยีงในวิดีโอ โดยใชโปรแกรม Ulead Video Studio V.11

รูป 4.6 สวนแสดงการตดัตอคลปิวิดีโอและอดัเสยีงในวิดีโอ

5. ตรวจสอบความผดิพลาดและทดลองใชงานช้ินงานท่ีสรางขึ้น

6. จดัทําแบบสอบถามเพ่ือวัดระดับความพึงพอใจของกลุมตวัอยาง

7. ใหกลุมตัวอยางทดลองใชงานจากสือ่ท่ีสรางขึ้น และทําแบบสอบถาม

8. รวบรวมขอมลูจากแบบสอบถาม และสรุปผลระดับความพึงพอใจของกลุมตัวอยาง

9. อัพโหลดผลงานขึ้นสูเว็บไซต www.satrinon.ac.th

14

บทท่ี 4

ผลการดําเนินงาน

ผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซียนศึกษาของนักเรียน

ช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จํานวน 52 คน ไดผลการดําเนินงานดงัน้ี

หัวขอ ดีมาก

(คน)

ด ี

(คน)

พอใช

(คน)

คอนขาง

แย

(คน)

ปรับปรุง

(คน)

1. ความเหมาะสมของเนือ้หา 33 19 - - -

2. ความนาสนใจของเน้ือหา 34 18 - - -

3. ความสวยงามของสือ่ 44 4 4 - -

4. ความเพลดิเพลิน 36 11 5 - -

5. ความเหมาะสมของ

ระยะเวลา

ในการใชสื่อ

21 28 3 - -

6. ความเหมาะสมในการจดั

หมวดหมูของขอมลูภายในสือ่

29 19 4 - -

7. เมนูงายตอการใชงาน 32 17 3 - -

8. การโตตอบระหวางสื่อกับ

ผูรับชมสื่อ

20 23 9 - -

9. ความรูท่ีไดรับ 32 15 5 - -

10. ภาพรวมของสือ่ 39 13 - - -

กราฟแสดงผลการประเมินความพึงพอใจการใชสื่อการสอนอาเซยีนศึกษาของนักเรียน

ของนกัเรียนช้ันมัธยมศึกษาปท่ี 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี จาํนวน 52 คน

16

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

สรุปผล

การสํารวจความพึงพอใจของนักเรียน ระดับช้ันมัธยมศกึษาปที่ 1 โรงเรียนสตรีนนทบุรี

จํานวน 52 คน ท่ีมีตอสือ่มลัติมีเดยีอาเซียนศึกษา มี 10 รายการ คอื

1 ความเหมาะสมของเน้ือหา มีระดับความพึงพอใจในระดบัดมีากคิดเปนรอยละ 63.46

2. ความนาสนใจของเนือ้หา มีระดับความพึงพอใจในระดบัดมีากคดิเปนรอยละ 65.38

3. ความสวยงามของสือ่ มีระดับความพึงพอใจในระดับดมีากคดิเปนรอยละ 84.62

4. ความเพลิดเพลิน มีระดบัความพึงพอใจในระดับดีมากคดิเปนรอยละ 69.23

5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการใชสือ่ มีระดับความพึงพอใจในระดับดคีิดเปนรอยละ 53.85

6. ความเหมาะสมในการจดัหมวดหมูของขอมูลภายในส่ือ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคดิ

เปนรอยละ 55.77

7. เมนูงายตอการใชงาน มีระดับความพึงพอใจในระดบัดมีากคดิเปนรอยละ 61.54

8. การโตตอบระหวางส่ือกับผูรบัชมส่ือ มีระดับความพึงพอใจในระดบัดีคดิเปนรอยละ 44.23

9. ความรูที่ไดรับ มีระดับความพึงพอใจในระดับดมีากคดิเปนรอยละ 61.54

10. ภาพรวมของสื่อ มีระดับความพึงพอใจในระดับดีมากคดิเปนรอยละ 75.00

อภิปรายผล

กลุมตัวอยางมีระดับความพึงพอใจในสือ่มลัติมีเดยีอาเซียนศกึษาอยูในระดับดมีากและดี

เนือ่งจากกลุมตัวอยางมีความเขาใจในเน้ือหาและมีความสนใจในสือ่มลัติมเีดยีอาเซยีนศึกษาแตใน

บางสวนซึง่ไดแก การโตตอบของสือ่ ระยะเวลาของสือ่ ซ่ึงอาจทําใหกลุมตัวอยางรูสึกวาสือ่น้ันมี

ระยะเวลามากเกินไป ซึง่อาจทําใหนักเรียนรูสกึมีความสนใจลดลงหลังการใชสื่อเปนเวลานาน

ขอเสนอแนะ

1. ควรจดัหมวดหมูใหเปนระบบมากขึ้น

2. ระยะเวลาของสือ่ควรนอยลง

18

เอกสารอางอิง

Adobe captivate.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://guru.google.co.th/ (24 กุมภาพันธ 2555)

ASEAN.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://th.wikipedia.org/wiki (7 มกราคม 2555)

MULTIMEDIA GRAPHIC USER INTERFACE .[ออนไลน]. สืบคนจาก :

http://commarts.hcu.ac.th/images/academic_article/mod/puchong_interface.pdf

(11 กรกฎาคม 2555)

งานวิจยัเร่ืองการเปรียบเทียบผลสัมฤทธ์ิและความสนใจในการอานของนักเรียนช้ันประถมศึกษาปท่ี 1

ท่ีไดรับการสอนแบบมุงประสบการณภาษา โดยใชหนังสอืเรียนท่ีมภีาพประกอบเปนเหมือนภาพ

โดยใชหนังสอืเรียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://www.happyreading.in.th

(4 สิงหาคม 2555)

จิตวิทยาการเรียนรูกับการสรางสือ่การเรียนการสอน.[ออนไลน]. สืบคนจาก :

http://krufonclass2.blogspot.com/p/blog-page_10.html (2 มีนาคม 2555)

ผลกระทบของสื่อตอพัฒนาการดานมติสิัมพันธ.[ออนไลน]. สืบคนจาก :

http://www.gotoknow.org/blogs/posts/305033 (2 มีนาคม 2555)

พัฒนาการเด็กวัย 6-12 ป และผลกระทบของสือ่ที่สงผลตอเด็กในวัยเรียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก :

http://www.gotoknow.org/blogs/posts/305033 (2 มีนาคม 2555)

ไมปลอยใหอาเซียนเปนเร่ืองของนโยบายหรือเร่ืองของผูใหญ.[ออนไลน]. สืบคนจาก :

http://www.niteskan2.in.th (2 มีนาคม 2555)

สถาบันการศกึษาเสริมขอมูลอาเซียน.[ออนไลน]. สืบคนจาก : http://news.voicetv.co.th

(2 มีนาคม 2555)

อภิชัย เรืองศิริปยะกุล. พัฒนาสือ่การสอนดวย Adobe Captivate4. บริษัท วี.พร้ินท (1991)

จาํกดั : บริษัท ซเีอด็ยูเคช่ัน จํากดั (มหาชน), 2553

ภาคผนวก ก

แบบประเมินความพึงพอใจ

หัวขอ ดีมาก ด ี พอใช คอนขาง

แย

ปรับปรุง

1. ความเหมาะสมของเนือ้หา

2. ความนาสนใจของเน้ือหา

3. ความสวยงามของสือ่

4. ความเพลดิเพลิน

5. ความเหมาะสมของระยะเวลาในการใชสื่อ

6. ความเหมาะสมในการจดัหมวดหมูของขอมูล

ภายในสือ่

7. เมนูงายตอการใชงาน

8. การโตตอบระหวางสื่อกับผูรับชมสื่อ

9. ความรูท่ีไดรับ

10. ภาพรวมของสือ่

2

ความคิดเห็น

................................................................................................................................................................

................................................................................................................................................................

...............................................................................................................................................................

ภาคผนวก ข

ผลการสํารวจความรูของประชาชนทั้ง 10 ประเทศ