เดินทวนหนทาง

11
63 สมคิด สิงสง ... เศรษฐกิจของภูมิภาคลุมแมน้ำโขงมีการ เติบโตอยางรวดเร็วและเชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลก ความผันผวนของราคาน้ำมันและกาซ การสงเสริม การใชพลังงานที่นำกลับมาใชใหมได การใชเชื้อเพลิงทีไมใชฟอสซิล และการสนับสนุนทางการเงินจากภาค เอกชน ทำใหไฟฟาพลังน้ำมีความนาสนใจเพิ่มขึ้นและ เรงการพัฒนาไฟฟาพลังน้ำในลุมแมน้ำโขงตอนลาง ลุมแมน้ำโขง : แนวโนมของการพัฒนาและประเด็นที่เกิดขึ้น

description

เดินทวนหนทาง, Back to the root ,สมคิด สิงสง

Transcript of เดินทวนหนทาง

63

สมคิด สิงสง

“ ...เศรษฐกิจของภูมิภาคลุมแมน้ำโขงมีการเติบโตอยางรวดเร็วและเช่ือมโยงกับเศรษฐกิจโลก ความผันผวนของราคาน้ำมันและกาซ การสงเสริมการใชพลังงานท่ีนำกลับมาใชใหมได การใชเชื้อเพลิงท่ีไมใชฟอสซิล และการสนับสนุนทางการเงินจากภาคเอกชน ทำใหไฟฟาพลังน้ำมีความนาสนใจเพ่ิมขึ้นและเรงการพัฒนาไฟฟาพลังน้ำในลุมแมน้ำโขงตอนลาง

ลุมแมน้ำโขง : แนวโนมของการพัฒนาและประเด็นที่เกิดขึ้น

64

แนวโนมการขาดแคลนอาหาร และราคาผลิตผลดานการเกษตรท่ีเพิ่มขึ้น ทำใหการพัฒนาพ้ืนท่ีชลประทานคุมคาตอการลงทุนในลุมแมน้ำโขงตอนลาง ในขณะที่การพัฒนาพื้นที่ชลประทานอาจจะดึงดูดเงินลงทุนจากตางชาติ เพื่อการผลิตพืชอาหารที่มีความหลากหลาย จากผลของแบบจำลองการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศทำนายวา ปริมาณการไหลของน้ำในแมน้ำโขงสายประธานจะมีมากขึ้น

65

ในชวงฤดูน้ำหลาก แตไมมีผลกระทบกับปริมาณการไหลของน้ำในชวงฤดูแลง และพื้นที่สามเหลี่ยมปากแมน้ำมีความออนไหวตอระดับน้ำทะเลที่สูงขึ้น ดังนั้นการวางแผนท่ีเกี่ยวของกับทรัพยากรน้ำตองปรับเป ล่ี ยนตามแนว โน ม เ ศรษฐ กิจ โลก และการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ เพื่อใหแนใจวา จะเกิดการพัฒนาที่ยั่งยืน...”

66

นั่นเปนการวิเคราะหของ “คณะกรรมาธิการแมน้ำโขง(Mekong River Commission: MRC)” ในการจัดทำแผนยุทธศาสตรเพ่ือการพัฒนาท่ียั่งยืน (For Sustainable Development) ระยะท่ี ๓ (๒๕๕๔ -๒๕๕๘) ของแผนงานพัฒนาลุมน้ำ (Basin Development Plan: BDP) บนพื้นฐานการบริหารจัดการน้ำแบบบูรณาการสำหรับลุมแมน้ำโขงตอนลาง

เร่ืองการบูรณาการเศรษฐกิจของภูมิภาค MRC มองวา “. .การบูรณาการเปนแนวโนมสำคัญในโครงการพัฒนาความรวมมือทางเศรษฐกิจในอนุภูมิภาคลุมแมน้ำโขง (GMS) ประเทศในลุมแมน้ำโขงตอนลางเปนสมาชิกของอาเซียนและไดลงนามในความตกลงของอาเซียนวาดวยการบูรณาการทางเศรษฐกิจ และการสงเสริมวิธีการในระดับภูมิภาค เพ่ือการพัฒนาภาคสวนภายใตกรอบ GMS

ประเทศตาง ๆ รวมมือกันในภาคสวนตาง ๆ และมีการจัดลำดับความสำคัญของแผนงาน ซึ่งภายใตภาคสวนพลังงานจะสงเสริมการคาพลังงานในภูมิภาค

67

เพื่อการพัฒนาศักยภาพดานพลังงาน สนับสนุนการสรางโครงขายพลังงานใหเชื่อมโยงระหวางประเทศ อีกท้ังสงเสริมการลงทุนของภาคเอกชน นอกจากนี้ แผนงานส่ิงแวดลอมของ GMS มีกิจกรรมหลักท่ีสำคัญ คือการปรับปรุงศักยภาพดานการวางแผนและบริหารจัดการสิ่งแวดลอมเพ่ือการประเมินสิ่งแวดลอมระดับยุทธศาสตรของภาคสวนตาง ๆ การสงเสริมการอนุรักษความหลากหลายทางชีวภาพ เพื่อเปนแหลงอาหารของคนยากจน และการบริหารจัดการส่ิงแวดลอม..”

เมื่อพูดถึงลุมแมน้ำโขงตอนบน MRC บอกวา “..ปจจุบันจีนกอสรางเข่ือนไฟฟาพลังน้ำในแมน้ำลานชาง (Lancang) แลวเสร็จจำนวน ๔ เขื่อน ไดแกเขื่อนมานหวาน ดอโชวซัน จิ่งหง และเซียวหวาน และในป พ.ศ. ๒๕๕๗ เข่ือนนอซาตูซ่ึงมีปริมาณน้ำใชการมากที่สุดจะกอสรางแลวเสร็จ โดยเขื่อนเซียวหวาน และนอซาตู มีปริมาณน้ำใชการท่ี ๙,๘๐๐ และ ๑๒,๔๐๐ ลานลูกบาศกเมตร ตามลำดับ ซึ่งจะมีผลตอการควบคุมการไหลของน้ำในฤดูฝนและฤดูแลงอยางมีนัย

68

สำคัญ ทำใหปริมาณตะกอนในแมน้ำโขงลดลง กอใหเกิดทั้งโอกาสและความเส่ียงตอประเทศดานทายน้ำ..”

ในสวนลุมแมน้ำโขงตอนลาง ประเด็นความตองการ MRC คาดการณวาการเติบโตทางเศรษฐกิจของลุมแมน้ำโขงจะเปนไปอยางตอเน่ือง เน่ืองจากความหลากหลายทางเศรษฐกิจ การบูรณาการทางเศรษฐกิ จ ในระดับภู มิ ภาค และการลงทุน ในสาธารณูปโภค รวมถึงการพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติ สปป.ลาวและกัมพูชาจะเปล่ียนสถานะจากประเทศท่ีพัฒนานอยสูระดับที่ดีขึ้น ในขณะที่เวียดนามจะเปนประเทศท่ีมีรายไดปานกลางภายในป พ.ศ.๒๕๗๓ การเพิ่มขึ้นของประชากรและมาตรฐานการดำรงชีวิต รวมท้ังความเจริญทางเศรษฐกิจเรงใหเกิดความตองการดานอาหารและไฟฟาเพิ่มขึ้น การแกไขปญหาความยากจนอยางตอเนื่องในพื้นที่ชนบท จะตองสามารถบรรเทาอุทกภัยและภัยแลงที่รุนแรงซึ่งเปนสาเหตุของการสูญเสียชีวิตและทรัพยสิน และสงผลตอความเสียหายทางเศรษฐกิจ

69

นาย Pham Khoi Nguyen ประธานคณะมนตรีคณะกรรมาธิการแมน้ำโขง (พ.ศ.๒๕๕๓-๒๕๕๔) ระบุวา “ประเทศในลุมแมน้ำโขงตอนลางมียุทธศาสตรลดความยากจน โดยมีการพัฒนาและลงทุนในโครงการผลิตน้ำประปา การชลประทาน การบริหารจัดการอุทกภัย การประมง และการใชน้ำดานอื่น ๆ จากแมน้ำโขง ซึ่งโครงการไฟฟาพลังน้ำชวยสรางรายไดจากเงินตราตางประเทศ และภาษีที่เรียกเก็บ ทำใหมีงบประมาณเพื่อนำไปใชลดผลกระทบท่ีเกิดจากการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ..”

เมื่อพูดถึงการพัฒนาในลุมแมน้ำโขงตอนลาง MRC บอกวาโครงการไฟฟาพลังน้ำ ๒๖ โครงการ (>๑๐ เมกกะวัตต) อยูในระหวางการกอสรางในแมน้ำสาขา ซึ่งเมื่อรวมกับเขื่อนในจีนแลวจะทำใหมีแหลงกักเก็บน้ำเพิ่มขึ้น ๓๖ ลานลูกบาศกเมตร ในอีก ๒๐ ปขางหนา และยังคงมีการวางแผนสรางเขื่อนตอไป ๑๒ แหงในแมน้ำโขงสายประธาน และ ๓๐ แหงในแมน้ำสาขา ซึ่งสวนใหญอยูใน สปป.ลาว

70

เขื่อนในแมน้ำโขงสายประธานทั้งหมดเปนแบบ “เขื่อนยกระดับน้ำ” (run-of-river) ทำใหมีขอจำกัดของระดับเก็บกักและศักยภาพในการควบคุมปริมาณการไหลของน้ำ การสรางเข่ือนในแมน้ำสาขาจะทำใหมีแหลงเก็บกักน้ำเพิ่มขึ้น ๒๑ พันลานลูกบาศกเมตร ประเทศในลุมแมน้ำโขงตอนลางมีโครงการในแผนท่ีจะเพิ่มพ้ืนที่ชลประทานชวงหนาแลงข้ึนอีก ๕๐% (จาก ๗.๕ เปน ๑๑.๒๕ ลานไร) ภายใน ๒๐ ป โดย สปป .ลาว มีแผนจะขยายพ้ืนที่ชลประทานจาก ๖๒๕,๐๐๐ ไร เปนมากกวา ๑,๘๗๕,๐๐๐ ไร

การขยายพื้นท่ีชลประทานไดรับการศึกษาในประเทศกัมพูชา โดยเช่ือมโยงกับการลงทุนดานการปองกันน้ำทวมในพื้นที่ที่ ไมมีการพัฒนาบริเวณสามเหล่ียมปากแมน้ำ และในบริเวณอื่น ๆ โดยเช่ือมโยงกับการพัฒนาไฟฟาพลังน้ำ

ประเทศไทยมีการพิจารณาการผันน้ำจากแมน้ำโขงสายประธานมาเปนเวลานานเพื่อชวยบรรเทาภัยแลงในภาคตะวันออกเฉียงหนือของประเทศ นอกจาก

71

นี้ ประเทศในลุมแมน้ำโขงตอนลางยังวางแผนที่จะพัฒนาการเล้ียงสัตวน้ำ การบริหารจัดการการประมง การเดินเรือ การบริหารจัดการอุทกภัย และการทองเที่ยว

การเติบโตดานการเพาะเล้ียงสัตวน้ำมีการคาดการณวาจะเติบโตเปนสองเทา โดยมีผลผลิตถึง ๔ ลานตันในอีก ๒๐ ปขางหนา

MRC มองวาการพัฒนาในระดับนี้นำมาทั้งโอกาสและความเสี่ยงสูง ความรวมมือจึงเปนสิ่งจำเปนเพื่อลดความเส่ียงใหนอยที่สุด และรวมแบงปนผลประโยชนระหวางกลุมประชากรในลุมน้ำ

เม่ือพูดถึงการลงทุนของภาคเอกชน MRC บอกวา “..ภาคเอกชนและบริษัทตางชาติซ่ึงรัฐบาลเปนเจาของ มีโอกาสเขามามีสวนในการพัฒนาทรัพยากรน้ำและทรัพยากรที่เกี่ยวของมากขึ้น เชน ไฟฟาพลังน้ำ การเดินเรือ การชลประทานขนาดใหญ และอุตสาหกรรม (เหมืองแร ปาไม และการทองเที่ยว) ใน

72

ภาคสวนตาง ๆ เหลานี้ ปจจุบันเม็ดเงินจากการลงทุนของภาคเอกชนมีมากเกินกวาภาครัฐ เมื่อเปรียบเทียบกับรูปแบบเดิม ๆ ที่ภาครัฐเปนผูผลักดันการพัฒนา การพัฒนาโดยภาคเอกชนผลักดันใหเกิดโอกาสมากกวา โดยมีขั้นตอนการวางแผนและกระบวนการประเมินท่ีมีระยะเวลาส้ันกวา แมวาการมีสวนรวมของภาคเอกชนจะไดรับการตอนรับ แตก็ตองมีการเปดเผยเพื่อการตรวจสอบโดยสาธารณชนและใสใจกับความกังวลของประชาสังคม ซึ่งจำเปนจะตองมี ระบบขอบั ง คับที่ มีประสิทธิภาพ รวมถึ งกฎหมาย ขอบังคับ และศักยภาพในการบังคับใช รวมทั้งการเพิ่มขีดความสามารถใหแกหนวยงานที่รับผิดชอบดานทรัพยากรน้ำดวย..”

Back to the root : “เดินทวนหนทาง” ไมมีเจตนาจะลวงล้ำกล้ำกลาย หรือทาทายตอส่ิงใด ผูใด เพียงแตอยากลองยอนรอย ทวนทางกลับไปดูบางสิ่งบางอยางท่ีเราอาจจะหลงลืม หรือเลอะเลือนไปช่ัวครูชั่วคราว เพื่อพินิจพิเคราะหกันอีกทีให

73

ถองแทในทำนองสะกิดสะเกาใหไดคิดอานกันอีกทีดวยสติและปญญา

ผมไมใชนักปราชญ ไมไดเปนนักวิชาการ เพียงแตเปนผูสังเกตเรื่องราวและเหตุการณที่ผานพบ อานเจอ หรือฟงมา.. แลวนำมาแลกเปล่ียนความรู ความคิด เพื่อตีประเด็นใหแตก ทั้งดานกวางและลึก เผื่อวาใครอยากหยิบจับไปใชประโยชนไดในบางเรื่องบางราว