ความเชื่อของประชาชนต่องานประเพณีปิดทองพระพุทธชินราชของวัดทางข้ามน้อย...

59
รายงานการวิจัย เรื่อง ความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา People’s Belief toward the Phrabuddhachinaraja-Gilding Tradition at Tangkhamnoi Temple, Huasai Subdistrict, Bangkhla District, Chachoengsao Province ชื่อผูวิจัย นางสาวอารียา บุญทวี ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถิ่น มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๖

Transcript of ความเชื่อของประชาชนต่องานประเพณีปิดทองพระพุทธชินราชของวัดทางข้ามน้อย...

รายงานการวิจัย

เรื่อง

ความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

People’s Belief toward the Phrabuddhachinaraja-Gilding Tradition at Tangkhamnoi Temple, Huasai Subdistrict,

Bangkhla District, Chachoengsao Province

ชื่อผูวิจัย

นางสาวอารียา บุญทวี

ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

ประจําปงบประมาณ ๒๕๕๖

รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ

เรื่อง

ความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

People’s Belief toward the Phrabuddhachinaraja-Gilding Tradition at Tangkhamnoi Temple, Huasai Subdistrict, Bangkhla District,

Chachoengsao Province

โดย

นางสาวอารียา บุญทวี

ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

ป ๒๕๕๖

งานวิจัยเรื่อง : ความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

ท่ีปรึกษา : นายจินดา เนื่องจํานงค ผูวิจัย : นางสาวอารียา บุญทวี หนวยงาน : ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ปการศึกษา : ๒๕๕๖

บทคัดยอ

งานวิจัยฉบับนี้ มีวัตถุประสงค ๑) เพ่ือศึกษาความเชื่อของประชาชนท่ีมีตอประเพณีปดทองหลวงพอพุทธชินราชวัดทางขามนอย ๒) เพ่ือสืบสานประเพณีปดทองหลวงพอพุทธชินราชวัดทางขามนอย

กลุมตัวอยางแบบเจาะจงไดแก ผูใหญบานหมู ๔ บานทางขามนอย และคณะกรรมการวัดทางขามนอย กลุมตัวอยางแบบบังเอิญ ไดแก ผูเขารวมงานปดทองหลวงพอพุทธชินราชวัดทางขามนอย เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ไดแก แบบสอบถามประชาชน ท่ีเขามารวมปดทองพระพุทธชินราช และการสัมภาษณประวัติความเปนมาของประเพณี และกระบวนการจัดงาน รวมท้ังการสังเกตแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวม

ผลการวิจัยพบวา ๑. หลวงพอพระพุทธชินราชวัดทางขามนอย ไดจําลองแบบจากหลวงพอพุทธชินราชท่ีจังหวัด

พิษณุโลกโดยไดสรางข้ึนเม่ือปพ.ศ.๒๔๖๔ เพ่ือประดิษฐานหลวงพอไวในพระอุโบสถ และไดมีการจัดงานเฉลิมฉลองใหหลวงพอปละ ๒ ครั้ง คือ

๑.๑ งานประเพณีแหหลวงพอพุทธชินราช คือ แรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ สมัยกอนจะนําหลวงพอพุทธชินราชจําลองแหไปตามลําคลอง ออกสูแมน้ําบางปะกง เพ่ือใหประชาชนไดปดทองและสักการะบูชา ปจจุบันไดเปลี่ยนมาแหงทางบกแทนโดยไดใชรถเปนขบวนแห

๑.๒ ประเพณีปดทองพระพุทธชินราช เปนงานประจําป เนื่องจากเปนเดือนท่ีสราง หลวงพอข้ึนทางวัดจึงมีงานสมโภชองคหลวงพอ ๒ วัน คือ ข้ึน ๑๒ คํ่า และ ข้ึน ๑๓ คํ่า เดือน ๔ การจัดงานปละ ๒ ครั้ง ทางคณะกรรมการวัดจะตองจัดลิเกมาแสดงใหหลวงพอซ่ึงมีการปฏิบัติ สืบตอกันมา เนื่องจากหลวงพอพุทธชินราชเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนไดมาบนตอหลวงพอในเรื่องตาง ๆ ปรากฏวาประสบความสําเร็จ จึงนําลิเกมาแสดง มารําถวาย เปนประจําทุกป

๒. ประชาชนมางานปดทองพระพุทธชินราช ในเดือน ๔ โดยมารวมงานประจําป เพ่ือปดทองและขอพรมากท่ีสุด รองลงมา คือ เพ่ือทําบุญและมาเพ่ือแกบน โดยผูมาแกบนจะบนเรื่อง ขอใหหายจากการปวยและการทํานามากท่ีสุด รองลงมาคือเรื่องเรียนและการทําฟารมกุง

๓. การสืบสานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช เกิดจากการบอกเลาและถายทอดประเพณีจากบรรพบุรุษ ซ่ึงควรใหสถานศึกษา สวนราชการ ประชาชน เขามามีสวนรวมกับทางคณะกรรมการจัดกิจกรรมรวมกัน โดยเนนการละเลน / การแสดงพ้ืนบาน

คําสําคัญ : ความเชื่อ ประเพณีปดทองพระพุทธชินราชวัดทางขามนอย

Research topic : People’s Belief toward the Phrabuddhachinaraja-Gilding Tradition at

Tangkhamnoi Temple, Huasai Subdistrict, Bangkhla District,

Chachoengsao Province

Researcher : Miss Areeya Boontawee

Place of research : Center of Arts, Culture and Locality, Rajabhat Rajanagarindra University

Academic year : 2556

ABSTRACT

The objectives of this research were (1) to study people’s belief toward the

Phrabuddhachinaraja-gilding tradition at Tangkhamnoi Temple, and (2) to perpetuate the

Phrabuddhachinaraja-gilding tradition at Tangkhamnoi Temple.

The purposive samplings used in this research were the village leader of area IV, the

Tangkhamnoi Village and the committee of Tangkhamnoi Temple. The accident samples

were those who attended the Phrabuddhachinaraja-gilding ceremony at Tangkhamnoi

Temple. The research instruments were questionnaires provided to the ceremony

attendants and interview about history of the tradition. Additionally, the participation and

non-participation observances were used in this research.

The research revealed that:

1) The Luang Phor Phrabuddhachinaraja Buddha Image at Tangkhamnoi Temple

was a replica of the Luang Phor Phrabuddhachinaraja, created in 2464 B.E, in

Phisanulok Province. The Luang Phor Phrabuddhachinaraja Buddha Image at

Tangkhamnoi Temple was built to enshrine in the Buddhist hall of the temple;

the celebrations were organized twice a year as follows;

1.1 The procession tradition of the Luang Phor Phrabuddhachinaraja: It was

organized on the first day of the waning moon of the eleventh lunar

month. In the past, The Luang Phor Phrabuddhachinaraja Buddha Image

would be carried in procession from canal to river in order to pay homage

and gild. At the present, the procession has been changed to be on land.

1.2 The gilding tradition of the Luang Phor Phrabuddhachinaraja Buddha

Image: it was an annual cerebration and would be held on the twelfth

and the thirteenth day of the waxing moon of the fourth lunar month. It

would be organized twice a year; each celebration period lasted for two

days. According to the tradition, there was a show of Likey, the Thai

traditional dramatic performance, organized by the committee of the

temple as a way to cerebrate the event. Moreover, due to the fact that

the Luang Phor Phrabuddhachinaraja was the sacred Buddha image,

people came to make a votive prayer to wish whatever they hoped for.

When their wishes were fulfilled, they would make a votive offering by

hiring a Likey performance and traditional dance as their token of

gratitude.

2) People would attend the annual gilding tradition of the Luang Phor

Phrabuddhachinaraja in the forth lunar month came with two major purposes:

gilding and being blessed by the Luang Phor Phrabuddhachinaraja. The more

subordinating purposes were to make merit and make a votive offering to the

Luang Phor Phrabuddhachinaraja. Concerning a votive offering, it was related to

getting well, farming, education achievement, and shrimp farming business

respectively.

3) The perpetuation of the gilding tradition of the Luang Phor Phrabuddhachinaraja

originated from retelling and passing it on to ancestors. Therefore, the

educational institute, public sectors and local people could be given an

opportunity to participate with the committee of the Tangkhamnoi Temple,

especially in the parts of local amusement and performances.

Key words: Belief / The Gilding Tradition / The Luang Phor Phrabuddhachinaraja

of Tangkhamnoi Temple

กิตติกรรมประกาศ

ผลงานวิจัยเรื่องนี้ สําเร็จไปไดดวยดี โดยไดรับความชวยเหลือจาก คณะกรรมการ วัดทางขามนอย นายสุรพล โกศาสตร ผูใหญบานหมู ๔ บานทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอ บางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้ ขอขอบคุณ คุณกิตติพงษ ทับพยุง นักวิชาการกองพัฒนานักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏ ราชนครินทร และคุณภัทรวรรณ เขาเหมน คณะเทคโนโลยีอุตสาหกรรม ท่ีลงพ้ืนท่ีในการเก็บรวบรวมขอมูลแบบสอบถาม ในงานปดทองหลวงพอพระพุทธชินราช ในวันท่ี ๒๐ – ๒๑ มีนาคม ๒๕๕๖ และผูใหสัมภาษณทุกทานท่ีกรุณาใหขอมูลท่ีเปนประโยชนแกผูวิจัยอยางดียิ่ง รวมท้ังผูบริหารและบุคลากรของศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ินทุกคนท่ีมีสวนสนับสนุนใหงานวิจัยเสร็จสมบูรณ

อารียา บุญทวี ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร

๑๗ กันยายน ๒๕๕๖

สารบัญ หนา

กิตติกรรมประกาศ ก บทคัดยอภาษาไทย ข บทคัดยอภาษาอังกฤษ ง สารบัญ ฉ บทท่ี ๑ บทนํา หลักการและเหตุผล

๑ ๑

วัตถุประสงคของการวิจัย ๒ ขอบเขตในการศึกษา ๒ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ๒ นิยามศัพท ๒ แผนปฏิบัติการ ๓ บทท่ี ๒ แนวคิดทฤษฎีและงานวิจัยท่ีเกี่ยวของ ประวัติของตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

๕ ๕

สภาพท่ัวไปและขอมูลพ้ืนฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๖ ลักษณะโครงการสรางพ้ืนฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๗ ดานเศรษฐกิจ ๘ ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ๑๐ การเมืองการบริหาร ๑๐ ประวัติวัดทางขามนอย ๑๔ ความหมายและประเภทของประเพณี ๑๗ ความหมายและท่ีมาของพิธีกรรม ๑๘ งานวิจัยท่ีเก่ียวของ ๒๖ บทท่ี ๓ ระเบียบวิธีการวิจัย วิธีการดําเนินวิจัย

๒๙ ๒๙

เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ๒๙ การเก็บรวบรวมขอมูล ๓๐ วิเคราะหขอมูล ๓๐ การตรวจสอบขอมูล ๓๐ ระยะเวลาในการเก็บขอมูล ๓๐ บทท่ี ๔ การอภิปรายผล ขอมูลท่ัวไป

๓๑ ๓๑

ขอมูลเก่ียวกับความเชื่อท่ีมีตอประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ๓๓ ขอเสนอแนะในการจัดงานประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ณ วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

๓๖

สารบัญ (ตอ) หนา

บทท่ี ๕ สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ วัตถุประสงคการวิจัย

๔๓ ๔๓

วิธีการดําเนินวิจัย ๔๓ การวิเคราะหขอมูล ๔๓ สรุปผลการวิจัย ๔๓ ขอเสนอแนะ ๔๕ บรรณานุกรม ๔๖ ภาคผนวก ๔๘ แบบประเมิน ความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ปพ.ศ.๒๕๕๖

๔๙

บทท่ี ๑ บทนํา

๑.๑ หลักการและเหตุผล เทศกาลและพิธีกรรมรวมท้ังวัฒนธรรมตามความหมาย คือ วิถีชีวิตของคนในสังคม เปนแบบแผนการประพฤติปฏิบัติและการแสดงออกซ่ึงความรูสึกนึกคิดในสถานการณตาง ๆ ท่ีสมาชิกในสังคมเดียวกันสามารถเขาใจไดอยางซาบซ้ึง ยอมรับและใชปฏิบัติรวมกัน อันจะนําไปสูการพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคมนั้น ๆ สําหรับในดานการดําเนินงาน ดานการอนุรักษ สงเสริม รักษาเทศกาล วัฒนธรรม และประเพณีของประเทศไทย โดยพระมหากษัตริยไทยทรงเปนแบบอยางในการปฏิบัติพระองคในการอนุรักษ สงเสริมและรักษาวัฒนธรรมประเพณีไดเปนอยางดี ดังพระราชดํารัสของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ รัชกาลปจจุบัน ทรงเห็นคุณคาวัฒนธรรมและเพณีของไทย ในตอนหนึ่งวา “การรักษาวัฒนธรรมและประเพณี คือ การรักษาชาติ” ซ่ึงการอนุรักษ วัฒนธรรมประเพณีไทยจึงถือเปนหนาท่ีซ่ึงคนในประเทศควรใหความรวมมือในการสืบสาน วัฒนธรรมและประเพณีไปสูอนาคต โดยการดําเนินงานใหประชาชนทุก ๆ ระดับ ไดนําเอาวัฒนธรรมและประเพณีไปใชในการดํารงชีวิต (คณาจารยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย : ๒๕๕๔) ประเพณี หมายถึง สิ่งท่ีกระทําสืบ ๆ กันมาของกลุมชนหรือสังคมใด สังคมหนึ่ง เม่ือกระทําติดตอกันเปนเวลานาน ๆ จนกลายเปนธรรมเนียมท่ีจะตองทําอยางนั้น วัดทางขามนอย ปจจุบันตั้งอยูในหมูท่ี ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา มีความเปนมาดังนี้ (บัณฑูรย บุญประเสริฐ : ๒๕๕๓) เนื่องดวยมีพระธุดงค ๓ รูป คือ พระกลั่น พระเทียน และพระหมก ไดเดินธุดงคจากจังหวัดนครราชสีมา จนกระท่ังถึงหมูบานทางขามนอย (ท่ีชื่อหมูบานทางขามนอยเนื่องจากบริเวณหมูบานแตดั้งเดิม เปนปาไมและมีลําธารท่ีมีน้ําไหลผาน สัตวตาง ๆ พากันเดินขามลําธารท่ีเปนทางเดินของสัตว จากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่งซ่ึงเปนทางเล็ก ๆ และตื้นเขิน โดยสัตวตาง ๆ ใชขามไปมา ปจจุบันก็คือบริเวณขางวัด และไดเปลี่ยนมาเปนคลองคูมอญ) ตอจากนั้นราษฎรก็ไดนิมนตพระท้ัง ๓ รูป ใหอยูประจําในหมูบาน และไดปรึกษากันท่ีจะสรางสํานักสงฆข้ึน โดยมีนายเกิด นางแหรม ราษฎร ในหมูบานไดยกท่ีดินใหเปนสํานักสงฆ จํานวน ๑๒ ไรเศษ และไดยกบานใหจํานวน ๓ หลัง เพ่ือใช เปนกุฎิ และไดเปนสํานักสงฆในปใดไมปรากฏ ตอมามีการกอสรางเพ่ิมเติมและไดยกฐานะเปนวัด เม่ือป พ.ศ.๒๔๒๔ โดยใชชื่อวา วัดศรีวิไลราษฎรศรัทธาธรรมขามนอย ตําบลหัวไทร (ปจจุบันเปลี่ยนมาเปนอําเภอบางคลา) จังหวัดฉะเชิงเทรา ตอจากนั้นมีการสรางพระอุโบสถ ในปพ.ศ.๒๔๖๔ แตไมมีพระประธานในพระอุโบสถ นายขํา นายกุล และนายจี๊ด ราษฎรในหมูบานไดเดินทางไปจังหวัดพิษณุโลก เพ่ือไปนมัสการหลวงพอ พระพุทธชินราช และไดหาชางมาทําแบบจําลอง เพ่ือหลอหลวงพอพุทธชินราชนั้น เพ่ือประดิษฐาน ในพระอุโบสถ (หลังเดิม) และไดมีการจัดงานเฉลิมฉลองใหหลวงพอพุทธชินราช ปละ ๒ ครั้ง ตลอดมา คือ งานประเพณีแหหลวงพอพุทธชินราช คือ วันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ หลังออกพรรษา ๑ วัน ในสมัยกอนจะนําหลวงพอพุทธชินราชจําลองแหทางน้ําไปตามลําคลองตาง ๆ ออกสูแมน้ํา บางปะกง เพ่ือใหประชาชนไดปดทองและสักการบูชา ซ่ึงปจจุบันมีถนน แมน้ําลําคลอง จึงเปลี่ยนจากการแหทางน้ํามาเปนแหทางบก โดยใชรถเปนขบวนแห นอกจากนี้ทางคณะกรรมการวัดจึงไดจัด

ประเพณีปดทองหลวงพอพุทธชินราช ซ่ึงถือวาเปนงานประจําป เปนการสมโภชองคหลวงพอในเดือนท่ีมีการสรางหลวงพอข้ึน โดยจัดงาน ๒ วัน คือ ข้ึน ๑๒ คํ่า และ ข้ึน ๑๓ คํ่า เดือน ๔ เพ่ือใหประชาชนในหมูบานและประชาชนท่ีมาจากตางถ่ินไดปดทอง กราบไหวสักการบูชา ดังนั้นผูวิจัย จึงสนใจท่ีจะศึกษาความเชื่อของประชาชน ท่ีมีตอประเพณีปดทองหลวงพอ พุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑.๒ วัตถุประสงคการวิจัย ๑. เพ่ือศึกษาความเชื่อของประชาชนท่ีมีตอประเพณีปดทองหลวงพอพุทธชินราช วัดทางขามนอย ๒. เพ่ือสืบสาน ประเพณี ปดทอง หลวงพอพุทธชินราช วัดทางขามนอย ๑.๓ ขอบเขตในการศึกษา ๑. ขอบเขตดานเนื้อหา ๑.๑ ศึกษาความเชื่อของประชาชนท่ีมีตอประเพณีปดทอง หลวงพอพระพุทธชินราช ๒. ขอบเขตดานประชากรและกลุมตัวอยาง ๒.๑ ผูเขารวมกิจกรรมปดทองหลวงพอพุทธชินราช ๒.๒ คณะกรรมการวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๓. ขอบเขตดานระยะเวลาและสถานท่ี ๓.๑ เดือนมีนาคม ๒๕๕๖ ณ วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑.๔ ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ ๑. ทําใหทราบถึงความเชื่อ ความศรัทธาของประชาชนท่ีมีตอการปดทองหลวงพอ พุทธชินราช วัดทางขามนอย ๒. เพ่ือใหประเพณีการปดทองพระพุทธชินราชไดมีการสืบทอดตอไป และไมสูญหาย ๓. เพ่ือเผยแพรประเพณีปดทองพระพุทธชินราชในระดับทองถ่ินและในระดับประเทศ ๑.๕ นิยามศัพท ๑. ความเชื่อ หมายถึง ความศรัทธา ความเคารพท่ีมีตอหลวงพอพุทธชินราช ๒. ประเพณี หมายถึง แบบความเชื่อ ความคิด การกระทําระเบียบแบบแผน และวิธีการกระทําสิ่งตาง ๆ ตลอดจนการประกอบพิธีกรรมท่ีกระทําของคนในอดีต ท่ีถือกันเปนธรรมเนียมสืบตอกันมา ๓. ประชาชน หมายถึง ประชาชนท่ีเขามารวมงานปดทองหลวงพอพุทธชินราช วัดทางขามนอย

๑.๖ แผนปฏิบัติการ

กระบวนการ ระยะเวลา ผลที่คาดวาจะไดรับ

๑. ประสานกับคณะกรรมการวัดในการเก็บขอมูล

มีนาคม ๒๕๕๖ - ทางวัดไดรับทราบถึงวัตถุประสงคในการเก็บขอมูล

๒. รวมกับวัดนําพวงมโหตร ไปประดับ ณ ศาลาท่ีจําหนาย ดอกไม ธูปเทียน

มีนาคม ๒๕๕๖ - ทางวัดมีพวงมโหตรประดับงานและเปนการสืบสาน วัฒนธรรมรวมท้ังภูมิปญญาทองถ่ิน

๓. ไปรวมพิธีบวงสรวง พระพุทธชินราช

มีนาคม ๒๕๕๖ - ไดทราบถึงข้ันตอนพิธีกรรมท่ีเปนประเพณีสืบตอกันมา

๔. สอบถามถึงประชาชนเก่ียวกับความเชื่อ พระพุทธชินราช

มีนาคม ๒๕๕๖ - ไดทราบถึงความเชื่อของประชาชนท่ีมารวมงานปดทองพระพุทธชินราช

๕. นําขอมูลท่ีไดมาสังเคราะห เมษายน – พฤษภาคม ๒๕๕๖ - ไดองคความรูเก่ียวกับความเชื่อ

๖. สรุปเลนงานวิจัย มิถุนายน – กรกฎาคม ๒๕๕๖ - การสืบสานประเพณีทองถ่ิน - เอกสารวิจัยเผยแพร

บทท่ี ๒ แนวคิดและทฤษฎีท่ีเก่ียวของ

๒.๑ ประวัติของตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

การตั้งถิ่นฐานของตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑. บานหัวไทร หมูท่ี ๑ ตําบลหัวไทร (วิชัย พงษโหมดและบุญมา พงษโหมด, ๒๕๔๗ :

๕๘ – ๕๙) ประวัติความเปนมาของบานหัวไทร ซ่ึงหมูบานไดจากตนไทร เปนพืชท่ีข้ึนปกคลุมอยู

สภาพพ้ืนท่ีเปนท่ีดอน อยูฝงทิศตะวันออกของแมน้ําบางปะกง ในอดีตเปนปาเคยตั้งเปนอําเภอหัวไทร หมูบานนี้ตั้งข้ึนเม่ือ พ.ศ.๒๔๓๘ หรือประมาณ ๑๐๖ ป คนกลุมแรกท่ีเขามาอยูไดอพยพมาจาก บานพระตะบอง บานบางคางคาว และคุงกราง จํานวนประชากรในพ้ืนท่ีมีไมมาก ดังนั้นในป พ.ศ.๒๔๔๗ สมเด็จพระบรมวงศเธอกรมพระยาดํารงราชานุภาพ ซ่ึงเปนเสนาบดีกระทรวงมหาดไทย พิจารณาเห็นวาจํานวนราษฎรและขาราชการมีนอย จึงไดกราบบังคมทูล ประกาศยุบอําเภอหัวไทร เม่ือวันท่ี ๑ เมษายน พ.ศ.๒๔๔๗ ๒. บานกลวย หมูท่ี ๒ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานกลวย ในอดีตมีสภาพเปนปากกและแหลงน้ําธรรมชาติอุดมสมบูรณดวยสัตวน้ําประเภทปลาและกุง ประชาชนสวนใหญประกอบอาชีพทํานา ทําสวนเสนทางคมนาคมท่ีสําคัญ คือ การคมนาคมทางน้ํา โดยใชเรือเปนพาหนะ ผานแมน้ําบางปะกง เม่ือมีจํานวนประชากรเพ่ิมมากข้ึน การถางปา ยกเปนรองสวน ปลูกผักและพืชลมลุก จึงมีเพ่ิมข้ึนดวย การคมนาคมทางน้ําไดเปลี่ยนเปนการใชเสนทางคมนาคมทางบก ๓. บานคูมอญ หมูท่ี ๓ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานคูมอญ ชื่อหมูบานไดมาจากพ้ืนท่ีนี้มีกลุมคนเชื้อสายมอญพายเรือนําโองมาขายเปนจํานวนมาก จึงเรียกละแวกบานนี้วา บานคูมอญ

๔. บานทางขามนอย หมูท่ี ๔ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของหมูบานทางขามนอยเริ่มกอตั้งเม่ือประมาณ ๑๘๐ ปมาแลว

คุณลุงจาย วิมลภักตร อายุ ๘๘ ป ปจจุบันอยูบานเลขท่ี ๘๗ หมูท่ี ๔ บานทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดเลาใหฟงวา หมูบานทางขามนอย ไดเริ่มกอตั้งเม่ือประมาณ ๑๘๐ ปมาแลว คนกลุมแรกท่ีเขามาเริ่มกอตั้งหมูบานไดอพยพมาจากตําบลปากน้ํา อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา คือ นายยอดและนางแวน วิมลภักตร กับ นางเจง งามเจริญ สาเหตุท่ีอพยพมาเนื่องจาก บริเวณนี้มีพ้ืนท่ีวางเปลาอยูเปนจํานวนมาก ซ่ึงในอดีตนั้นหมูบานทางขามนอย มีลักษณะพ้ืนท่ีสวนใหญเปนพ้ืนท่ีราบลุมและบางแหงเปนท่ีดอน และมีชางอาศัยอยูเปนจํานวนมาก มีหญาเนาลอยอยูมาก ซ่ึงจะเปนบริเวณสําหรับชางขามไปอีกฝงหนึ่ง ซ่ึงอีกฝงหนึ่งจะมีลักษณะเปนดอ น ชาง จะขามไปเพ่ือหาอาหารกิน แตชางจะขามผานทางหมูบานนอยมาก เชน มีชาง ๑๐ ตัว จะผานสักประมาณ ๓ ตัว และชางจะผานไมบอยนัก เชน ๑๐ วัน จะผานสัก ๒ วัน เดิมเรียกวา ทางชาง ขามนอย แตตอมาชางไดอพยพไปอยูท่ีอ่ืน และหมดไปจากหมูบาน จึงเปลี่ยนมาเรียก หมูบาน ทางขามนอย สภาพทางภูมิศาสตรของหมูบานนี้ กอนจะตั้งหมูบานเปนพ้ืนท่ีราบลุม สวนใหญเปนท่ีราบลุม และบางแหงเปนท่ีดอน และมีปาขโมง ปาอีเหม็นอยูเปนจํานวนมาก ปจจุบันปาไดหมดไปแลว

เนื่องจากประชาชนในหมูบาน ไดใชเปนท่ีทําการเกษตร เชน ทํานา ทําสวน สวนหนองน้ําในหมูบานทางขามนอย ยังมีเหลืออยู คือ หนองสองหอง หนองกระเดือย อาชีพครั้งแรกของราษฎรท่ีอพยพมาอยูในหมูบาน คือ อาชีพทํานา รับจางทํานาและเลี้ยงควาย ราษฎรมีการเปลี่ยนแปลงอาชีพ อาชีพเดิมท่ีเลิกทําไปแลว คือ รับจางทํานา และเลี้ยงควาย เลิกไปเพราะ มีเครื่องมือท่ีทันสมัยและรวดเร็วกวาแรงงานคนและแรงงานควาย โดยเม่ือ พ.ศ.๒๕๓๓ มีอาชีพท่ีเกิดข้ึนใหม คือ อาชีพเลี้ยงกุงกุลาดํา เลี้ยงปลา ทําสวนมะมวง รับจางโรงงานอุตสาหกรรม สานหมวกพลาสติก มีการเปลี่ยนแปลงดานสาธารณูปโภค คือ ถนนเม่ือเริ่มกอตั้งหมูบานมีสภาพเปนถนนแบบทางดิน และพัฒนาเปนถนนลูกรังประมาณ ๓,๐๐๐ เมตร เม่ือป พ.ศ.๒๕๒๔ เปนถนนลาดยาง ประมาณ ๑๔,๐๐๐ เมตร เม่ือป พ.ศ.๒๕๓๗ ซ่ึงรวมท้ังหมดถนนในหมูบาน ยาว ๑๗,๐๐๐ เมตร ไฟฟาเขาหมูบาน เม่ือ พ.ศ.๒๕๒๖ (วรัชยา บุญเพ็ง, ๒๕๔๕: การประเมิน โครงการกองทุนหมูบาน หมูที่ ๔)

๕. บานน้ําฉา หมูท่ี ๕ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานน้ําฉา ชื่อของหมูบานไดมาจากลักษณะภูมิประเทศใน

อดีตประชาชนในพ้ืนท่ีนี้ประกอบอาชีพทํานา เม่ือถึงหนาน้ําหลากหรือน้ําทวม น้ําท่ีไหลผานไดทวม ตนขาวมองเปนลักษณะสีชา จึงเรียกหมูบานนี้วา บานน้ําชา ตอมาไดเพ้ียนมาเปนบานน้ําฉา กลุมคนท่ีกอตั้งหมูบานเปนกลุมคนท่ีอาศัยอยูท่ีนี่มาแตเดิม

๖. บานลาดบัวขาว หมูท่ี ๖ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานลาดบัวขาว คุณสํารวย ไมสวัสดี ไดใหขอมูลวา จากคํา

บอกเลาของคุณปู คุณทวด หมูบานนี้กอตั้งข้ึน เม่ือพ.ศ.๒๔๓๐ หรือประมาณ ๑๑๔ ป คนกลุมแรกท่ีเขามา คือ คุณตาจั่น คุณยายพลอย เอ่ียมพิพัฒน คุณตาครุฑ คุณยายพุม งามประยูร คุณตาสุด ไพรเถ่ือน คุณตาสมหวัง คงคาชะนะ และตระกูลกลัดเจ็ด โดยอพยพมาจากบานกลวยและบานคูมอญ สาเหตุของการอพยพคาดวาจํานวนประชากรมากข้ึน พ้ืนท่ีทํากินไมพอเพียง จึงไดอพยพมาท่ีนี่ซ่ึงมีสภาพเปนปาท่ีอุดมสมบูรณ สาเหตุท่ีเรียก บานลาดบัวขาว เนื่องจากหนาวัดมีดอกบัวหลวงสีขาวข้ึนเปนจํานวนมาก พระครูท่ีวัดลาดบัวขาวจึงไดนําชื่อดอกบัวขาวไปตั้งชื่อวัดและหมูบาน

๗. บานลาดโคก หมูท่ี ๗ ตําบลหัวไทร ประวัติความเปนมาของบานลาดโคก หมูบานนี้เดิมอยูรวมกับเขตพ้ืนท่ีบานกลวย

หมูท่ี ๒ เม่ือมีจํานวนประชากรหนาแนนจึงไดแยกเขตการปกครองออกมาเปนหมูท่ี ๗ ชื่อของหมูบานเรียกตามลักษณะภูมิประเทศท่ีเปนท่ีลาดยาวสลับกับเนินและโคก เรียกวา บานลาดโคก ในอดีตเปนปากก ปาจาก และหนองน้ํา อุดมสมบูรณดวยสัตวน้ํา ประชาชนประกอบอาชีพทํานา ทําสวน เสนทางคมนาคมท่ีสําคัญ คือ การคมนาคมทางน้ําใชเรือเปนพาหนะในการติดตอและคาขาย โดยผานแมน้ําบางปะกง ตอมาไดมีการพัฒนาพ้ืนท่ีตัดเสนทางคมนาคมทางบกเขามาถึงหมูบาน

สภาพท่ัวไปและขอมูลพ้ืนฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร

๑. สภาพทั่วไป ๑.๑ ลักษณะท่ีตั้ง

องคการบริหารสวนตําบลหัวไทร เปนองคกรปกครองสวนทองถ่ิน ตั้งอยูเลขท่ี ๙๙ หมูท่ี ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา อยูทางทิศเหนือของอําเภอบางคลา อยูหางจากอําเภอบางคลาประมาณ ๑๓ กิโลเมตร มีเนื้อท่ีรวม ๔๖ .๑๒ ตารางกิโลเมตร หรือ

๒๘,๘๒๕ ไร ซ่ึงเปนตําบลท่ีมีเนื้อท่ีมากเปนอันดับหนึ่งของอําเภอบางคลา คือรอยละ ๑๓.๐๙ ของพ้ืนท่ีท้ังหมดของอําเภอบางคลา องคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ไดรับการยกฐานะเปนองคการบริหารสวนตําบลและมีฐานะเปนนิติบุคคลและเปนราชการบริหารสวนทองถ่ิน ตามพระราชบัญญัติสภาตําบล และองคการบริหารสวนตําบล พ.ศ. ๒๕๓๗ ตามประกาศกระทรวงมหาดไทย เม่ือวันท่ี ๒๘ เมษายน พ.ศ.๒๕๓๙ โดยมี นายประจักษ เอ่ียมศิริ กํานันตําบลหัวไทร เปนประธานกรรมการบริหาร (โดยตําแหนง) คนแรกและไดเปลี่ยนชื่อเรียกตําแหนงวานายกองคการบริหารสวนตําบลในเวลาตอมา

๑.๒ อาณาเขตติดตอ ทิศเหนือ ติดตอกับ หมูท่ี ๑, ๘ ตําบลบางกระเจ็ด ทิศใต ติดตอกับ หมูท่ี ๗, ๑๒ ตําบลปากน้ํา ทิศตะวันออก ติดตอกับ หมูท่ี ๑๐ ตําบลดงนอย อําเภอราชสาสน ทิศตะวันตก ติดตอกับ แมน้ําบางปะกงและก่ิงอําเภอคลองเข่ือน

๑.๓ ลักษณะภูมิประเทศ สภาพโดยท่ัวไปพ้ืนท่ีเปนท่ีราบลุม มีคลองสงน้ําเล็ก ๆ ท้ังท่ีเกิดเองตามธรรมชาติและท่ีขุดโดยกรมชลประทาน เพ่ือนําน้ําไปใชในการประกอบการเกษตรและบริโภค

๑.๔ ลักษณะภูมิอากาศ ฤดูรอน ระหวางเดือนกุมภาพันธ – เดือนพฤษภาคม มีอากาศรอนถึงรอนจัด ฤดูฝน ระหวางเดือนมิถุนายน – เดือนตุลาคม ฤดูหนาว ระหวางเดือนพฤศจิกายน – เดือนมกราคม

๑.๕ จํานวนหมูบาน แบงพ้ืนท่ีการปกครองออกเปน ๗ หมูบาน ดังนี้

หมูท่ี ๑ บานหัวไทร มีนายปราโมทย วัฒนานนท เปนผูใหญบาน หมูท่ี ๒ บานกลวย มีนางสมจิตร ไพรเถ่ือน เปนผูใหญบาน หมูท่ี ๓ บานคูมอญ มีนายชํานาญ บํารุงสาลี เปนกํานัน หมูท่ี ๔ บานทางขามนอย มีนายสุรพล โกศาสตร เปนผูใหญบาน หมูท่ี ๕ บานน้ําฉา มีนางวรวรรณ โสภา เปนผูใหญบาน หมูท่ี ๖ บานลาดบัวขาว มีนายเกรียงศักดิ์ ถาวรบูรณทรัพย เปนผูใหญบาน หมูท่ี ๗ บานลาดโคก มีนายสัมฤทธิ์ สุกใส เปนผูใหญบาน

๑.๖ ประชากร มีประชากรท้ังสิ้น ๖ ,๓๘๕ คน แยกเปนชาย ๓ ,๐๗๔ คน เปนหญิง ๓ ,๓๑๑ คน มีจํานวนครัวเรือน ๒,๐๐๑ ครัวเรือน มีความหนาแนนของประชากรโดยเฉลี่ย ๑๓๘.๔๔ คน / ตารางกิโลเมตร ดังตารางตอไปนี้

หมูท่ี ราษฎร

จํานวนครัวเรือน ชาย หญิง รวม

ทะเบียนกลาง

๖๑๘

๓๘๖

๕๐๕

๔๓๕

๒๖๕

๔๔๘

๓๑๖

๑๐๑

๗๐๐

๔๑๑

๕๓๗

๔๗๐

๒๙๐

๕๐๖

๓๑๙

๗๘

๑,๓๑๘

๗๙๗

๑,๐๔๒

๙๐๕

๕๕๕

๙๕๔

๖๓๕

๑๗๙

๕๖๕

๒๒๒

๓๑๐

๒๙๑

๑๓๘

๒๘๑

๑๙๓

รวม ๓,๐๗๔ ๓,๓๑๑ ๖,๓๘๕ ๒,๐๐๑

ท่ีมา: สํานักทะเบียนอําเภอบางคลา (ขอมูล ณ เดือน ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๔)

๒. ลักษณะโครงสรางพ้ืนฐานขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ๒.๑ การคมนาคม การจราจร

ถนนท่ีใชในการคมนาคมและสัญจรระหวางหมูบานตาง ๆ ในตําบลหัวไทร สวนใหญ มีสภาพเปนถนนลูกรัง มีระดับพ้ืนถนนต่ํา เม่ือถึงฤดูฝนทําใหน้ําทวมขังในทองถนน พ้ืนท่ีในเขตองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร มีถนนลาดยางและถนนคอนกรีตเสริมเหล็กท่ีมีความสําคัญและเปนสายหลักในการคมนาคมขนสง และสัญจรระหวางหมูบานและตําบลใกลเคียงดังตอไปนี้

ถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จํานวน ๖ สาย รวมระยะทางยาวประมาณ ๓,๕๒๖ เมตร ถนนลาดยาง จํานวน ๘ สาย รวมระยะทางยาวประมาณ ๘,๐๘๐ เมตร ถนนลูกรัง จํานวน ๓๙ สาย รวมระยะทางยาวประมาณ ๕,๘๙๒ เมตร

๒.๒ ไฟฟา จํานวนหมูบานท่ีไฟฟาเขาถึง จํานวน ๗ หมูบาน จํานวนประชากรท่ีใชไฟฟา คิดเปนรอยละ ๙๘

๒.๓ การประปา ประปาหมูบาน จํานวน ๓ หมูบาน คือ หมูท่ี ๑ หมูท่ี ๓ และหมูท่ี ๗ ประปาสวนภูมิภาค จํานวน ๖ หมูบาน คือ หมูท่ี ๑ หมูท่ี ๒ หมูท่ี ๓

หมูท่ี ๔ หมูท่ี ๖ และหมูท่ี ๗ ไมมีประปาใช จํานวน ๑ หมูบาน คือ หมูท่ี ๕

๒.๔ การโทรคมนาคม โทรศัพทสาธารณะ จํานวน ๕ หมูบาน คือ หมูท่ี ๑ หมูท่ี ๓ หมูท่ี ๔ หมูท่ี ๖

และหมูท่ี ๗ โทรศัพทบาน จํานวน ๖ หมูบาน คือ หมูท่ี ๑ หมูท่ี ๒ หมูท่ี ๓ หมูท่ี ๔ หมูท่ี ๖

และหมูท่ี ๗

๓. ดานเศรษฐกิจ ๓.๑ การเกษตร

หมูท่ี

พ้ืนท่ีทําการเกษตร

ครัวเรือนเกษตรกร (ครัวเรือน)

พ้ืนท่ีการเกษตร

ทํานา

(ไร)

ทําสวน

(ไร)

เล้ียงกุง

(ไร)

เล้ียงปลา

(ไร)

เล้ียงวัว

(ตัว)

เล้ียงสุกร

(ตัว)

เล้ียงไก (ตัว)

เล้ียงเปด

(ตัว)

๑ ๔,๔๓๑ ๑๑๖ ๖๑๐ ๑,๗๘๖ ๖๓๘ ๖๓๐ ๑๒๐ ๐ ๔๐๕ ๑๒,๐๐๐

๒ ๒,๕๓๔ ๑๓๙ ๑๐๘ ๗๔๖ ๗๗๙ ๔๖๕ ๐ ๐ ๒๐๐ ๐

๓ ๓,๒๓๕ ๑๒๙ ๒๐๔ ๕๕๖ ๑,๔๕๐ ๖๔๐ ๖๐ ๕๐๐ ๓๖๖ ๐

๔ ๕,๓๙๕ ๑๒๔ ๓,๓๐๘ ๑๕๐ ๓๗๐ ๖๕ ๑๑๖ ๐ ๑๗๐ ๐

๕ ๔,๕๖๐ ๗๔ ๒,๙๒๐ ๖๒ ๔๐๘ ๒๕๐ ๑๗๐ ๐ ๖๐ ๐

๖ ๓,๗๕๙ ๑๓๑ ๓๑๐ ๒๐๒ ๑,๗๕๐ ๘๒๐ ๔๙ ๐ ๙๔ ๐

๗ ๑,๑๓๖ ๑๐๐ ๐ ๕๑๗ ๔๙๙ ๒๘๐ ๖๕ ๐ ๑๒๐ ๐

รวม ๒๕,๐๕๐ ๘๑๓ ๗,๔๖๐ ๔,๐๑๙ ๕,๘๙๔ ๓,๑๕๐ ๕๖๒ ๕๐๐ ๑,๔๑๕ ๑๒,๐๐๐

(ขอมูล ณ ๑ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๕๔) ๓.๒ การอุตสาหกรรม

ในเขตพ้ืนท่ีตําบลหัวไทร มีโรงงานอุตสาหกรรมในพ้ืนท่ี จํานวน ๑ แหง คือ โรงงานฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกร ของกรมปศุสัตว ซ่ึงเปนโรงงานฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกรท่ีมีเครื่องจักรกลและวัสดุอุปกรณท่ีใชเทคโนโลยีสมัยใหมท่ีมีความทันสมัยไดมาตรฐานสากลเปนท่ียอมรับของประเทศ ผูนําเขาเนื้อสุกรในตางประเทศ อีกท้ังเปนโรงงานฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกรท่ีมีขนาดใหญท่ีสุดในประเทศไทย

หนวยธุรกิจในเขตองคการบริหารสวนตําบล ปมน้ํามันและกาซ จํานวน ๕ แหง โรงงานอุตสาหกรรม จํานวน ๑ แหง

โรงสี จํานวน ๑ แหง

๔. ดานสังคม ๔.๑ การศึกษา สถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษา จํานวน ๑ แหง

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ฉะเชิงเทรา (บางคลา)

โรงเรียนระดับประถมศึกษา จํานวน ๔ แหง โรงเรียนวัดหัวไทร หมูท่ี ๑

- ครู จํานวน ๑๒ คน - นักเรียน จํานวน ๑๒๒ คน

โรงเรียนวัดคูมอญ หมูท่ี ๓ - ครู จํานวน ๖ คน - นักเรียน จํานวน ๘๒ คน

โรงเรียนวัดทางขามนอย หมูท่ี ๔ - ครู จํานวน ๗ คน - นักเรียน จํานวน ๘๒ คน

โรงเรียนวัดลาดบัวขาว หมูท่ี ๖ - ครู จํานวน ๕ คน - นักเรียน จํานวน ๕๖ คน

โรงเรียนระดับมัธยมศึกษา จํานวน ๑ แหง โรงเรียนวัดเปยมนิโครธาราม หมูท่ี ๑

- ครู จํานวน ๒๕ คน - นักเรียน จํานวน ๓๔๑ คน

ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก จํานวน ๔ แหง ๑. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหัวไทร หมูท่ี ๑

- ครู จํานวน ๒ คน - นักเรียน จํานวน ๓๐ คน

๒. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนวัดคูมอญ หมูท่ี ๓ - ครู จํานวน ๒ คน - นักเรียน จํานวน ๒๐ คน

๓. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กโรงเรียนวัดทางขามนอย หมูท่ี ๔ - ครู จํานวน ๑ คน - นักเรียน จํานวน ๒๐ คน

๑๐

๔. ศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานลาดบัวขาว หมูท่ี ๖ - ครู จํานวน ๒ คน - นักเรียน จํานวน ๓๐ คน

๔.๒ การสาธารณสุข โรงพยาบาลสงเสริมสุขภาพตําบลหัวไทร จํานวน ๑ แหง รานขายยาแผนปจจุบัน จํานวน ๒ แหง

๔.๓ การรักษาความสงบเรียบรอย สถานีตํารวจชุมชน จํานวน ๑ แหง ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย จํานวน ๑ แหง

๕. ดานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม บอน้ําตื้น จํานวน ๑๘ บอ สระน้ํา จํานวน ๑ บอ คลองธรรมชาติ จํานวน ๑๗ สาย

๖. การเมืองการบริหาร ๖.๑ ศักยภาพขององคการบริหารสวนตําบล

๖.๑.๑ บุคลากร จํานวน ๓๔ คน สํานักงานปลัด จํานวน ๑๐ คน

น.ส.กัญญารัตน กิจนุกูล ตําแหนง ปลัดองคการบริหารสวนตําบล นางดวงรัตน นิลนนท ตําแหนง หัวหนาสํานักงานปลัดฯ นางสาวสุพิชญากรณ แกวพิจิตร ตําแหนง บุคลากร ๕ นายไพบูลย กองเกิด ตําแหนง นิติกร ๕ นายคงฤทธิ์ จันทรฟู ตําแหนง เจาหนาท่ีวิเคราะหนโยบายและแผน ๔ น.ส.ลมัย ฆารไสว ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ ๒ นางทัศวรรณ พลัดอยู ตําแหนง ผูชวยเจาหนาท่ีธุรการ นางสาวเรณู กรมถิน ตําแหนง ภารโรง นายอมรศักดิ์ วิกรานตกุล ตําแหนง พนักงานขับรถยนต นายพยับ เกตุแกว ตําแหนง พนักงานขับรถยนต

สวนการคลัง จํานวน ๕ คน นางกําไร สุขุมาลย ตําแหนง หัวหนาสวนการคลัง นางสาวศิริพร ขําเจริญ ตําแหนง นักวิชาการเงินและบัญชี ๕ นางสาวกมลพรรณ ดํารงสุสกุล ตําแหนง นักวิชาการจัดเก็บรายได ๕ นายเชาวลิต ศรีสมบัติ ตําแหนง เจาหนาท่ีการเงินและบัญชี นางวิไลวรรณ สันทา ตําแหนง ผูชวยเจาหนาท่ีการเงินและบัญชี

๑๑

สวนโยธา จํานวน ๓ คน นายธนพล พุทธวิเศษสรรค ตําแหนง หัวหนาสวนโยธา นายสรพงษ โหมลา ตําแหนง นายชางโยธา ๕ นายประสาท พานิช ตําแหนง ผูชวยชางโยธา

สวนการศึกษาฯ จํานวน ๙ คน นางสาวจุฑานุช พุมอรุณ ตําแหนง นักพัฒนาชุมชน ๔ นางสาววิลาสินี สุวะศรี ตําแหนง นักวิชาการศึกษา ๓ นางอัญจนา รัตนสินธุ ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กศูนยพัฒนาเด็กเล็กบานหัวไทร นางสุชาดา มณฑาประเสริฐ ตําแหนง ผูชวยหัวหนาศูนยพัฒนาเด็กเล็ก นางวาสนา บํารุงสุข ตําแหนง ครูผูดูแลเด็ก นางบังอร ทัดละมัย ตําแหนง ครูผูดูแลเด็ก นางสาวนุชนาฏ ไสลจักร ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กฯ นางสุดา ถาวรบูรณทรัพย ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กฯ นางสาวลัดดาวัลย จันทรไพร ตําแหนง ครูผูดูแลเด็กอนุบาลและปฐมวัย

สวนสงเสริมการเกษตร จํานวน ๒ คน นายเฉลิมชัย คงรัตน ตําแหนง ผูชวยเจาหนาท่ีธุรการ นายวินัย เกตุแกว ตําแหนง คนสวน

สวนสาธารณสุขฯ จํานวน ๕ คน ๑. นางสาววิไลพร อุมา ตําแหนง ผูชวยเจาหนาท่ีธุรการ ๒. นางสาวสุวรรณา วนะภูติ ตําแหนง เจาพนักงานธุรการ ๓. นายประสงค โสภา ตําแหนง พนักงานขับรถยนต (รถขยะ) ๔. นายวรรฒนะชัย ไทยศรีสงา ตําแหนง คนงานประจํารถขยะ ๕. นายวุฒิไกร โลหคํา ตําแหนง คนงานประจํารถขยะ ๖. นายสงคราม อุมวัง ตําแหนง คนงานประจํารถขยะ

๖.๑.๒ คณะผูบริหาร จํานวน ๔ คน นายประดิษฐ ไกรสร ตําแหนง นายกองคการบริหารสวนตําบล นายวิรัตน สุกใส ตําแหนง รองนายกองคการบริหารสวนตําบล นายประเสริฐ แตงออน ตําแหนง รองนายกองคการบริหารสวนตําบล นายเสรี จันทรเจริญ ตําแหนง เลขานุการนายกฯ

๖.๑.๓ สมาชิกสภาองคการบริหารสวนตําบล จํานวน ๑๔ คน นายประจักษ จันทรมณี สมาชิก อบต. หมูท่ี ๖

ตําแหนง ประธานสภาฯ นายไพบูลย เรืองประเภท สมาชิก อบต. หมูท่ี ๒

ตําแหนง รองประธานสภาฯ

๑๒

นายชัชวาลย ไพรเถ่ือน สมาชิก อบต. หมูท่ี ๖ ตําแหนง เลขานุการสภาฯ

นายบุญลือ พุกสอน สมาชิก อบต. หมูท่ี ๑ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นางเกศยา บุญจันทร สมาชิก อบต. หมูท่ี ๑ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายบุญชาน กลัดเจ็ด สมาชิก อบต. หมูท่ี ๒ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายศักดิ์ชัย ไสลจักร สมาชิก อบต. หมูท่ี ๓ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายจําเนียร รักษาชอบ สมาชิก อบต. หมูท่ี ๓ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายฉัตร พุมนิคม สมาชิก อบต. หมูท่ี ๔ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายมานพ กรมถิน สมาชิก อบต. หมูท่ี ๔ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายชาตรี กรุณา สมาชิก อบต. หมูท่ี ๕ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายมานพ สุรศักดิ์ สมาชิก อบต. หมูท่ี ๕ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

นายทวีศักดิ์ ลอจงเฮง สมาชิก อบต. หมูท่ี ๗ ตําแหนง สมาชิกสภาฯ

๖.๑.๔ หนวยเลือกตั้ง จํานวน ๘ หนวย

๑) หนวยเลือกตั้งท่ี ๑ หอประชุมโรงเรียนวัดหัวไทร หมูท่ี ๑ ๒) หนวยเลือกตั้งท่ี ๒ ศาลาวัดหัวไทร หมูท่ี ๑ ๓) หนวยเลือกตั้งท่ี ๓ อาคารอเนกประสงคบานกลวย หมูท่ี ๒ ๔) หนวยเลือกตั้งท่ี ๔ อาคารโรงเรียนวัดใหมคูมอญ หมูท่ี ๓ ๕) หนวยเลือกตั้งท่ี ๕ อาคารโรงเรียนวัดทางขามนอย หมูท่ี ๔ ๖) หนวยเลือกตั้งท่ี ๖ อาคารอเนกประสงคบานน้ําฉา หมูท่ี ๕ ๗) หนวยเลือกตั้งท่ี ๗ อาคารอเนกประสงคโรงเรียนวัดลาดบัวขาว หมูท่ี ๖ ๘) หนวยเลือกตั้งท่ี ๘ อาคารอเนกประสงคบานลาดโคก หมูท่ี ๗

๑๓

๖.๑.๕ รายไดขององคการบริหารสวนตําบล การบริหารรายจายในปงบประมาณท่ีผานมาเปรียบเทียบยอนหลัง

2ร2ายการ พ.ศ.๒๕๕๐ พ.ศ.๒๕๕๑ พ.ศ.๒๕๕๒ พ.ศ.๒๕๕๓ พ.ศ.๒๕๕๔

รายรับ ๒๐,๖๑๘,๓๙๓.๑๐ ๒๓,๕๙๙,๑๕๗.๖๘ ๒๕,๐๗๒,๐๘๖.๒๖ ๓๔,๖๘๙,๐๐๘.๘๓ ๓๗,๔๙๕,๘๙๒.๒๗

รายจาย ๒๐,๔๙๙,๑๐๘.๐๓ ๑๙,๐๖๙,๑๖๔.๓๒ ๒๒,๘๔๑,๕๖๖.๓๗ ๒๘,๕๒๐,๑๔๒.๑๖ ๒๙,๕๖๗,๔๓๑.๓๗

๖.๒ ศักยภาพของชุมชนและพ้ืนท่ี

ตําบลหัวไทรหากมองศักยภาพในภาพรวมพอท่ีจะสรุปศักยภาพและปจจัยท่ีเก้ือหนุนตอการพัฒนาตําบลในอนาคตได ดังนี้

๑. มีแมน้ําบางปะกงไหลผาน มีคลองเชื่อมหมูบานตาง ๆ เกือบทุกหมูบาน ซ่ึงแมน้ํา ดังกลาวสามารถใชเปนน้ําเพ่ือการอุปโภค บริโภค และน้ําเพ่ือการเกษตรได

๒. เกษตรกรในตําบลหัวไทร เปนผูมีความมัธยัสถ และเปนผูมีความรู ความสามารถ และยอมรับในเทคโนโลยีสมัยใหม ประชาชนสวนใหญมีฐานะปานกลางจึงทําใหสามารถสงบุตรหลานศึกษาตอในระดับท่ีสูงข้ึนจนถึงระดับอุดมศึกษา

๓. มีโรงฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกร ซ่ึงเปนโรงงานอุตสาหกรรมท่ีมีขนาดใหญท่ีสุด ในประเทศไทยและมีเครื่องจักรกลและวัสดุอุปกรณท่ีใชเทคโนโลยีสมัยใหมท่ีมีความทันสมัยไดมาตรฐานสากลทัดเทียมนานาชาติ ตั้งอยูในเขตพ้ืนท่ี ซ่ึงหากเปดดําเนินการอยางเปนทางการจะทําใหตําบลมีรายไดจากการจัดเก็บภาษีอากร คาธรรมเนียมและใบอนุญาตตาง ๆ เปนจํานวนมาก อีกท้ังรัฐบาลมีนโยบายท่ีจะพัฒนาเสนทางคมนาคมใหดีข้ึน เพ่ือใชในการขนสงสินคาและผลิตภัณฑจาก โรงฆาและแปรรูปผลิตภัณฑสุกรไปยังตางประเทศ

๔. มีสถาบันการศึกษาในระดับอุดมศึกษา คือ มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร (บางคลา ) ตั้งอยูในพ้ืนท่ี เปนการขยายโอกาสทางการศึกษาและเปดกวางแกเยาวชนในตําบล ท่ีจะไดรับการพัฒนาทางดานการศึกษาและมีโอกาสทางการศึกษาเพ่ิมข้ึน

๕. ในอนาคตกรมราชทัณฑ มีนโยบายจะยายเรือนจํากลางจังหวัดฉะเชิงเทราออกไป อยูในพ้ืนท่ีแหงใหมนอกชุมชนเมือง โดยขอใชท่ีดินสาธารณประโยชนของตําบลหัวไทร เพ่ือกอสรางเรือนจํากลาง ซ่ึงจะทําใหประชาชนไดรับประโยชนในดานคมนาคม สาธารณูปโภค และความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของประชาชน

ดวยเหตุผลดังกลาวขางตน จะเห็นไดวาตําบลหัวไทรไดรับประโยชนในหลาย ๆ ดาน พรอมกัน และมีรายไดจํานวนมากท่ีจะนํามาพัฒนาทองถ่ินใหเจริญและกาวหนาตอไปในอนาคต อีกท้ังจะเปนการเพ่ิมรายได และขยายโอกาสทางการผลิต การตลาด การจัดหางาน พรอมท้ังยกระดับคุณภาพชีวิตความเปนอยูของประชาชนในตําบลใหดีข้ึนตอไป

๑๔

๒.๒ ประวัติวัดทางขามนอย วัดทางขามนอย ปจจุบันตั้งอยูในหมูท่ี ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

มีความเปนมาดังนี้ (บัณฑูรย บุญประเสริฐ : ๒๕๕๓) เนื่องดวยมีพระธุดงค ๓ รูป คือ พระกลั่น พระเทียน และพระหมก ไดเดินธุดงคจากจังหวัด

นครราชสีมา จนกระท่ังถึงหมูบานทางขามนอย (ท่ีชื่อหมูบานทางขามนอยเนื่องจากบริเวณหมูบานแตดั้งเดิมเปนปาไมและมีลําธารท่ีมีน้ําไหลผาน สัตวตาง ๆ พากันเดินขามลําธารท่ีเปนทางเดินของสัตว จากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่งซ่ึงเปนทางเล็ก ๆ และตื้นเขิน โดยสัตวตาง ๆ ใชขามไปมา ปจจุบันก็คือบริเวณขางวัด และไดเปลี่ยนมาเปนคลองคูมอญ) ตอจากนั้นราษฎรก็ไดนิมนตพระท้ัง ๓ รูป ใหอยูประจําในหมูบาน และไดปรึกษากันท่ีจะสรางสํานักสงฆข้ึน โดยมีนายเกิด นางแหรม ราษฎรในหมูบานไดยกท่ีดินใหเปนสํานักสงฆจํานวน ๑๒ ไรเศษ และไดยกบานให จํานวน ๓ หลัง เพ่ือใชเปนกุฏิ และไดเปนสํานักสงฆในปใดไมปรากฏ ตอมามีการกอสรางเพ่ิมเติมและไดยกฐานะเปนวัด เม่ือป พ.ศ. ๒๔๒๔ โดยใชชื่อวา วัดศรีวิไลราษฎรศรัทธาธรรมขามนอย อําเภอหัวไทร (ปจจุบันเปลี่ยนมาเปนอําเภอบางคลา) จังหวัดฉะเชิงเทรา

ตอจากนั้นก็มีการสรางพระอุโบสถ ในป พ.ศ.๒๔๖๔ แตก็ไมมีพระประธาน ในพระอุโบสถ นายขํา นายกุล และนายจี๊ด ราษฎรในหมูบานไดเดินทางไปจังหวัดพิษณุโลก เพ่ือไปนมัสการหลวงพอพระพุทธชินราช และไดหาชางมาทําแบบจําลองหลอหลวงพอพุทธชินราชข้ึนเพ่ือประดิษฐานในพระอุโบสถ (หลังเดิม) และไดมีการจัดงานเฉลิมฉลองใหหลวงพอปละ ๒ ครั้ง ตลอดมา คือ ๑. งานประเพณีแหหลวงพอพุทธชินราช คือวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ หลังออกพรรษา ๑ วัน ในสมัยกอนจะนําหลวงพอพุทธชินราชจําลอง แหทางน้ําไปตามลําคลองตาง ๆ ออกสูแมน้ําบางปะกง เพ่ือใหประชาชนไดปดทองและสักการบูชา ซ่ึงปจจุบันมีถนน แมน้ําลําคลองจึงไมมีการสัญจรไปมาจึงเปลี่ยนมาแหทางบกโดยใชรถเปนขบวนแห ราษฎรไดปฏิบัติกันเปนประจําทุกปเม่ือถึงวันนี้

๑๕

๒. ประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ซ่ึงถือเปนงานประจําป เปนการสมโภชองคหลวงพอในเดือนท่ีมีการสรางหลวงพอข้ึน โดยจัดงานใหหลวงพอ ๒ วัน คือ ข้ึน ๑๒ คํ่า และข้ึน ๑๓ คํ่า เดือน ๔ เพ่ือใหประชาชนในหมูบานและประชาชนท่ีมาจากตางถ่ิน ไดปดทอง กราบไหว สักการบูชา

การจัดงานปละ ๒ ครั้ง ทางคณะกรรมการวัดจะตองจัดลิเกมาแสดงใหหลวงพอ ซ่ึงมีการปฏิบัติสืบตอกันมา เนื่องจากหลวงพอพุทธชินราชเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนไดมาบนบานตอหลวงพอในเรื่องตาง ๆ ปรากฏวาประสบความสําเร็จ จึงนําลิเกมาแสดง มารําถวาย เปนประจําปใดไมจัดงานซ่ึงเคยมีมา จะเกิดอาเพศตาง ๆ ในหมูบาน

- การสืบสานประเพณีทองถิ่น คําวา ทองถ่ิน หมายถึง พ้ืนท่ีและขอบเขตท่ีชุมชนหมูบาน เมือง มีการปะทะสรรคกันทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม จนปรากฏรูปแบบ ทางวัฒนธรรมท่ีเหมือนกันและแตกตางกันไปจากชุมชน หมูบาน และเมือง ในทองถ่ินซ่ึงจะพบวา วัฒนธรรมและประเพณี ของทองถ่ินแตละแหงอาจมีรูปแบบแตกตางกันไปตามสภาพภูมิศาสตร ศาสนา และความเชื่อ ในภาคกลาง สภาพภูมิศาสตร สามารถแบงวัฒนธรรมออกเปน ๓ ลักษณะ คือ

๑๖

๑. ทองถ่ินท่ีตั้งอยูสองฟากฝง แมน้ํา ใชเสนทางน้ําในการไปมาหาสู ซ้ือขายสั่งของ เครื่องอุปโภคบริโภคกัน ทองถ่ินดังกลาว เชนนี้ คือทองถ่ินรุนเกาท่ีสุด ๒. ทองถ่ินท่ีตั้งอยูตามทองทุง ตามท่ีราบ ซ่ึงในภาคกลางมักเปนพ้ืนท่ีอันกวางใหญ และมีชาวนามาตั้งบานเรือนหลายหมูบานเขามาทํานาในท่ีราบลุมแหงนี้ บางแหงนี้เปนทุงราบไมกวางใหญ ก็มีทองถ่ินเดียว โดยมีหนองน้ําเปนแหลงอุปโภคบริโภค การติดตอสื่อสารสวนใหญ ใชเสนทางน้ํา เชน คู คลอง มีเรือแลน เปนตน ๓. ทองถ่ินท่ีอยูหางจากทองทุง เปนพ้ืนท่ีดอนและไกลจากชุมชนมักเรียกวา “บานปา” ดานการเปลี่ยนแปลงทองถ่ินท่ีอยูกลางทุงจะเปลี่ยนเขาสูระบบเศรษฐกิจใหม เพ่ือการคา เชนเดียวกับชุมชนริมน้ํา เม่ือกลาวถึง วัฒนธรรมทองถ่ินภาคกลางแลวจะพบวาภาคกลาง มีประชาชนอยู จํานวนมาก หลายกลุม หลายเชื้อชาติ และหลากหลายวัฒนธรรม ทําใหประเพณีทองถ่ิน มีความแตกตางกันไป เชน การแตงกาย การละเลน ความเชื่อ ฯลฯ ซ่ึงผูเขียนไดมีโอกาส ไปรวมกิจกรรมการสืบสานประเพณี แหพระพุทธชินราชและแขงขันเรือพาย บานทางขามนอย ครั้งท่ี ๑๒ วันอาทิตยท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ณ วัดทางขามนอย อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยทางคณะกรรมการวัด และองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ไดอัญเชิญหลวงพอพุทธชินราช ประดิษฐานบนรถยนต แหไปยังวัดตาง ๆ ในพ้ืนท่ีตําบลหัวไทร โดยเริ่มจากวัดลาดบัวขาว วัดใหมคูมอญ และวัดหัวไทร เพ่ือใหพ่ีนองประชาชน และพุทธศาสนิกชน ไดทําบุญปดทอง และนมัสการหลวงพอ พระพุทธชินราช หลังเสร็จพิธีจากวัดหัวไทร ไดอัญเชิญ หลวงพอพุทธชินราช กลับประดิษฐานยังโบสถวัดทางขามนอย ซ่ึงผูนําทองถ่ิน นักเรียน พอคา ประชาชน แขกผูมีเกียรติ ท่ีมารวมงานตั้งแถวขบวนแหหลวงพอพระพุทธชินราช บริเวณซุมประตูทางเขาวัด โดยจะแหรอบโบสถ จํานวน ๓ รอบ ซ่ึงนายสุรพล โกศาสตร ผูใหญบานหมู ๔ ไดเลาใหฟงวา ในอดีตการแหหลวงพอพุทธชินราช จะแหทางเรือ ใชเรือบรรทุกขาวแห โดยจะออกจากวัดทางขามนอย ไปยังวัดลาดบัวขาว ผานวัดบางกระเจ็ด ออกจากวัดบางกระเจ็ด ไปยังวัดบานกลวย มาสุดท่ีวัดหัวไทร ใหประชาชน ในการกราบสักการะ ปจจุบันการชลประทานปดทางน้ําและน้ํามันราคาแพง จึงเปลี่ยนจากแหทางน้ํามาเปนทางบกแทน ชวงบาย มีการแขงขัน เรือพายพ้ืนบานประเภทตาง ๆ กีฬาพ้ืนบาน เปนตน ในการจัดงานทางคณะกรรมการวัด จะตองจัดลิเก มาแสดงถวายใหหลวงพอ โดยประชาชนมีความเชื่อวา ขอพรหรือบนบานกับหลวงพอพุทธชินราชไว ถาสิ่งท่ีขอไดดังสมปรารถนา ก็จะนําลิเกมาแสดงถวาย ในอดีตท่ีผานมาจะเรี่ยไรเงินคาลิเกไปตามบาน ปจจุบันเม่ือถึงงานประจําป ประชาชนก็จะนําเงินบริจาคมารวมกัน ใหคณะกรรมการวัดจางลิเกมา เลนถวายหลวงพอ ซ่ึงคาลิเก ประมาณ ๘๘,๘๐๐ บาท / คืน นอกจากนี้ ชวงกลางคืน ประชาชนท่ีแกบนจะมาแจงกับคณะกรรมการวัด ใหคณะลิเกรําถวาย โดยคณะลิเกจะจัดชุดรําถวายชุดละ ๖ คน ซ่ึงประชาชนในตําบลหัวไทร มีความเชื่อวา หลวงพอพุทธชินราชโปรดลิเก และการรําถวาย หากนําภาพยนตรมาฉายจะทําการคาไมข้ึน ดังนั้น ประชาชนจะอธิฐานและแกบนดวยลิเก จากคําบอกเลาของคณะกรรมการวัด ประชาชนท่ีเขารวมงานสวนใหญจะบนเรื่องการขายท่ีดิน การเลี้ยงกุง การประกอบอาชีพ เม่ือไดราคามากก็จะนําลิเกมาถวาย สวนคนท่ีมีกําลังทรัพยนอย จะบนในเรื่องการใหหายจากเจ็บไข การสมัครเรียน เปนตน ก็จะใหชุดลิเกรําถวาย บางคืน ผูแสดงลิเกรําถึง ๒๐ เท่ียวข้ึนไปก็มี โดยผูเขียนไดไปรวมการสืบสานประเพณีแหพระพุทธชินราช ในแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ และเม่ือวันท่ี ๑๕ – ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ไดมีโอกาสไปรวมประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ซ่ึงเปนงานประจําป สมโภชองคหลวงพอท่ีทางวัดทางขามนอยไดจัดงาน

๑๗

จํานวน ๒ วัน คือ วันท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ในชวงเชาทางคณะกรรมการวัดทางขามนอยไดทําพิธี บวงสรวงหลวงพอพุทธชินราชในครั้งนี้ดวย ในการนี้ ของท่ีใชในการบวงสรวงหลวงพอพุทธชินราช คือ ผลไม ๕ อยาง บายศรี ซ่ึงทางคณะกรรมการวัดไดนิมนตพระสงฆ จํานวน ๙ รูป มาสวดเจริญพระพุทธมนต ใหหลวงพอในวันแรกของการจัดงาน มีลิเกมาแสดงถวายหลวงพอในภาคกลางคืน สวนวันท่ี ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ มีลิเกแสดงท้ังกลางวันและกลางคืน รวมท้ัง นักแสดงลิเกไดรําถวายหลวงพอพุทธชินราชกอนแสดงลิเกดวย จากหลักฐานทางประวัติศาสตร ดังกลาว จะพบวาแตละวัฒนธรรม มีบริบท มีประวัติเฉพาะของตัวเอง จากแนวคิดนี้ จอหนสตัน (๑๙๗๘ : ๑๓๐) มีความเห็นสอดคลองกับ โบ แอส ท่ีวา วัฒนธรรมแตละวัฒนธรรมมีเอกลักษณเปนของตนเอง และถึงแมวาวัฒนธรรมจะแตกตางกัน แตจะไมมีประเพณีวัฒนธรรมไหนดีกวา เดนกวา ประเพณีวัฒนธรรมอ่ืน ๆ ท้ังนี้เพราะแตละวัฒนธรรม มีความพอเพียงอยูในตัวของมันเอง และสามารถใหประโยชน เกิดคุณคาทางจิตใจแกคนในทองถ่ินสืบตอ ๆ กัน

๒.๓ ความหมายและประเภทของประเพณี ๒.๓.๑ ความหมายของประเพณี ประเพณี คือ ความประพฤติท่ีคนสวนใหญปฏิบัติสืบตอกันมาจนเปนแบบอยางเดียวกัน เปนระเบียบแบบแผนท่ีเห็นวาถูกตอง หรือเปนท่ียอมรับของคนสวนใหญ และมีการปฏิบัติสืบตอ ๆ กันมา เชน ประเพณีเก่ียวกับการเกิด หม้ันหมาย แตงงาน ตาย บวช ปลูกบาน เปนตน

๒.๓.๒ ประเภทของประเพณี ประเพณีมี ๓ อยาง คือ ๑. จารีตประเพณี ๒. ขนบประเพณี ๓. ธรรมเนียมประเพณี

๑. จารีตประเพณี เปนประเพณีเก่ียวกับศีลธรรม และสวัสดิภาพของสังคมสวนรวม มีการบังคับใหกระทํา ถาไมทําก็ถือวาผิดหรือชั่วตองมีการลงโทษ เชน ลูกควรกตัญูกตเวทีตอพอแมผูปกครอง ใครอกตัญูก็จะเปนท่ีสาปแชงของคนท่ัวไป นักเรียนควรใหความเคารพแกครูอาจารยท่ีอบรมสั่งสอน ไมดูหม่ิน หรือเวลาสอบตองไมพูดคุยหรือดูคําตอบของกันและกัน ถาฝาฝนก็จะมีโทษ เปนตน ๒. ขนบประเพณี เปนประเพณีท่ีไดมีระเบียบแบบแผนวางไวโดยตรง หรือโดยออม โดยตรง คือ มีระเบียบกฎเกณฑพิธีตาง ๆ กําหนดไวชัดเจน เชน ไหวครูตองทําอยางไร หรือระเบียบแบบแผนของทางราชการ หรือเรื่องการศึกษา ตองมีระเบียบแบบแผนประการใดบาง เปนตน โดยออม เปนประเพณีท่ีรูกันโดยท่ัว ๆ ไป ไมไดวางไวแนนอน แตท่ีปฏิบัติไดเพราะมีการบอกเลาสืบตอกันมา เชน แหนางแมว หรือการจุดบองไฟของอีสาน ขนบประเพณีจึงเปนเรื่องท่ีกําหนดใหปฏิบัติตอมาจนกลายเปนประเพณี แตก็อาจเปลี่ยนแปลงไดตามกาลเวลา เชน การแตงงานในปจจุบัน สวนมากไมนิยมจัดขันหมากแบบมีพิธีรีตองมากอยางแตกอน เพ่ือประหยัดเวลาและสะดวกตอการจัด

๑๘

๓. ธรรมเนียมประเพณี เปนประเพณีเก่ียวกับเรื่องธรรมดา ไมมีระเบียบแบบแผนเหมือนขนบประเพณี ไมมีผิดถูกเหมือนจารีตประเพณี เปนเรื่องท่ีปฏิบัติกันมาจนเกิดความเคยชิน จนไมรูสึกเปนภาระหนาท่ี ถาทําผิดบางก็ไมใชเรื่องรายแรงอะไร นอกจากเห็นวาเปนผูท่ีไมรูจักกาลเทศะ เชน ถาจะดื่มน้ําจากชามแทนแกว หรือเขียนจดหมายไมเซ็นชื่อก็คงไมมีใครมาทําอะไรเรา นอกจากจะมองเราดวยความประหลาดใจหาวาไมมีมารยาท ท้ังจารีตประเพณี ขนบประเพณี และธรรมเนียมประเพณี ไดเปลี่ยนไปตามสภาพของสังคมเพ่ือความเหมาะสม เชน จารีตประเพณีบางอยางท่ีเม่ือกอนเห็นวาดี เชน ผูหญิงควรอยูบาน เดี๋ยวนี้ผูหญิงออกไปนอกบานทํางานเคียงบาเคียงไหลกับผูชายจนดูเปนของธรรมดา จารีตประเพณีนี้จึงกลายเปนธรรมเนียมประเพณี จะเห็นไดวา ประเพณีสมัยใดก็เหมาะกับสมัยนั้น ประเพณีจึงเปลี่ยนไดตามกาลเวลาเพ่ือใหเขากับสังคมท่ีเปลี่ยนแปลงไป (สมชัย ใจดี; ๒๕๔๐ : ๖ – ๗)

ประเพณีสําคัญบางอยาง คนไทยเรามีประเพณีและงานเทศกาลตาง ๆ ตลอดท้ังป จะขอกลาวถึงท่ีสําคัญหรือท่ีนิยมทํากันในปจจุบัน ดังนี้ ๑. ประเพณีท่ีทํากันท่ัวไป ไดแก พระราชพิธีแรกนาขวัญ สงกรานต และงานลอยกระทง เปนตน ๒. ประเพณีเนื่องกับพุทธศาสนา ไดแก งานบวช เขาพรรษา ออกพรรษา การสวดมนตไหวพระ งานทอดกฐิน งานวันมาฆบูชา วิสาขบูชา อาสาฬหบูชา พิธีฝงลูกนิมิต งานทอดผาปา ประเพณีสลากภัต เปนตน ๓. ประเพณีสําหรับตัวบุคคล ไดแก การทําบุญวันเกิด พิธีโกนผมไฟ พิธีโกนจุก พิธีทําบุญข้ึนบานใหม พิธีมงคลสมรส และพิธีทําบุญศพ เปนตน ๔. พิธีเบ็ดเตล็ด เชน การวางศิลาฤกษ

๒.๔ ความหมายและท่ีมาของพิธีกรรม ๒.๔.๑ ความหมายของคําวา “พิธีกรรม”

คําวา “พิธีกรม” โดยท่ัวไปผูคนมักจะเขาใจกันวาเปนเรื่องท่ีมีระเบียบการปฏิบัติอยางเครงครัดประการหนึ่ง หรือเขาใจกันวาเปนเรื่องของการปฏิบัติตอสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทางศาสนาซ่ึงโดยมากมนุษยเรามักจะคิดถึงความหมายประการหลังมากกวา อยางไรก็ตามเม่ือพิจารณาจากกรอบดานภาษาเราจะพบวา คําวา “พิธีกรรม” นั้นมีความหมายท่ีแตกตางกันไปตามนัยของภาษาและความเขาใจของผูศึกษาในเรื่องดังกลาว อยูหลายประการซ่ึงเราสามารถท่ีจะนําขอมูลดังกลาวมาพิจารณาไดดังตอไปนี้ พจนานุกรม Oxford ไดใหความหมายคําวา “พิธีกรรม หรือ Ritual” หมายถึง การกระทําหลากหลายท่ีทําประจําโดยเฉพาะกิจกรรมทางศาสนาและประเพณี สําหรับภาษาไทย คําวา “พิธีกรรม” มีองคประกอบของคําอยู ๒ ศัพท คือ พิธีและกรรม ซ่ึงเม่ือพิจารณาความหายตามหลักของภาษาในพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.๒๕๔๒ มีความหมายดังนี้ คําวา พิธี เปนคํานาม หมายถึง งานท่ีจัดข้ึน ตามลัทธิความเชื่อ ตามขนบธรรมเนียม ความขลังหรือความเปนสิริมงคล เชน พระราชพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พิธีมงคลสมรส พิธีประสาทปริญญา แบบอยางธรรมเนียม เชน พิธี ทําใหถูกพิธี การกําหนด เชน ก็อยูจนสิ้นชนมายุ

๑๙

สวนคําวา กรรม เปนคํานามเชนกัน หมายถึง การงาน การกระทํา เม่ือนํามาประกอบกันเปนคําวา “พิธีกรรม” ซ่ึงมีความหมายวา การบูชาแบบอยาง หรือแบบแผน หนวยงานท่ีปฏิบัติในทางศาสนา หรือหมายถึง การงานท่ีเก่ียวกับพิธี และแบบหนังสือทางการทูต กรรมวิธีทางการทูต แตเม่ือกลาวโดยสรุปตามความหมายในภาษาไทย คําวา “พิธีกรรม” นั้นหมายถึง แนวทางหรือวิธีทํางานพิธีตาง ๆ ตามท่ีไดกําหนดไวใหถูกตอง

๒.๔.๒ แนวคิดเรื่องพิธีกรรม เม่ือสมัยกอนพุทธกาล เจาชายสิทธัตถะออกผนวชกอนท่ีจะไดตรัสรู พระอนุตตรสัมมนสัมโพธิญาณเปนพระพุทธเจานั้น ไดเคยปฏิบัติพิธีกรรมตาง ๆ เม่ือครั้งสมัยกอนพระองคจักเสด็จออกบวช โดยการปฏิบัติพิธีกรรมตาง ๆ ตามลัทธิความเชื่อดั้งเดิม ท่ีศาสนา พรามหมณเคยไดปฏิบัติ สุดทายการปฏิบัติอันเปนพิธีกรรมท่ีเปนไปตามแนวทางในการดําเนินชีวิต อันประเสริฐก็ไมมี พระองคทรงปริวรรตการปฏิบัติพิธีกรรมทางศาสนาเดิม โดยเนนถึงหลักการปฏิบัติตนเองใหเปนผูมีความเจริญมากกวาท่ีจะไปพ่ึงพิงอาศัยกับพิธีกรรมท่ีปฏิบัติ เพ่ือหวังใหอํานาจลึกลับหรือพระเจาดลบันดาลให เชน พิธีกรรมบูชายัญ โดยการฆาแพะ เพ่ือท่ีจะสังเวยแดพระเจา เพ่ือ พระเจาจักไดพอพระทัย แลวตนเองก็จะเปนคนดี พระองคไดชี้ทางแหงการปฏิบัติวา คนเราจะดีหรือบริสุทธิ์ไดดวยอาศัยการปฏิบัติตน ปฏิบัติกาย วาจา และใจใหบริสุทธิ์เทานั้น มิใชการฆาแพะสังเวยพระเจาแลวตนจักบริสุทธิ์ ซ่ึงก็เปนไปไมไดวา นักปราชญหลายทาน เชื่อวา พิธีกรรมทางศาสนามิไดมีในสมัยพระพุทธเจา หากแต เพ่ิงมีมาเม่ือพระพุทธศาสนาไดหลอหลอมผสมกับความเชื่อโบราณของคนไทยแลวนักปราชญราชบัณฑิต ไดประยุกตคําสอนในพระพุทธศาสนาใหกลายมาเปนหลักในการปฏิบัติเขาสูพิธีกรรม

ความหมายของพิธีกรรม พิธีกรรม ภาษาตางประเทศท่ีเราพบเห็นเสมอ มีอยู ๒ คํา คือ Ritual และ Activities ท้ังสองคํามักนิยมใชรวมกันในภาษาไทย กับคําวา “พิธีกรรม” แตความหมายของคําท้ัง ๒ ในภาษาอังกฤษ ไดเสนอขอคิดเอาไววา ถาใชคําวา Ritual นาจะหมายถึง พิธีกรรมหนึ่ง ๆ หรือ หลาย ๆ พิธีกรรมก็ได สวนคําวา Activities จะหมายถึง การกระทําหรือกิริยาอาการของกิจกรรมแหงพิธีกรรม ( Ritual) จะเหมารวมเปนกิจรรมหรือตัวพิธีกรรม สวน Activities จะหมายถึง พฤติกรรม การกระทํากิจกรรม ตลอดจนกิจกรรมแหงพิธีกรรมท่ีกําลังกระทํา เปนตน พิธีกรรม ( Ritual) ความหมายของพิธีกรรมมีผูรูหลาย ๆ ทานไดใหไวอยางกวางขวาง แตโดยรวม หมายถึง การกระทําหรือกิจกรรมตอสิ่งท่ีเชื่อเคารพ ศรัทธาอยางเปนรูปแบบและพิธีการ ซ่ึงรูปแบบท่ีวาก็จะตองเปนรูปแบบท่ีถูกตองตามขอกําหนดไวอยางเปนลําดับและมีข้ันตอนเสมอ

๒.๔.๓ ความเปนมาของพิธีกรรม ความเชื่อของมนุษยพัฒนาการมาจากการไดรับรูเรื่องราวตาง ๆ อันเปนประสบการณภายนอกท่ีนอกเหนือประสบการณโดยตรงท่ีตนเองไดเห็น แตกลับเปนประสบการณอันไดรับมาจากการบอกเลากลายเปนนิยายปรัมปรา ( Myth) แลวยึดถือวาเปนสวนหนึ่งของการดําเนินชีวิตกลายเปนลัทธิ แลวนําไปสูการปฏิบัติตอลัทธิความเชื่อ เม่ือลัทธิความเชื่อเหลานั้นไดพัฒนากลาย

๒๐

มาเปนศาสนา การปฏิบัติตอความเชื่อ ลัทธิศาสนานั้นจึงกลายมาเปนพิธีกรรมทางศาสนาในปจจุบันศาสนาไดแบงออกเปน ๒ ประเภทใหญ คือ ๑. ศาสนาฝายเทวนิยม คือ ศาสนาท่ีมีความเชื่อในเรื่องของพระเจา ( God) ไดแก ศาสนาคริสต ศาสนาอิสลาม ศาสนาฮินดู เปนตน ๒. ศาสนาฝายอเทวนิยม คือ ศาสนาท่ีไมมีความเชื่อในเรื่องท่ีพระเจา ไดแก ศาสนาพุทธ ศาสนาขงจื้อ ศาสนาบาไฮ เปนตน ไมวาจะเปนศาสนาฝายใด องคประกอบท่ีสําคัญของศาสนาก็ คือ พิธีกรรม อีมีลเดอรไคม (Emaile Durkheim) นักสังคมวิทยาชาวฝรั่งเศส ไดกลาวถึงองคประกอบสําคัญของศาสนาไว ซ่ึงพิธีกรรมทางศาสนายังมีคุณคาสําคัญยิ่ง เพราะพิธีกรรมทําใหมนุษยไดแสดงออกถึงความเปน อัตลักษณของศาสนานั้น ๆ ไดอยางชัดเจน และพิธีกรรมทางศาสนานั้นยังสามารถท่ีจะทําใหเกิดความศักดิ์สิทธิ์ในตัวของพิธีกรรมท่ีเครงครัด นาเชื่อถือไดเปนอยางดี สวน Hall, T.wiliam ไดกลาวถึงพิธีกรรมไววา “พิธีกรรม” คือ ชนิดของการบูชาท่ีเปนสัญลักษณอ่ืน ๆ แมบางคนจะไมสนใจก็ตาม ดังตอไปนี้ ๑. พิธีกรรมท่ีเก่ียวของกับนักนิเวศวิทยา หมายถึง พิธีกรรมท่ีทําในบางเวลาของธรรมชาติ และพิธีกรรมอันเปนสัญลักษณท่ีเก่ียวของกับโลกและจักรวาลตามธรรมชาติ เชน พิธีกรรมในการวางแผนเพ่ือการเพาะปลูก การลาสัตว การเลี้ยงสัตว ไมวาจะเจริญข้ึนหรือถดถอยของการโคจรของดวงดาว โลก ท่ีรวมอยูในพิธีกรรมนี้ ๒. แตเม่ือกลาวถึงเวลาปฏิบัติพิธีท่ีไมเก่ียวกับวิชานิเวศวิทยาเลย คือ กลาวเฉพาะ พิธีกรรมทางศาสนาและวัฒนธรรม กลาวถึงชนิดของพิธีกรรม คือ รูปแบบพิธีท่ีซาบซ้ึงประทับใจ (ทางศาสนา) ไมเก่ียวของกับการหมุนเวียนของจักรวาลตามธรรมชาติแมสักนอยเลย ชาวยิวและชาวคริสต มีวันมงคลพิเศษถือเปนตัวอยางท่ีดีของเรื่อง (พิธีกรรม) นี้ แมวาบางคนยังแสวงหาพิธีกรรมท่ีดีเชนนั้นตอไปอีก สําหรับชาวตางศาสนาก็สามารถมีพิธีกรรมทางศาสนาในแตละปไดดวยเหมือนกัน ๓. พิธีกรรมของมนุษยชาติ พิธีกรรมเล็งไปท่ีจุดตาง ๆ กัน คือ พิธีกรรมในการเกิดการเติบโต การตาย ซ่ึงไดกลาวถึงเสมอ ๆ เชน “พิธีกรรมการอําลาโลก” พิธีกรรมของมนุษยชาตินี้รวมเอาพิธีกรรมทางวัฒนธรรมทุก ๆ อยาง ท้ังการเกิด การตั้งชื่อ การบวช การแตงงาน การตาย และอ่ืน ๆ ดวย ๔. รูปแบบพิธีกรรมท่ีทารุณโหดรายใชไมได ขณะท่ีถูกกลาวถึงอีกครั้งหนึ่งเสมอท้ังไมมีชนิดของพิธีกรรมท่ีปฏิบัติแลวซาบซ้ึงท่ีสุด แตไมมีพิธีกรรมท่ีนาปรารถนาท่ีดีท่ีสุดตลอดไป ตัวอยางของพิธีกรรมท่ีดีเชนนี้ ข้ึนอยูกับเทคนิคการอธิบายพิธีกรรม มองใหเปนพิธีกรรมงาย ๆ และบอกถึงชนิดของพิธีท่ีเห็นประจักษชนิดตาง ๆ

๒.๔.๔ องคประกอบของพิธีกรรม พิธีกรรม มีองคประกอบหลายประการท่ีสามารถอธิบายได ดังนี้ ๑. ความเชื่อ ( believe) หรือความศรัทธา ( faith) พิธีกรรมจักเกิดข้ึนไดตองอาศัยความเชื่อ ความศรัทธาตอลัทธิศาสนานั้น ๆ เชน เชื่อวามีพระเจา เชื่อวาไดกระทําเปตพลีแลว ญาติท่ีลวงลับไปแลวจักไดรับกุศลท่ีไดอุทิศไป หรือแมแตเชื่อวาถาปวยมีโรคภัยไขเจ็บเกิดข้ึน อยูเสมอ ใหนิมนตพระสงฆมาทําพิธีสืบชะตาก็จักหาย เปนตน

๒๑

๒. ผูประกอบพิธีกรรม ก็มักจะหมายถึง ผูท่ีสามารถท่ีจะสื่อสารโลกมนุษยนี้ไปยังสภาวะท่ีลี้ลับ หรืออํานาจลึกลับ ท่ีคนธรรมดาไมสามารถท่ีจะสื่อไปได จึงตองอาศัยผูประกอบพิธีกรรมเปนผูสื่อความตองการไปสูอํานาจลึกลับนั้น เชน พระเจา เทพเจา เทวดา ผี เปนตน ๓. ภาษา การสื่อระหวางมนุษยกับอํานาจลึกลับหรือพระเจา เทพเจา ผูประกอบพิธีมักจะใชภาษาท่ีผิดไปจากภาษามนุษยสามัญกลุมนั้น ๆ ใชหรือบางครั้งก็จะใชสัญลักษณและการทํานาย เปนการสื่อสารจากอํานาจลึกลับนั้นมาสูมนุษย ๔. พิธีกรรมนั้น ๆ มีผลตอจิตใจผูกระทํากลาวคือ ผูท่ีไดกระทํากิจกรรมตามพิธีกรรมศาสนาแลว จะรูสึกมีท่ียึดเหนี่ยวจิตใจ ทําใหเกิดกําลังใจท่ีจะตอสูปญหาอุปสรรคตาง ๆ ท่ีตนเองประสบอยูได ๕. การใชสัญลักษณ กลาวคือ ในการจัดพิธีกรรมแบบตาง ๆ จะตองมีอุปกรณ เชน ดอกไม ธูปเทียน เครื่องเซนตาง ๆ ตลอดจนการแสดงกิริยาทาทาง เชน ทารายรํา การประนมมือ การไหว เปนตน ๖. การใชสื่อตาง ๆ เชน สื่อทางเสียง มีการขับรอง บรรเลงดนตรี เพ่ือใหเกิดความสงบและเอิบอ่ิมใจ เพ่ือใหพิธีกรรมนั้นเกิดความศักดิ์สิทธิ์

๒.๔.๕ ประเภทของพิธีกรรม พิธีกรรม เปนวิวัฒนาการของความเชื่อของมนุษยท่ีตองการท่ีจะใหความเชื่อนั้นมีท้ัง

หลักปฏิบัติท่ีเหมือนกันและสรางความนาเชื่อถือ เคารพตอความเชื่อของมนุษย ซ่ึงหลักปฏิบัติตาง ๆ เม่ือมีรูปแบบ แบบแผนท่ีตายตัวและยังใหคุณและใหโทษแกผูปฏิบัติหรือไมปฏิบัติตามก็ได ซ่ึงพิธีกรรมสามารถท่ีจะแยกออกเปนพิธีกรรม ออกเปน ๔ ประการ ไดแก พิธีกรรมศาสนา พิธีกรรมลัทธิความเชื่อ พิธีกรรมจากจารีตประเพณี พิธีกรรมวัฒนธรรมประเพณี มีอธิบายดังนี้

๒.๔.๕.๑ พิธีกรรมศาสนา ไดแก พิธีกรรมท่ีปฏิบัติตอศาสนา พระเจา คําสอน ไดแก การถวายสังฆทาน ถวายผากฐิน การทําบุญตักบาตร การรับศีลจุม การสวดออนวอนพระเจา การบูชารูปเคารพ ( Images) พิธีลางบาป พลีสุกรรม บูชาครู พิธีตรียัมปวาย (เปนวันท่ีพระมหาเทพเสด็จสูโลกมนุษย) เปนตน ซ่ึงพิธีดังกลาวจะเปนขอปฏิบัติตามพิธีกรรมของศาสนาตาง ๆ ตามแตผูปฏิบัติจะนับถือศาสนาใด

๒.๔.๕.๒ พิธีกรรมลัทธิความเช่ือ ไดแก พิธีกรรมท่ีมีความเชื่อวาตัวเองมีพอเกิด แมเกิด พอแถน ยาแถน หรือเชื่อวา ชีวิตคนข้ึนอยูกับ ดวงเกิด เสนลายมือ ตลอดจนความเชื่อท่ีนอกเหนือจากศาสนาท่ีตนนับถือแตไมไดเชื่อถือและปฏิบัติสืบ ๆ ตอกันมา เชน พิธีครอบครู พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ หรือพิธีกรรมบายศรีสูขวัญ เปนตน

๒.๔.๕.๓ พิธีกรรมจากจารีตประเพณี เปนพิธีกรรมท่ีเกิดจากความเชื่อท่ีมีขอปฏิบัติสืบ ๆ กันมา ใครไมปฏิบัติตามก็อาจจะมีการลงโทษหนัก – นอย – เบา แลวแตจารีตท่ีแตละกลุมหนัก – นอย – เบา ชนตั้งข้ึน เชน พิธีกรรมขอขมาผีบานผีเรือนท่ีหนุมไปจับตองหญิงสาว พิธีกรรมการแตงงาน พิธีกรรมลักพาสาวหนีของชาวเขา ซ่ึงพิธีกรรมประเภทนี้ไดรวมไปถึง พิธีกรรมการทําบุญงานศพ การฝง การเผาศพ อีกดวย พิธีกรรมจารีตประเพณีนี้เรามักไดยินคนอีสานเรียกพิธีกรรมประเพณีวา “ฮีต” เชนเดียวกับคนภาคเหนือ

๒.๔.๕.๔ พิธีกรรมวัฒนธรรมประเพณี เปนพิธีกรรมท่ีเกิดจากการวางระเบียบของสังคมนั้น ๆ ใหมีการปฏิบัติตอกัน เชน พิธีปฏิญาณตนสวนสนามของทหาร พิธีการกราบ

๒๒

การไหว การรับของผูใหญ เปนตน ซ่ึงบางทานอาจจะกลาววาการไหว การกราบผูใหญ ตองมีพิธีกรรมดวยหรือ ขอนี้ไดเสนอวาการกราบ ก็มีพิธีกรรมคือมีระเบียบวิธี ข้ันตอน การปฏิบัติ เชน ไหว มือตองพนมเปนรูปดอกบัว ไหวผูใหญเชนพระสงฆ วางมืออยางไร ไหวผูอาวุโส มือวางไวระดับใด

อยางไรก็ตาม พิธีกรรมยอมท่ีจะมีการปฏิบัติไปตามความเชื่อของลัทธิศาสนาตาง ๆ ยอมท่ีจะแตกตางกันเพราะพิธีกรรม คือ การหลอมความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันกับความเชื่อ ความศรัทธา เปนรูปแบบท่ีเปนอัตลักษณและศักดิ์สิทธิ์นั่นเอง

๒.๔.๖ ความหมายของความเช่ือ กอนท่ีจะศึกษาถึงวิวัฒนาการทางความเชื่อ จึงตองทําความเขาใจเก่ียวกับแนวคิด

และความหมายของความเชื่อ ดังนี้ Webster’s Seventh ใหความหมายของความเชื่อวา เปนภาวะหรือนิสัยดานจิตใจ

ท่ีมีตอสิ่งท่ีเปนความจริงหรือความเชื่อม่ันท่ีตั้งอยูในบุคคล หรือสิ่งท่ีของอยางเดียวกัน มีบางสิ่งท่ีไดรับความเชื่อถือ โดยเฉพาะอยางยิ่งสิ่งท่ีถือวาเปนความจริงหรือตัวสิ่งท่ี

เปนความจริงนั้นเปนท่ียอมรับยึดถือกันโดยกลุม ความเชื่อม่ันตามความเปนจริงท่ีเก่ียวของกันนั้นเปนการดํารงสภาวะบางอยางไว

หรือความเปนจริงตามความเปนจริง โดยเฉพาะอยางยิ่งเม่ือไดวางรากฐานไวถูกตองดีแลว C.V. Good ใหความหมายเก่ียวกับความเชื่อถือไว ๔ ความหมายดวยกัน คือ ๑. การยอมรับเนื้อความตามจริงโดยสภาพการณหรือวัตถุประสงคตามความแทจริง ๒. ทางศาสนา หมายถึง เนื้อความอันเปนท่ียอมรับในฐานะความเปนจริง แมจะไม

ขัดดวยเหตุผลก็จริง แตก็ไมอาจจะแสดงหลักฐานโดยเหตุผลได ๓. ตัวความเชื่อถือหรือสิ่งท่ีเชื่อถือ ๔. หนีความสงสัยอันตั้งข้ึนโดยมติท่ีไมใชเนื้อหาเฉพาะบุคคลเทานั้น แตถือเปนสิ่ง

หนึ่งซ่ึงจะมีข้ึนในชุมชน สุพิศวง ธรรมพันทา ใหความหมายของความเชื่อวา เปนความคิดท่ีคนเรายอมรับ

และยึดถือ อาจเปนความคิดท่ีเปนสากลหรือเปนท่ียอมรับของบางกลุม หรือเปนความจริงท้ังหลาย ท่ีอยูรอบ ๆ ตัวเรา

อมรา พงศาพิชญ ไดกลาวถึงความเชื่อ หมายถึง ความเชื่อทางศาสนาหรือความเชื่อในสิ่งท่ีมีอํานาจเหนือมนุษย ไมรูปแบบใดก็รูปแบบหนึ่ง เชน เชื่อในภูตผีปศาจ พระภูมิเจาท่ี ผีปูตา เจาเขาทรง เทพเจา เปนตน

สวนณรงค เส็งประชา ใหแนวความคิดเก่ียวกับ ความเชื่อวา เปนความรูอยางหนึ่งท่ีเกิดจากการฟง การอาน ความเชื่อเปนการยอมรับตามขอความท่ีไดยินและขอความท่ีไดอาน ความเชื่อเปนการกระตุนใหผูอ่ืนปฏิบัติตาม ความเชื่อจึงเปนการนําใหคนเชื่อปฏิบัติ

จากแนวความคิดและความหมายดังกลาวขางตนพอสรุปไดวา ความเชื่อเปนภาวะหรือนิสัยดานจิตใจ หรือความคิดของมนุษยอยางหนึ่งท่ีมีตอสิ่งท่ีเปนความจริง หรือความเชื่อม่ันท่ีตั้งอยูในตัวบุคคลหรือสิ่งของอยางเดียวกัน ไมวาจะเปนความเชื่อทางศาสนา ความเชื่อในสิ่งท่ีมีอํานาจเหนือมนุษย โดยจากการไดยิน ไดอานแลวกระตุนหรือนําใหบุคคล กลุม และชุมชนยอมรับยึดถือปฏิบัติตอ ๆ กันมา

๒๓

๒.๔.๗ ลักษณะของความเช่ือ พระองคเจาวรรณไวทยากร ไดทรงแสดงลักษณะความเชื่อไว ๓ ประการ คือ ๑. เปนการยอมรับในคําพูดและหลักฐานจากผูอ่ืนโดยปราศจาก การไตรตรอง และ

การคัดคาน ซ่ึงเปนความรูสึกเฉพาะบุคคล ๒. เปนความม่ันใจและความไววางใจในตนเอง ซ่ึงเปนรากฐานแหงการตั้ง

สัจจาธิษฐาน ๓. เปนการยึดถือและปฏิบัติตามคําสั่งสอนของผูตั้งศาสนา และทฤษฎีจนกลายเปน

ลัทธิและศาสนาในท่ีสุด นอกจากนี้ ความเชื่ออาจพัฒนาข้ึนไดเปน ๔ ระดับ ดังนี้

๑. ระดับการยอมรับ กอใหเกิดความโนมเอียงกระทําตามความเชื่อนั้นจนเกิดมี พิธีกรรมและกลายเปนลัทธิ

๒. ระดับลัทธิ เปนการปฏิบัติตามความเชื่อจนกลายเปนประเพณี ซ่ึงเปนสวนตนของศาสนา

๓.ระดับศาสนาเปนความเชื่อท่ีประกอบดวยความเลื่อมใส ภักดี และการมอบตนจนเปนอุดมคติของชีวิตและสังคม จนกลายเปนศาสนาชาติ

๔. ระดับชาตินิยม อาศัยความเชื่อในศาสนาชาติ เปนพลังกาย เปนความคลั่งชาติ คลั่งศาสนา

๒.๔.๘ ความสําคัญของความเช่ือ มนุษยทุกคนยอมกระทําการใด ๆ ตามหลักความเชื่อในศาสนาท่ีตนเคารพนับถืออยู

ความเชื่อนั้นก็จะกลายเปนวิถีชีวิต และเม่ือมนุษยท้ังหลายไดสั่งสมความเชื่อและการกระทําหรือการปฏิบัติตามความเชื่อท่ีเปนวิถีชีวิตอยางเดียวกัน ความเชื่อก็กลายเปนวิถีชีวิตในสังคมและความเชื่อนี้จะเปนแรงผลักดันและบรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm) ซ่ึงอาจแยกใหเห็นความสําคัญดังนี้

๑. ความเชื่อ คือ พลังชีวิต เพราะมนุษยกระทําตาง ๆ ไปตามความเชื่อในลักษณะเปนความม่ันใจ และความไววางใจ

๒. ความเชื่อเปนบอเกิดแหงวัฒนธรรม เพราะความเชื่อ คือ ศาสนาซ่ึงเปนบอเกิดแหงวัฒนธรรม วัฒนธรรม คือ รูปแบบหรือโครงสรางของสังคมท่ีประกอบไปดวย ระเบียบแบบแผน (Norms) สถานภาพ ( Status) ซ่ึงทุกคนจะตองปฏิบัติตนใหสอดคลองกับระเบียบแบบแผนในสังคมของตน

๓. ความเชื่อเปนแกนกลางแหงความสามัคคีของคนในสังคม เพราะความเชื่อกลายเปนวิถีชีวิตในฐานะศาสนาและวัฒนธรรมใหมีการปฏิบัติเปนรูปแบบเดียวกัน แสดงออกมาเปนเอกภาพ จึงกลายเปนพลังเชื่อมโยงประสานสัมพันธใหชนในสังคมไมแตกตางกัน กิจกรรมตาง ๆ มีจุดหมายอันเดียวกัน

๒.๔.๙ วิวัฒนาการของความเช่ือ ความเชื่อเปนพลังสัญชาตญาณท่ีเกิดข้ึนกับจิตของมนุษยท่ีสามารถผลักดันจิต

ใหกระทําการใด ๆ ออกมา ท้ังในทางท่ีถูกและกระทําในทางท่ีผิด ความเชื่อจึงเปนสัญชาตญาณ พ้ืนฐานหรืออารมณเบื้องตนของมนุษย ท่ีจะโนมเอียงไปสูการยอมรับ และการกระทําท่ีเปนความภักดีบูชาและการมอบตัวการกระทําทางจิต (เจตนา) ท่ีมีความเชื่อเปนแรงขับนั้นอาจเปนกิจกรรมและ

๒๔

กลายเปนประเพณี ซ่ึงไมอาจอธิบายไดดวยเหตุผล นอกจากนี้สัญชาตญาณท่ีเกิดข้ึนกับจิตของมนุษยอีกดานหนึ่งคือเหตุผล ท้ังเหตุผลบริสุทธิ์ท่ีเปนความสัมพันธท่ีเปนความสัมพันธท่ีลงรอยกันในความคิด และเหตุผลปฏิบัติท่ีสัมพันธระหวางจิตของผูปฏิบัติกับความจริงสูงสุดในศาสนา (พระเจาหรือ พระธรรม)

ดังนั้นความเชื่อจึงเปนปรากฏการณท่ีเปนสากลภายในสังคมตาง ๆ ท่ัวโลก และเปนความเชื่อท่ีมีมาตั้งแตในยุคแรก ๆ ซ่ึงมีความสําคัญเริ่มตนของศาสนา คือ ความเชื่อในเรื่องวิญญาณนิยม ซ่ึงไดกลายเปนพลังสําคัญในการดํารงชีวิตของมนุษยตั้งแตสมัยโบราณ จนกลายเปนวิถีชีวิตของคนในสังคม ดังนั้นวิวัฒนาการของความเชื่อโดยท่ัวไปแบงออกเปน ๒ สาย ดังนี้

ก. ความเช่ือสายเทวนิยม ความเชื่อสายเทวนิยมเปนความเชื่อดั้งเดิมของมนุษย กลาวคือ ประมาณ

๕,๐๐๐ ป กอนคริสกาลหรือยุคกอนประวัติศาสตร ซ่ึงมีพัฒนาการเปน ๔ ข้ัน คือ ข้ันท่ี ๑ เปนข้ันท่ีมนุษยมีความเชื่อในปรากฏการณธรรมชาติ เพราะมนุษย

อยูกับธรรมชาติรอบขาง เห็นความสวางจากดวงอาทิตย เห็นสิ่งรอบตัว เชน ตนไม ภูเขา แมน้ํา ฯลฯ และเห็นภัยท่ีมองไมเห็น เชน โรคระบาด ความอาภัพอับโชคตาง ๆ สิ่งเหลานี้ ทําใหมนุษยคิดวา เหตุท่ีธรรมชาติเปนเชนนั้นเพราะมีอํานาจ สามารถบันดาลความสุขหรือทุกขใหแกตนได จึงพากันเชื่อและนับถือวาธรรมชาติมีชีวิตจึงมีการนับถือธรรมชาติ ( Animatism) และบูชาธรรมชาติ ( Natural Warship)

ข้ันท่ี ๒ ข้ันการนับถือพระเจา ผีสางเทวดา หรือวิญญาณนิยม ( Animism) มนุษยเริ่มมีความสงสัยภาวะผันแปรตาง ๆ ในตัวธรรมชาติท่ีบันดาลใหเกิดความทุกขความสุขแกตน คงจะมีอํานาจอะไรอยางหนึ่งสิงสถิตยอยู อํานาจท่ีสามารถบันดาลใหเปนไปไดนั้น เรียกวา วิญญาณ (Spirit) โดยมนุษยเชื่อวา ทุกอยางในโลกมีวิญญาณสิงอยู วิญญาณเหลานั้นมีอํานาจคนละอยาง ท้ังบันดาลความสุขและความทุกข วิญญาณเหลานั้นตองมีรูปราง แตไมสามารถมองเห็นได มนุษยจึงเริ่มสรางดวยความนึกคิด ภาพท่ีนับถือจึงเรียกวาพระเจา หรือผีสางเทวดา

ข้ันท่ี ๓ การบูชาบรรพบุรุษ ( Ancestor Worship) จากการขุดคนโบราณวัตถุใตพ้ืนดินของนักโบราณคดี ไดพบซากศพมนุษย เครื่องบูชาศพ พบรองรอยตกแตงหลุมศพ จึงเขาใจวามนุษยแตโบราณนับถือบูชาบรรพบุรุษของตน เพราะมนุษยโบราณเขาใจวาผีบรรพบุรุษ ซ่ึงสวนมากเปนบิดามารดาหรือปูยา ตายาย ท่ีตายไปแลวนั้น ยังคงเปนผูปกครองคอยดูแลความทุกขสุขของลูกหลาน ญาติพ่ีนองอยูเสมอ การท่ีมนุษยบูชาดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ อาจเปนเพราะความเกรงกลัววาวิญญาณนั้น ๆ จะมาทํารายผูประพฤติชั่วหรือเคารพบูชาเพราะความกตัญูรูคุณบรรพบุรุษ

ข้ันท่ี ๔ ข้ันนับถือเทพเจา แตเดิมมนุษยจะนับถือเทพเจาหลายองค (Polythesim) ซ่ึงจะสรางเทพเจาตามมโนคติของตน สุดแลวแตวาธรรมชาติอยางไหนมีรูปราง มีอํานาจอยางไร โดยไดแบงแยกเทพเจาตามอํานาจหนาท่ีใหควบคุมมนุษยแตละกลุม เชน เทพเจาประจําทองฟา เทพเจาประจําอากาศ เทพเจาประจําแผนดิน เปนตน ตอมาเม่ือมนุษยรวมกันเปนกลุมมีหัวหนากลุม และการท่ีหัวหนากลุมจะรวบรวมคนใหเปนปกแผนก็จะประกาศคําสั่งสอนของตนวาในโลกนี้มีเทพเจาสูงสุดเพียงองคเดียว ( Monotheism) จะบันดาลสิ่งใดใหเปนไปตามพระประสงคได เชน พระพรหม พระยะโฮวา พระอัลเลาะห เปนตน

๒๕

ข. ความเช่ือสายอเทวนิยม เม่ือประมาณ ๓,๐๐๐ ปมาแลว เปนยุคท่ีมนุษยชาติไดรับแสงสวางแหง

เหตุผลและปญญา นักปราชญและพระศาสดาท้ังหลายสามารพใหเหตุผลเปนเครื่องมือสํารวจตรวจสอบ และไตรตรองหาสัจธรรม ความจริงของโลกและชีวิต สมัยกรีกนั้นไดปฏิเสธอํานาจของ เทพเจา แลวอาศัยกฏเกณฑธรรมชาติเปนเครื่องยืนยันถึงความจริงของโลก และถูกพัฒนาเปนความรูท่ีเปนระบบระเบียบตอเนื่องกันมาในท่ีสุด เรียกวา วิทยาศาสตร และเทคโนโลยีในปจจุบัน นักปราชญเหลานั้น เชน ทาเลส อริสโตเติล เบคอน ไอสไตน เปนตน

สวนทางประเทศตะวันออก พระศาสดาก็ไดอาศัยเหตุผลในธรรมชาติ เปนเครื่องไตรตรอง พิจารณาหาสัจธรรมความจริงของชีวิต โดยปฏิเสธอํานาจเหนือธรรมชาติ ไมอาศัยการวิงวอน โชคชะตา หรือการดลบันดาลจากเทพเจา แลวหันมาใชปญญาโดยตรง แสดงความเชื่อม่ันในศักยภาพตามความสามารถ ความเพียรพยายามของมนุษยนั้น เชน มหาวีระ เจาชายสิทธัตถะ ขงจื้อ เปนตน

ความเชื่อสายอเทวนิยมมีลักษณะเปนความม่ันใจ ( Comfidence) ในความจริง คือ เหตุผล หรือศรัทธา ซ่ึงแสดงออกบนพ้ืนฐานแหงความเชื่อ ๔ ประการ คือ

๑. เชื่อวากรรม คือ การกระทํา เปนเครื่องจําแนกสัตวใหดีหรือเลว ประณีตหรือหยาบ

๒. เชื่อวาทุก ๆ การกระทํายอมมีผลตอบแทน ทํากรรมดี ยอมไดรับผลดี ทํากรรมชั่ว ยอมไดรับผลชั่ว

๓. เชื่อวาสัตวมีกรรมเปนของ ๆ ตน ใครทําใครได เปนเรื่องของแตละบุคคล ความสะอาด ความเศราหมอง เปนเรื่องเฉพาะตัว คนอ่ืนจะยังคนอ่ืนใหหมดจนหรือเศราหมองไมได

๔. เชื่อในปญญาตรัสรูของพระศาสดาวา เปนสัจธรรมท่ีควรรูเห็นจริงเปนอมตธรรม

๒.๔.๑๐ ประเภทของความเช่ือ ชีวิตมนุษยมีความเก่ียวของสัมพันธกับสิ่งเหนือธรรมชาติ จึงทําใหความเชื่อมีความ

จําเปนเพราะการกระทําใด ๆ ของมนุษยยอมเปนไปตามหลักของความเชื่อนั้น ๆ เพ่ือใหเกิดความม่ันใจในการดําเนินชีวิต ดังนั้นชีวิตมนุษยจึงขาดความเชื่อไมไดและความเชื่ออาจแบงออกเปน ๑๐ กลุม ดังนี้

๑. ความเชื่อในวิญญาณหลังตายท่ีแสดงออกมาในลักษณะเปนผีสางเทวดา เรียกวา เชื่อในอทิสมานกาย

๒. เชื่อในเรื่องเครื่องรางของขลัง คงกระพันชาตรี เปนตน เรียกวา เชื่อในทาง ไสยศาสตร

๓. ความเชื่อในเรื่องคาถาอาคมและเวทมนต เรียกวา เชื่อในอํานาจเหนือธรรมชาติ ๔. ความเชื่อในเรื่องฤกษงามยามดี ลางสังหรณ นิมิต เรียกวา เชื่อในประเพณี ๕. ความเชื่อในเรื่องความฝน เรียกวา เชื่อในสุบินนิมิต ๖. ความเชื่อในสิ่งแวดลอม และปรากฏการณตามธรรมชาติ ๗. ความเชื่อในเรื่องยากลางบาน

๒๖

๘. ความเชื่อในเรื่องขวัญ ๙. ความเชื่อในเรื่องลักษณะของคนและสัตว ๑๐. ความเชื่อในเรื่องศาสนา วาดวยกรรม นรก สวรรค ภพ ชาติ เปนตน

๒.๔.๑๑ ความสําคัญของประเพณีและพิธีกรรม ประเพณีและพิธีกรรมเปนสมบัติของสังคมท่ีมีความสัมพันธกับชีวิตและสังคม มาโดยตลอด ประเพณีและพิธีกรรมจึงมีบทบาทตอมนุษยหลายประการ คือ ๑. เปนสัญลักษณชี้นําใหเขาใจสาระสําคัญของชีวิต ประเพณีและพิธีกรรมแตละอยางยอมมีแนวคิดหรือแบบแผนการปฏิบัติท่ีแฝงอยูในพิธีกรรม โดยเฉพาะประเพณีและพิธีกรรมสวนบุคคลจะแฝงแนวคิดท่ีเปนสัญลักษณเก่ียวกับสถานภาพของบุคคลในแตละชวงอยางนาสนใจ เชน พิธีทําขวัญเดือนเปนสัญลักษณแสดงใหเห็นวาเด็กพนอันตรายจากโรคภัยไขเจ็บอยางแนนอน จึงไดจัดพิธีทําขวัญและตั้งชื่อเด็กข้ึน ๒. เปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ คนเราเม่ือประสบปญหาอุปสรรคตาง ๆ จะเกิดความเครียดและเกิดความกังวล สภาวะจิตใจท่ีไมม่ันคงเชนนี้ โดยมากจะมีผลตอรางกาย บั่นทอนสุขภาพท่ีอาจทําใหเกิดความเจ็บปวยทางกายหรือทางจิตประสาทก็ได การทําพิธีกรรมหรือ “พิธี” เปนการแกไขเรื่องรายใหกลายเปนดี ทําใหจิตใจสบายข้ึน รูสึกผอนคลายและสรางความม่ันคง เขมแข็งข้ึน เชน การทําขวัญ ๓ วัน ทําใหพอแมสบายใจวาเด็กอยูในความปลอดภัยแลว ๓. เปนเครื่องผูกพันความเปนพวกเดียวกัน เปนสิ่งท่ีผูกพันใหคนในกลุมหรือสังคมมีความผูกพันใกลชิดกัน และรูสึกวาเปนพวกพองเดียวกัน ๔. เปนสิ่งควบคุมพฤติกรรมของคนในสังคม การอยูรวมกันในสังคมไดอยางเรียบรอยและเปนปกติ มีสันติสุขไดนั้น สังคมนั้น ๆ ตองมีขอตกลง มีระเบียบแบบแผนท่ีทุกคนยอมรับและประพฤติตาม ๕. เปนเครื่องมือผสมผสานความเชื่อตาง ๆ เขาดวยกัน จากอดีตท่ีผานมาจนถึงปจจุบัน ชนชาติไทยมีวัฒนธรรมท่ีไดวิวัฒนาการตอเนื่องกันมาตลอด ในแงของความเชื่อก็เชนเดียวกัน แตเดิมคนไทยมีความเชื่อ เรื่องผีสาง และวิญญาณตาง ๆ และเม่ือมีลัทธิพราหมณ แพรขยายเขามารวมกับความเชื่ออันเนื่องมาจากศาสนาท่ีรับมาใหม ความเชื่อเหลานี้ถูกผสมผสานกลมกลืนดวยประเพณีและพิธี จะเห็นไดจากพิธีโกนจุก เปนพิธีท่ีสะทอนใหเห็นถึงความเชื่อเก่ียวกับ “ขวัญ” มีพราหมณเปนเจาพิธี รวมท้ังมีการทําบุญเลี้ยงพระ เจริญพระพุทธมนต พิธีโกนจุก จึงเปนตัวอยางของประเพณีท่ีรวมพิธีกรรมอันเนื่องมาจากความเชื่อหลายประการ และผสมผสานไดอยางเหมาะสมกับวิถีชีวิตของคนไทย ความสัมพันธระหวางประเพณีและพิธีกรรม ประเพณีเกิดจากทัศนคติ คานิยมของคนไทยในสังคม ทําใหเกิดความคิดและความเชื่อตอสิ่งหนึ่งสิ่งใด ความเชื่อทําใหเกิดการกระทําท่ีคนในสังคมนั้นเขาใจวาจะชวยใหพนทุกขและไดรับความสุขจากการท่ีเรากระทํา คือ พิธีกรรม นั่นเอง

๒.๕ งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ พระปลัดอลงกรณ อนาลโย 0 (เตจา) : ๒๕๕๑ ทําวิจัยเรื่องการศึกษาเชิงวิเคราะหความเช่ือของประชาชนเกี่ยวกับความศักดิ์สิทธิ์หลวงพอศิลา วัดทุงเสล่ียม อําเภอทุงเสล่ียม จังหวัดสุโขทัย โดยมีวัตถุประสงค ๑) เพ่ือศึกษาประวัติหลวงพอศิลา วัดทุงเสลี่ยม ตําบลทุงเสลี่ยม อําเภอทุงเสลี่ยม

๒๗

จังหวัดสุโขทัย ๒) เพ่ือศึกษาวิเคราะหความเชื่อของประชาชนเก่ียวกับความศักดิ์สิทธิ์หลวงพอศิลา และ ๓) เพ่ือศึกษาวิเคราะหคุณประโยชนแหงความเชื่อของประชาชนเก่ียวกับความศักดิ์สิทธิ์ ของหลวงพอศิลา เครื่องมือท่ีใชในการศึกษาไดแก แบบสัมภาษณเชิงลึก ประชากรท่ีใชในการศึกษา คือ ประชาชนในทองถ่ินอําเภอทุงเสลี่ยม และประชาชนท่ัวไปท่ีมากราบนมัสการหลวงพอศิลา วัดทุงเสลี่ยม จํานวน ๔๕ คน ผลการวิจัยพบวา

หลวงพอศิลาเปนพระพุทธรูปคูบานคูเมืองทุงเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย หลวงพอศิลาเปนพระพุทธรูปศิลานาคปรก ปางสมาธิ ประทับนั่งขัดสมาธิราบอยูบนฐานพญานาค ๓ ชั้น มี ๗ เศียร แกะสลักจากหินทรายสีเทา โดยฝมือชางศิลปสมัยลพบุรี มีลวดลายแบบศิลปะลพบุรี สันนิษฐานวามีอายุกวา ๘๐๐ ป ไดคนพบเม่ือป พ.ศ. ๒๔๗๒ โดยชาวบานท่ีมีอาชีพเก็บมูลคางคาวจากถํ้าเจารามและในปเดียวกันนั้นเองไดอัญเชิญมาประดิษฐานอยูท่ีวัดทุงเสลี่ยม จนถึงวันท่ี ๒๙ ตุลาคม ๒๕๒๐ ไดถูกโจรกรรมหายไปจากวัด และสามารถติดตามกลับคืนมาจากประเทศสหรัฐอเมริกาได เม่ือวันท่ี ๑๙ ธันวาคม ๒๕๓๙

ประชาชนมีความเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ของหลวงพอศิลาในดานตาง ๆ เชน ๑) ดานการประสบผลสําเร็จในชีวิต ๒) ดานการแกไขปญหาชีวิต ๓) ดานการขอโชคลาภ ๔) ดานหนาท่ีการงาน ๕) ดานการเรียน ๖) ดานการประกอบธุรกิจ

ประชาชนไดใหความสําคัญตอหลวงพอศิลาวา เปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เม่ือยามเดือดรอนดวยเรื่องนานาประการ รวมท้ังท่ีไดอธิษฐานขอพรใหประสบความสําเร็จในการดําเนินชีวิต จินตนา ธรรมสุวรรณ : ๒๕๔๔ ทําวิจัยเรื่อง ละครแกบนหลวงพอพุทธโสธร ผลการวิจัยพบวา : ละคร เปนศิลปะการแสดงประเภทหนึ่งท่ีมนุษยใชเปนเครื่องตอบแทนบุญคุณ แดสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ีอํานวยพรใหสัมฤทธิ์ผลหลังจากท่ีไดบนบานไว วิทยานิพนธเรื่อง ละครแกบนหลวงพอพุทธโสธรนี้ มีวัตถุประสงคในการวิจัย เพ่ือศึกษาความเชื่อเก่ียวกับ พิธีกรรมแกบน การแกบนดวยละครตอ หลวงพอพุทธโสธร ณ วัดโสธรวรารามวรวิหาร อําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา และศึกษาองคประกอบของละครแกบน รวมถึงบทบาทหนาท่ีของละครแกบน หลวงพอพุทธโสธร ในการวิจัยครั้งนี้เปนการศึกษาทางมานุษยวิทยา โดยใชระเบียบวิจัยเชิงคุณภาพ ดวยการรวบรวมขอมูลจากภาคสนาม รวมถึงการคนควาขอมูลตาง ๆ จากเอกสารและงานวิจัย ท่ีเก่ียวของ ซ่ึงใชระยะเวลาในการศึกษาตั้งแต พ.ศ. ๒๕๔๑ – ๒๕๔๒ จากผลการศึกษาพบวา ละครแกบน ณ วัดโสธรวรารามวรวิหาร มีมาตั้งแตในอดีต ซ่ึงไมปรากฏหลักฐานชัดเจน มีเพียงคําบอกเลาสืบตอกันมา ในปจจุบันละครแกบนท่ียังคงแสดงอยูอยางตอเนื่อง มีเพียงคณะเดียวเทานั้น ไดแก คณะประจวบเจริญศิลป โดยมี นางประจวบ เพชรพันธ เปนผูกอตั้งคณะและควบคุมดูแล มีผูแสดงท้ังสิ้น ๓๑ คน เปนผูแสดงละคร ๒๘ คน และผูบรรเลงดนตรี ๓ คน เครื่องดนตรีท่ีใช ไดแก ระนาดเอก ตะโพน โทน ฉ่ิง ฉาบและกรับ รูปแบบการแสดงละครท่ีปรากฏ พบในสองลักษณะ ไดแก ลักษณะของละครรํา หรือ การรําถวาย ซ่ึงประกอบดวย การรําถวายมือ และการรําชุดพิเศษ และลักษณะ ท่ีสองคือการแสดงละครเปนเรื่อง อัตราการวาจางก็จะแตกตางกันออกไปตามขนาด และประเภทของชุดการแสดง โดยจะมีการถวายเงินสวนหนึ่งแกทางวัดโสธรวรารามวรวิหาร การแสดงของละครแกบน คณะประจวบ เจริญศิลป มีบทบาทเปนการแสดงเชิงพิธีกรรม และละครแกบนก็เปนรูปแบบหนึ่งของสัญลักษณท่ีใชเปนสื่อกลางระหวางปจเจกบุคคล ผูมีความศรัทธาในหลวงพอพุทธโสธร กับหลวงพอพุทธโสธรซ่ึงถือเปนตัวแทนของสิ่งศักดิ์สิทธิ์ท่ีสามารถอํานวยพรใหสัมฤทธิ์ผลได บทบาทประการนี้

๒๘

จึงเปนบทบาทท่ีเดนชัด ท่ีสุดของละครแกบนหลวงพอพุทธโสธร และการแสดงละครแกบนก็จะยังคงเปนเอกลักษณ เฉพาะและอยูคูกับวัดโสธรวรารามวรวิหารตอไป ตราบท่ีประชาชนยังมีความศรัทธาในหลวงพอพุทธโสธรไมเสื่อมคลาย

บทท่ี ๓ ระเบียบวิธีการวิจัย

การวิจัย เรื่อง ความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของ วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผูวิจัยไดดําเนินการดังนี้

๓.๑ วิธีการดําเนินวิจัย ๓.๑.๑ แหลงขอมูลจากบุคคล ไดแก ผูใหญบานหมู ๔ สมาชิกองคการบริหาร สวนตําบลหัวไทร คณะกรรมการวัดหัวไทร ผูเขารวมกิจกรรม โดยมีการเลือกกลุมตัวอยางมาเปนตัวแทนในการศึกษาดังนี้ ๑. กลุมตัวอยางแบบเจาะจง เปนการเลือกผูมีหนาท่ีเก่ียวของกับการ จัดงานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดแก ผูใหญบานหมู ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา คณะกรรมการวัดทางขามนอย ๒. กลุมตัวอยางแบบบังเอิญ เปนการสอบถามขอมูลจากผูเขารวมกิจกรรม งานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๓.๑.๒ แหลงขอมูลจากเอกสาร ผูวิจัยไดศึกษาขอมูลจากเอกสารเผยแพรประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัดทางขามนอย เอกสารจากประวัติศาสตร วัฒนธรรมของอําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐาน

๓.๒ เครื่องมือท่ีใชในการวิจัย ผูวิจัยไดสรางเครื่องมือท่ีใชในการสัมภาษณ การสังเกตท้ังแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวม การใชแบบสอบถามในการสัมภาษณ ๑. การสัมภาษณ ซ่ึงผูวิจัยกําหนดประเด็น คําถามไวตามวัตถุประสงคของการวิจัยและการออกแบบคําถาม โดยเก็บขอมูล ดังนี้ ๑.๑ ขอมูลท่ัวไปของผูใหสัมภาษณ ไดแก ชื่อ-นามสกุล เพศ ภูมิลําเนา อาชีพ ๑.๒ ประวัติความเปนมาของประเพณี ปดทองพระพุทธชินราช ๑.๓ กระบวนการจัดงาน (จัดสถานท่ีใด มีข้ันตอนอะไรบาง) ๒. การสังเกต โดยการสังเกตแบบมีสวนรวมโดยเขาไปสังเกตการณระหวางท่ีงานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ไดดําเนินการเพ่ือศึกษาถึงกระบวนการจัดงานและกิจกรรมตาง ๆ ท่ีอยูในงาน ๓. การใชแบบสอบถาม ใชแบบสอบถามประชาชนท่ีเขามารวมงานปดทองพระพุทธชินราช โดยสอบถามเก่ียวกับความเชื่อตอองคพระพุทธชินราชของวัดทางขามนอย

๓๐

๓.๓ การเก็บรวบรวมขอมูล การเก็บรวบรวมขอมูล แบงเปน ๒ สวน ๑. เก็บรวบรวมขอมูลจากเอกสารท่ีเก่ียวของ ดังนี้ ๑.๑ ขอมูลประวัติความเปนมาของประเพณีปดทอง พระพุทธชินราช ๑.๒ แนวคิดสืบสานประเพณีทองถ่ิน ๑.๓ แนวคิดในการถายทอดประเพณี ๒. การจัดเก็บขอมูลจากภาคสนาม ไดแก ๒.๑ การสัมภาษณแบบเจาะลึก ( In-depth interview) ไดแก ผูนําชุมชน คณะกรรมการ และผูมีสวนเก่ียวของ ๒.๒ สังเกตแบบมีสวนรวม ( Participant Observation) และไมมีสวนรวม (Non participant Observation) โดยผูวิจัยเขาไปสังเกตการณ ขณะท่ีมีการจัดงานและสังเกตการณขณะท่ีไมไดจัดงาน โดยมองภาพรวมท้ังกระบวนการข้ันตอนในการจัดงานความเชื่อของประชาชนในชุมชนและผูท่ีเก่ียวของในการประกอบพิธีกรรมทางศาสนาในภาคเชาของวันเปดงานตลอดจนกิจกรรมของการจัดงานตลอด ๒ วัน ๒.๓ ใชแบบสอบถาม สอบถามประชาชนเก่ียวกับความเชื่อของพระพุทธชินราชวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

๓.๔ การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดใชกรอบแนวคิดทฤษฎีในบทท่ี ๒ มาวิเคราะหเพ่ือนําเสนอขอมูลดังนี้ ๑. วิเคราะหกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมของคณะกรรมการ วัดทางขามนอย ในการบริหารจัดการงาน ประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ตําบลหัวไทร อําเภอ บางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒. วิเคราะหปจจัยท่ีมีความเชื่อในการนมัสการพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย

๓.๕ การตรวจสอบขอมูล ในการวิจัยครั้งนี้ ผูวิจัยใชการตรวจสอบ ความนาเชื่อถือของขอมูลโดยใชการตรวจสอบแบบ สามเสา ( Triangulation) คือ การตรวจสอบขอมูลจากแหลงท่ีมาตางกัน จากขอมูลหลาย ๆ แหลง โดยไดตรวจสอบจากเอกสารบุคคล สถานท่ีและเวลา จากผูใหขอมูลหลัก ( Key Informants) โดยการซักถามและสังเกต นอกจากนี้ยังใชวิธีการวิเคราะหเนื้อหาโดยการหาคําสําคัญท่ีปรากฏในขอความตาง ๆ ท่ีไดจากการสัมภาษณเชิงลึก

๓.๖ ระยะเวลาในการเก็บขอมูล ผูวิจัยไดลงพ้ืนท่ีในการเก็บขอมูลตั้งแตเดือนมีนาคม ๒๕๕๖ ในประเพณีปดทอง พระพุทธชินราช จากนั้นผูวิจัยไดรวบรวมสังเคราะห เรียบเรียงขอมูลในรูปแบบรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ

บทท่ี ๔ การอภิปรายผล

ตอนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป ตารางท่ี ๑ เพศ N = ๔๕

เพศ จํานวน (คน) รอยละ

ชาย ๙ ๒๐

หญิง ๓๖ ๘๐

รวม ๔๕ ๑๐๐

ผูตอบแบบสอบถาม เปนเพศหญิง มีจํานวน ๓๖ คน คิดเปนรอยละ ๘๐ และเปนเพศชาย มีจํานวน ๙ คน คิดเปนรอยละ ๒๐

ตารางท่ี ๒ อายุ

N = ๔๕

อายุ (ป) จํานวน (คน) รอยละ

นอยกวา ๑๕ ๒ ๔.๔๔

๑๖ – ๒๐ ๒ ๔.๔๔

๒๑ – ๒๕ ๕ ๑๑.๑๑

๒๖ – ๓๐ ๒ ๔.๔๔

๓๑ – ๓๕ ๑๓ ๒๘.๘๘

๓๖ – ๔๐ ๓ ๖.๖๖

๔๑ – ๔๕ ๕ ๑๑.๑๑

๔๖ – ๕๐ ๔ ๘.๘๘

๕๑ – ๕๕ ๓ ๖.๖๖

๕๖ – ๖๐ ๒ ๔.๔๔

๖๑ ปข้ึนไป ๔ ๘.๘๘

๓๒

ผูตอบแบบสอบถามสวนใหญ อายุ ๓๑ – ๓๕ ป อยูในระดับ มากท่ีสุด มีจํานวน ๑๓ คน คิดเปนรอยละ ๒๘.๘๘ รองลงมา อายุ ๒๑ – ๒๕ ป และ ๔๑ – ๔๕ ป มีจํานวน ๕ คน คิดเปนรอยละ ๑๑.๑๑ และอายุ ๔๖ – ๕๐ ป และ ๖๑ ปข้ึนไป มีจํานวน ๔ คน คิดเปนรอยละ ๘.๘๘

ตารางท่ี ๓ ภูมิลําเนา N = ๔๕

ภูมิลําเนา จํานวน (คน) รอยละ

ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๗ ๖๐

ตําบลปากน้ํา อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๘ ๑๗.๗๗

ตําบลบางกระเจ็ด อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒ ๔.๔๔

อําเภอคลองเข่ือน จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒ ๔.๔๔

อําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑ ๒.๒๒

อําเภอบางน้ําเปรี้ยว จังหวัดฉะเชิงเทรา ๑ ๒.๒๒

จังหวัดปราจีนบุรี ๑ ๒.๒๒

ลาดกระบัง ๑ ๒.๒๒

กรุงเทพมหานคร ๑ ๒.๒๒

จังหวัดเชียงใหม ๑ ๒.๒๒

รวม ๔๕ ๑๐๐

ผูตอบแบบสอบถามมีภูมิลําเนาอยูท่ี ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา อยูในระดับมากท่ีสุด มีจํานวน ๒๗ คน คิดเปนรอยละ ๖๐ รองลงมา ตําบลปากน้ํา อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจํานวน ๘ คน คิดเปนรอยละ ๑๗.๗๗ และตําบลบางกระเจ็ด อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา และอําเภอคลองเข่ือน จังหวัดฉะเชิงเทรา มีจํานวน ๒ คน คิดเปนรอยละ ๔.๔๔

๓๓

ตารางท่ี ๔ อาชีพ N = ๔๕

อาชีพ จํานวน (คน) รอยละ

เกษตรกร ๑๓ ๒๘.๘๘

คาขาย ๑ ๒.๒๒

รับจาง ๑๐ ๒๒.๒๒

ขาราชการ ๒ ๔.๔๔

นักการเมืองทองถ่ิน - -

ผูนําชุมชน - -

นักเรียน ๓ ๖.๖๖

นักศึกษา ๒ ๔.๔๔

อ่ืน ๆ ไดแก กิจการสวนตัว เจาหนาท่ีบัญชี ดูแลแมอยูท่ีบาน

๘ ๑๗.๗๗

ไมตอบแบบสอบถาม ๖ ๑๓.๓๓

รวม ๔๕ ๑๐๐

ผูตอบแบบสอบถาม มีอาชีพเกษตร มากท่ีสุด มีจํานวน ๑๓ คน คิดเปนรอยละ ๒๘.๘๘ รองลงมาอาชีพรับจาง จํานวน ๑๐ คน คิดเปนรอยละ ๒๒.๒๒ และอ่ืน ๆ ไดแก กิจการสวนตัว, เจาหนาท่ีบัญชี และดูแลแมอยูท่ีบาน มีจํานวน ๘ คน คิดเปนรอยละ ๑๗.๗๗ ตอนท่ี ๒ ขอมูลเกี่ยวกับความเช่ือท่ีมีตอประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ตารางท่ี ๕ ชวงเวลาท่ีมารวมงานประจําป วัดทางขามนอย N = ๔๕

ชวงเวลา จํานวน (คน) รอยละ

ประเพณีแหพระพุทธชินราช ในเดือน ๑๑ ๒๘ ๖๒.๒๒

ประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ในเดือน ๔ ๔๕ ๑๐๐

รวม - -

๓๔

ผูตอบแบบสอบถาม มารวมงานประจําป วัดทางขามนอยในชวงประเพณีปดทอง พระพุทธชินราช ในเดือน ๔ มากท่ีสุด มีจํานวน ๔๕ คน คิดเปนรอยละ ๑๐๐ และรองลงมารวมงานประเพณีแหพระพุทธชินราช ในเดือน ๑๑ มีจํานวน ๒๘ คน คิดเปนรอยละ ๖๒.๒๒ ตารางท่ี ๖ จํานวนครั้งท่ีมารวมงานประจําปพระพุทธชินราช N = ๔๕

จํานวน (ครั้ง) จํานวน (คน) รอยละ

๑ – ๓ ครั้ง ๒๒ ๔๘.๘๘

๔ – ๖ ครั้ง ๑ ๒.๒๒

๗ – ๙ ครั้ง ๒ ๔.๔๔

๑๐ – ๑๒ ครั้ง - -

๑๓ – ๑๕ ครั้ง - -

๑๖ ครั้งข้ึนไป ๒๐ ๔๔.๔๔

รวม ๔๕ ๑๐๐

ผูตอบแบบสอบถาม มารวมงานประจําปพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา จํานวน ๑ – ๓ ครั้ง มากท่ีสุด มีจํานวน ๒๒ คน คิดเปนรอยละ ๔๘.๘๘ รองลงมา เปน ๑๖ ครั้งข้ึนไป มีจํานวน ๒๐ คน คิดเปนรอยละ ๔๔.๔๔ และ ๗ – ๙ ครั้ง มีจํานวน ๒ คน คิดเปนรอยละ ๔.๔๔ ตารางท่ี ๗ สาเหตุท่ีมารวมงานประจําปพระพุทธชินราช N = ๔๕

สาเหตุท่ีมารวมงานประจําป จํานวน (คน) รอยละ

มาเพ่ือแกบน ๑๙ ๔๒.๒๒

มาเพ่ือปดทองและขอพร ๓๐ ๖๖.๖๖

มาเพ่ือทําบุญ ๒๖ ๕๗.๗๗

มาเพ่ือสรางความสัมพันธของหมูบาน ๔ ๘.๘๘

อ่ืน ๆ ไดแก เปนกรรมการวัด ๑ ๒.๒๒

๓๕

ผูตอบแบบสอบถาม มารวมงานประจําปพระพุทธชินราช เพ่ือปดทองและขอพร มากท่ีสุด มีจํานวน ๓๐ คน คิดเปนรอยละ ๖๖.๖๖ รองลงมา มาเพ่ือทําบุญ จํานวน ๒๖ คน คิดเปนรอยละ ๕๗.๗๗ และมาเพ่ือแกบน จํานวน ๑๙ คน คิดเปนรอยละ ๔๒.๒๒ ตารางท่ี ๘ มาแกบนพระพุทธชินราชเรื่อง N = ๔๕

มาแกบน เรื่อง จํานวน (คน) รอยละ

การทําฟารมกุง ๔ ๘.๘๘

การทําฟารมปลา ๒ ๔.๔๔

คาขาย ๓ ๖.๖๖

ขายท่ีดินได ๓ ๖.๖๖

เกณฑทหาร - -

หายจากการปวย ๘ ๑๗.๗๗

เรื่องเรียน ๗ ๑๕.๕๕

การงานทํา ๓ ๖.๖๖

อ่ืน ๆ การทํานา ๘ ๑๗.๗๗

อ่ืน ๆ การเกษตร ๒ ๔.๔๔

ไมตอบแบบสอบถาม ๕ ๑๑.๑๑

รวม ๔๕ ๑๐๐

ผูตอบแบบสอบถาม ท่ีมารวมงานพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอ บางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา มาเพ่ือแกบนในเรื่อง การหายจากการปวย และการทํานา มากท่ีสุด จํานวน ๘ คน คิดเปนรอยละ ๑๗.๗๗ รองลงมา เปนเรื่องเรียน จํานวน ๗ คน คิดเปนรอยละ ๑๕.๕๕ และการทําฟารมกุง จํานวน ๔ คน คิดเปนรอยละ ๘.๘๘

๓๖

ตอนท่ี ๓ ขอเสนอแนะในการจัดงานประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ณ วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

๓.๑ อยากใหมีประเพณีนี้ตอเนื่องทุกป เพ่ือจะไดสืบสานประเพณีอันดีงามของหมูบาน ทางขามนอย ๓.๒ กรรมการวัดจัดกิจกรรมไดดี ๓.๓ ควรมีการจัดระเบียบสถานท่ีจอดรถ ๓.๔ ควรมีการเพ่ิมหองน้ําเนื่องจากหองน้ํามีนอยเกินไป ๓.๕ ประทับใจลิเกมากเนื่องจากแสดงไดดี

ผลท่ีไดจากการศึกษาเชิงเอกสารหลักฐานตาง ๆ ท่ีผูรูหลายทานไดบอกเลาประกอบ การสัมภาษณ นายสุรพล โกศาสตร ผูใหญ หมูท่ี ๔ บานสมาชิกองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร คณะกรรมการวัด ผูเขารวมงานและการสังเกต การจัดประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัด ทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ประจําป ๒๕๕๖ สรุปไดดังนี้ ๑. ประวัติความเปนมาของประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผูวิจัยไดทําการสัมภาษณ ผูนําชุมชน นายสุรพล โกศาสตร ผูใหญบานหมู ๔ คุณประสิทธิ์ พลัดอยู ประธานคณะกรรมการวัดทางขามนอย คุณบัณฑูรย บุญประเสริฐ ขาราชการบํานาญ ไดใหขอมูลดังนี้ วัดทางขามนอย ปจจุบันตั้งอยูในหมูท่ี ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา มีความเปนมาดังนี้ (บัณฑูรย บุญประเสริฐ : ๒๕๕๓) เนื่องดวยมีพระธุดงค ๓ รูป คือ พระกลั่น พระเทียน และพระหมก ไดเดินธุดงคจากจังหวัดนครราชสีมา จนกระท่ังถึงหมูบานทางขามนอย (ท่ีชื่อหมูบานทางขามนอยเนื่องจากบริเวณหมูบานแตดั้งเดิมเปนปาไมและมีลําธารท่ีมีน้ําไหลผาน สัตวตาง ๆ พากันเดินขามลําธารท่ีเปนทางเดินของสัตว จากฝงหนึ่งไปยังอีกฝงหนึ่งซ่ึงเปนทางเล็ก ๆ และตื้นเขิน โดยสัตวตาง ๆ ใชขามไปมา ปจจุบันก็คือบริเวณขางวัด และไดเปลี่ยนมาเปนคลองคูมอญ) ตอจากนั้นราษฎรก็ไดนิมนตพระท้ัง ๓ รูป ใหอยูประจําในหมูบาน และไดปรึกษากันท่ีจะสรางสํานักสงฆข้ึน โดยมีนายเกิด นางแหรม ราษฎรในหมูบานไดยกท่ีดินใหเปนสํานักสงฆจํานวน ๑๒ ไรเศษ และไดยกบานให จํานวน ๓ หลัง เพ่ือใชเปนกุฏิ และไดเปนสํานักสงฆในปใดไมปรากฏ ตอมามีการกอสรางเพ่ิมเติมและไดยกฐานะเปนวัด เม่ือป พ.ศ. ๒๔๒๔ โดยใชชื่อวา วัดศรีวิไลราษฎรศรัทธาธรรมขามนอย อําเภอหัวไทร (ปจจุบันเปลี่ยนมาเปนอําเภอบางคลา) จังหวัดฉะเชิงเทรา ตอจากนั้นก็มีการสรางพระอุโบสถ ในป พ.ศ.๒๔๖๔ แตก็ไมมีพระประธาน ในพระอุโบสถ นายขํา นายกุล และนายจี๊ด ราษฎรในหมูบานไดเดินทางไปจังหวัดพิษณุโลก เพ่ือไปนมัสการหลวงพอพระพุทธชินราช และไดหาชางมาทําแบบจําลองหลอหลวงพอพุทธชินราชข้ึน เพ่ือประดิษฐานในพระอุโบสถ (หลังเดิม) และไดมีการจัดงานเฉลิมฉลองใหหลวงพอปละ ๒ ครั้ง ตลอดมา คือ

๓๗

๑. งานประเพณีแหหลวงพอพุทธชินราช คือวันแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ หลังออกพรรษา ๑ วัน ในสมัยกอนจะนําหลวงพอพุทธชินราชจําลอง แหทางน้ําไปตามลําคลองตาง ๆ ออกสูแมน้ําบางปะกง เพ่ือใหประชาชนไดปดทองและสักการบูชา ซ่ึงปจจุบันมีถนน แมน้ําลําคลองจึงไมมีการสัญจรไปมาจึงเปลี่ยนมาแหทางบกโดยใชรถเปนขบวนแห ราษฎรไดปฏิบัติกันเปนประจําทุกปเม่ือถึงวันนี้ ๒. ประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ซ่ึงถือเปนงานประจําป เปนการสมโภชองคหลวงพอในเดือนท่ีมีการสรางหลวงพอข้ึน โดยจัดงานใหหลวงพอ ๒ วัน คือ ข้ึน ๑๒ คํ่า และ ข้ึน ๑๓ คํ่า เดือน ๔ เพ่ือใหประชาชนในหมูบานและประชาชนท่ีมาจากตางถ่ิน ไดปดทอง กราบไหว สักการบูชา

๓๘

การจัดงานปละ ๒ ครั้ง ทางคณะกรรมการวัดจะตองจัดลิเกมาแสดงใหหลวงพอ ซ่ึงมีการปฏิบัติสืบตอกันมา เนื่องจากหลวงพอพุทธชินราชเปนสิ่งศักดิ์สิทธิ์ ประชาชนไดมาบนบานตอหลวงพอในเรื่องตาง ๆ ปรากฏวาประสบความสําเร็จ จึงนําลิเกมาแสดง มารําถวาย เปนประจําปใดไมจัดงานซ่ึงเคยมีมา จะเกิดอาเพศตาง ๆ ในหมูบาน

๒. การจัดงานประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัดทางขามนอย คําวา “ประเพณี” หมายถึง แบบความเชื่อ ความคิดการกระทํา คานิยม ทัศนคติ ศีลธรรม จารีต ระเบียบแบบแผนและวิธีการกระทําสิ่งตาง ๆ ตลอดจนถึงการประกอบพิธีกรรมในโอกาสตาง ๆ ท่ีกระทํากันมาแตในอดีต ลักษณะสําคัญของประเพณีคือ เปนสิ่งท่ีปฏิบัติถือกันมานาน จนกลายเปนแบบอยางความคิด หรือการกระทําไดสืบตอกันมาและยังมีอิทธิพลอยูในปจจุบัน ประเพณีเกิดจากความเชื่อในสิ่งท่ีมีอํานาจเหนือมนุษยและเหตุการณท่ีเกิดข้ึน โดยไมทราบสาเหตุตาง ๆ ฉะนั้น ประเพณี คือ ความประพฤติของคนสวนรวมท่ีถือกันเปนธรรมเนียมหรือเปนระเบียบแบบแผน และสืบตอกันมาจนเปนพิมพเดียวกันและยังคงอยูไดเพราะมีสิ่งใหมเขามาเสริมสรางสิ่งเกาอยูเสมอ และกลมกลืนเขากันไดดี จึงทําใหประเพณีเดิมยังคงรูปแบบท่ีมีชีวิตอยูตอไปได โดยคนในสังคมผูเปนเจาของประเพณี ไมเห็นการเปลี่ยนแปลง ซ่ึงมีอยูในทุกยุคทุกสมัย เพราะเปนการคอยเปลี่ยนไปทีละนอย โดยไมรูตัวแตจะเปลี่ยนไปมากหรือนอยก็แลวแตความเปนไปท้ังทางดานประวัติศาสตรและวัฒนธรรม (สุพัตรา สุภาพ, ๒๕๔๓ : ๑๐๗ – ๑๐๘)

- การสืบสานประเพณีทองถิ่น คําวา ทองถ่ิน หมายถึง พ้ืนท่ีและขอบเขตท่ีชุมชนหมูบาน เมือง มีการปะทะสรรคกันทางสังคม เศรษฐกิจและวัฒนธรรม จนปรากฏรูปแบบ ทางวัฒนธรรมท่ีเหมือนกันและแตกตางกันไปจากชุมชน หมูบาน และเมือง ในทองถ่ินซ่ึงจะพบวา วัฒนธรรมและประเพณี ของทองถ่ินแตละแหงอาจมีรูปแบบแตกตางกันไปตามสภาพภูมิศาสตร ศาสนา และความเชื่อ ในภาคกลาง สภาพภูมิศาสตร สามารถแบงวัฒนธรรมออกเปน ๓ ลักษณะ คือ ๑. ทองถ่ินท่ีตั้งอยูสองฟากฝง แมน้ํา ใชเสนทางน้ําในการไปมาหาสู ซ้ือขายสั่งของ เครื่องอุปโภคบริโภคกัน ทองถ่ินดังกลาว เชนนี้ คือทองถ่ินรุนเกาท่ีสุด ๒. ทองถ่ินท่ีตั้งอยูตามทองทุง ตามท่ีราบ ซ่ึงในภาคกลางมักเปนพ้ืนท่ีอันกวางใหญ และมีชาวนามาตั้งบานเรือนหลายหมูบานเขามาทํานาในท่ีราบลุมแหงนี้ บางแหงนี้เปนทุงราบไมกวางใหญ ก็มีทองถ่ินเดียว โดยมีหนองน้ําเปนแหลงอุปโภคบริโภค การติดตอสื่อสารสวนใหญ ใชเสนทางน้ํา เชน คู คลอง มีเรือแลน เปนตน

๓๙

๓. ทองถ่ินท่ีอยูหางจากทองทุง เปนพ้ืนท่ีดอนและไกลจากชุมชนมักเรียกวา “บานปา” ดานการเปลี่ยนแปลงทองถ่ินท่ีอยูกลางทุงจะเปลี่ยนเขาสูระบบเศรษฐกิจใหม เพ่ือการคา เชนเดียวกับชุมชนริมน้ํา เม่ือกลาวถึง วัฒนธรรมทองถ่ินภาคกลางแลวจะพบวาภาคกลาง มีประชาชนอยู จํานวนมาก หลายกลุม หลายเชื้อชาติ และหลากหลายวัฒนธรรม ทําใหประเพณีทองถ่ิน มีความแตกตางกันไป เชน การแตงกาย การละเลน ความเชื่อ ฯลฯ ซ่ึงผู วิจัยไดมีโอกาส ไปรวมกิจกรรมการสืบสานประเพณี แหพระพุทธชินราชและแขงขันเรือพาย บานทางขามนอย ครั้งท่ี ๑๒ วันอาทิตยท่ี ๒๔ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓ ณ วัดทางขามนอย อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา โดยทางคณะกรรมการวัด และองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร ไดอัญเชิญหลวงพอพุทธชินราช ประดิษฐานบนรถยนต แหไปยังวัดตาง ๆ ในพ้ืนท่ีตําบลหัวไทร โดยเริ่มจากวัดลาดบัวขาว วัดใหมคูมอญ และวัดหัวไทร เพ่ือใหพ่ีนองประชาชน และพุทธศาสนิกชน ไดทําบุญปดทอง และนมัสการหลวงพอ พระพุทธชินราช หลังเสร็จพิธีจากวัดหัวไทร ไดอัญเชิญ หลวงพอพุทธชินราช กลับประดิษฐานยังโบสถวัดทางขามนอย ซ่ึงผูนําทองถ่ิน นักเรียน พอคา ประชาชน แขกผูมีเกียรติ ท่ีมารวมงานตั้งแถวขบวนแหหลวงพอพระพุทธชินราช บริเวณซุมประตูทางเขาวัด โดยจะแหรอบโบสถ จํานวน ๓ รอบ ซ่ึงนายสุรพล โกศาสตร ผูใหญบานหมู ๔ ไดเลาใหฟงวา ในอดีตการแหหลวงพอพุทธชินราช จะแหทางเรือ ใชเรือบรรทุกขาวแห โดยจะออกจากวัดทางขามนอย ไปยังวัดลาดบัวขาว ผานวัดบางกระเจ็ด ออกจากวัดบางกระเจ็ด ไปยังวัดบานกลวย มาสุดท่ีวัดหัวไทร ใหประชาชน ในการกราบสักการะ ปจจุบัน การชลประทานปดทางน้ําและน้ํามันราคาแพง จึงเปลี่ยนจากแหทางน้ํามาเปนทางบกแทน ชวงบาย มีการแขงขัน เรือพายพ้ืนบานประเภทตาง ๆ กีฬาพ้ืนบาน เปนตน ในการจัดงานทางคณะกรรมการวัดจะตองจัดลิเก มาแสดงถวายใหหลวงพอ โดยประชาชนมีความเชื่อวา ขอพรหรือบนบานกับหลวงพอพุทธชินราชไว ถาสิ่งท่ีขอไดดังสมปรารถนา ก็จะนําลิเกมาแสดงถวาย ในอดีตท่ีผานมาจะเรี่ยไรเงินคาลิเกไปตามบาน ปจจุบันเม่ือถึงงานประจําป ประชาชนก็จะนําเงินบริจาคมารวมกัน ใหคณะกรรมการวัดจางลิเกมาเลนถวายหลวงพอ ซ่ึงคาลิเก ประมาณ ๘๘,๘๐๐ บาท / คืน นอกจากนี้ ชวงกลางคืน ประชาชนท่ีแกบนจะมาแจงกับคณะกรรมการวัด ใหคณะลิเกรําถวาย โดยคณะลิเกจะจัดชุดรําถวายชุดละ ๖ คน ซ่ึงประชาชนในตําบลหัวไทร มีความเชื่อวา หลวงพอ พระ พุทธชินราชโปรดลิเก และการรําถวาย หากนําภาพยนตรมาฉายจะทําการคาไมข้ึน ดังนั้น ประชาชนจะอธิฐานและแกบนดวยลิเก จากคําบอกเลาของคณะกรรมการวัด ประชาชนท่ีเขารวมงานสวนใหญจะบนเรื่องการขายท่ีดิน การเลี้ยงกุง การประกอบอาชีพ เม่ือไดราคามากก็จะนําลิเกมาถวาย สวนคนท่ีมีกําลังทรัพยนอย จะบนในเรื่องการใหหายจากเจ็บไข การสมัครเรียน เปนตน ก็จะใหชุดลิเก รําถวาย บางคืน ผูแสดงลิเกรําถึง ๒๐ เท่ียวข้ึนไปก็มี โดยผูเขียนไดไปรวมการสืบสานประเพณี แหพระพุทธชินราช ในแรม ๑ คํ่า เดือน ๑๑ และเม่ือวันท่ี ๑๕ – ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ไดมีโอกาสไปรวมประเพณีปดทองพระพุทธชินราช ซ่ึงเปนงานประจําป สมโภชองคหลวงพอท่ีทาง วัดทางขามนอยไดจัดงาน จํานวน ๒ วัน คือ วันท่ี ๑๕ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ในชวงเชาทางคณะกรรมการวัดทางขามนอยไดทําพิธี บวงสรวงหลวงพอพุทธชินราชในครั้งนี้ดวย ในการนี้ ของท่ีใชในการบวงสรวงหลวงพอพุทธชินราช คือ ผลไม ๕ อยาง บายศรี ซ่ึงทางคณะกรรมการวัดไดนิมนตพระสงฆ จํานวน ๙ รูป มาสวดเจริญพระพุทธมนต ใหหลวงพอในวันแรกของการจัดงาน มีลิเกมาแสดงถวายหลวงพอในภาคกลางคืน สวนวันท่ี ๑๖ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๔ มีลิเกแสดงท้ังกลางวันและกลางคืน รวมท้ัง นักแสดงลิเกไดรําถวายหลวงพอพุทธชินราชกอนแสดงลิเกดวย จากหลักฐานทาง

๔๐

ประวัติศาสตร ดังกลาว จะพบวาแตละวัฒนธรรม มีบริบท มีประวัติเฉพาะของตัวเอง จากแนวคิดนี้ จอหนสตัน (๑๙๗๘ : ๑๓๐) มีความเห็นสอดคลองกับ โบ แอส ท่ีวา วัฒนธรรมแตละวัฒนธรรมมีเอกลักษณเปนของตนเอง และถึงแมวาวัฒนธรรมจะแตกตางกัน แตจะไมมีประเพณีวัฒนธรรมไหนดีกวา เดนกวา ประเพณีวัฒนธรรมอ่ืน ๆ ท้ังนี้เพราะแตละวัฒนธรรม มีความพอเพียงอยูในตัวของมันเอง และสามารถใหประโยชน เกิดคุณคาทางจิตใจแกคนในทองถ่ินสืบตอ ๆ กัน จากการเขาสังเกตการณ และเขารวมจัดงานประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ประจําป ๒๕๕๖ ผูวิจัยพบวา การจัดงานไดรับความรวมมือจากคณะกรรมการวัดทางขามนอย องคการบริหารสวนตําบลหัวไทร หนวยงาน สถานศึกษา และประชาชนในหมู ๔ บานทางขามนอย การจัดงานดังกลาวมีการดําเนินการดังนี้ ๑. การจัดงานวันแรก (วันท่ี ๒๐ มีนาคม ๒๕๕๖) จากการเขาสังเกตการณ ท้ังแบบมีสวนรวมและไมมีสวนรวม รวมท้ังสัมภาษณ คณะกรรมการในการดําเนินงาน ไดรายละเอียดในการจัดงานปดทองพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ประจําป ๒๕๕๖ ดังนี้ พิธีชวงเชา ข้ันตอนแรก ไหวศาลเพียงตา ของท่ีใชในการเซนไหว ประกอบดวย ๑. บายศรีปากชาม ๑ ชุด ๒. ขนมตมขาว ขนมตมแดง ๑ ชุด ๓. กลวย ๑ หวี ๔. ไก ๑ ตัว ๕. เหลา ๑ ขวด ๖. ผลไม / ขนม ๑ อยาง หรือ ๒ อยาง ๗. พวงมาลัยพลาสติก ๑ พวง และไหวศาลพระภูมิ ๑ พวง ๘. ผา ๓ สี ๑ ชุด และไหวศาลพระภูมิ / ศาลเจาท่ี ๒ ชุด ๙. น้ําอบ ๑๐. ทองคําเปลว ๗ แผน

ข้ันตอนท่ี ๒ พิธีทางศาสนา ในเวลา ๙.๐๐ น.

นิมนตพระสงฆ จํานวน ๙ รูป มาสวดมนต พระปริตร สวดธรรมจักรและเจริญพุทธมนต ท้ังนี้พระพุทธชินราชจําลองท่ีจะนํามาใหคนบูชาและเชาในวันงานจะนําเขามาในโบสถตอนคํ่ากอนวันงาน เพ่ือทําพิธีสงฆใหเกิดสิริมงคลของบวงสรวง พระพุทธชินราช ประกอบดวย ผลไม ๕ อยาง บายศรี ๕ ชั้น

๑ หลัก มะพราว ๒ ลูก สับปะรด ขนมตมขาว ขนมตมแดง อาหาร หัวหมู ขนมตาง ๆ

๔๑

ซ่ึงผูวิจัยไดเขาไปรวมพิธีดวย ตั้งแตตนจนจบ พิธีสงฆในชวงเชา ซ่ึงคนท่ีเขารวมพิธีจะเปนคณะกรรมการวัดทางขามนอยเปนสวนใหญ ท้ังนี้ผูทําบายศรีถวายหลวงพอเปนประจําตอเนื่องมา แลว ๓ ป คือ ปาเงียบ บัวลอย อายุ ๗๔ ป โดยไดเลาใหผูวิจัยฟงวามีความศรัทธาในหลวงพอมากตั้งแตเด็ก จึงมีความตั้งใจท่ีทําบายศรีถวายในพิธีบวงสรวง หลวงพอพระพุทธชินราช

ซ่ึงจะสังเกตวา ประชาชนจะทยอยมาไหวและปดทองหลวงพอพระพุทธชินราชในชวงสายของวันแรก และจะเปนจํานวนมากในชวงตอนกลางคืน

ในตอนคํ่าทางคณะกรรมการวัด ไดจัดลิเกคณะศรราม มาเลนถวาย โดยจางคืนละ ๙๐,๐๐๐ บาท กอนแสดงลิเก คณะลิเกจะมีนางรํา มารําถวาย รอบแรก แสดงเวลา ๑๙.๐๐ น. รวมท้ังสิ้น ๑๐ คน เรียกวา รําถวายมือ สวนรอบท่ี สองถึงรอบรองสุดทาย จํานวน ๕ คน และรอบสุดทาย จํานวน ๑๐ คน เหมือนรอบแรก จากการสอบถามคณะกรรมการวัดทางขามนอย ไดกลาววา ในคืนวันท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖ มีคนมาแกบน จํานวน ๖๒ ราย และนางรําตองรําถวาย ๖๒ รอบ โดยคน ท่ีมา แกบนจะจายใหคณะกรรมการวัดคนละ ๓๐๐ บาท นางรําท่ีรําถวายไดเท่ียวละ ๒๐๐ บาท นําเงินเขาวัดทางขามนอย ๑๐๐ บาท จากการสัมภาษณ คณะกรรมการวัด ไดเลาใหฟงวา หลวงพอพุทธชินราชโปรดลิเกมากและการรําถวาย ซ่ึงคณะลิเกจะใหนางรํา รําถวายและแกบนตามท่ีประชาชนมาตั้งจิตอธิษฐานและไดสมปรารถนาเสร็จสิ้นกอน จึงจะเลนลิเก ซ่ึงลิเกจะเริ่มเลนประมาณ ๒๒.๐๐ น.

๔๒

๒. การจัดงานวันท่ีสอง (วันท่ี ๒๑ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๖) ในสวนของวันท่ีสองจะมีลิเกเลนภาคกลางวัน โดยคณะกรรมการวัด ไดไปติดตอ คณะลิเก

ท่ีอําเภอพนมสารคาม จังหวัดฉะเชิงเทรา และกลางคืนเปนลิเกคณะพรเทพ พรทวี ไดจางคืนละ ๑๐๐,๐๐๐ บาท ซ่ึงสอบถามจากคณะกรรมการวัดมีนางรํามารําถวาย ๑๘ เท่ียว เนื่องจาก มีผูมาแกบนตอนกลางวัน ๑๘ ราย สวนภาคกลางคืน มีจํานวน ๓๐ กวา ราย ท่ีมาแกบนหลวงพอ พระพุทธชินราช นอกจากมีลิเกและนางรํามารําถวาย ทางคณะกรรมการวัดทางขามนอย และองคการบริหารสวนตําบลหัวไทรจัดกิจกรรม ไหพาโชค รําวงยอนยุค เพ่ือนํารายไดมาบํารุงวัดทางขามนอย

จากการสัมภาษณคณะกรรมการวัด ประชาชนท่ีมาปดทองหลวงพอพุทธชินราชท่ีมาแกบน สวนใหญบนเรื่องคาขาย การสอบได การรักษาโรค ซ่ึงจะพบวาศาสนาก็กลายเปนสิ่งจําเปน ของมนุษย วัตถุประสงคเบื้องตนของศาสนาเพ่ือสงเสริมความเขาใจอันดีตอกัน ตลอดจนคงไวซ่ึงความสามัคคี องคประกอบของศาสนา ไดแก พิธีกรรม (ritual of ceremony) สัญลักษณ (symbolism) สิ่งศักดิ์สิทธิ์ (sacred objects) องคกร (organization or building) และคําสอนหรือความเชื่อ (theology or believf) ๓. แนวทางสืบสานประเพณี และการถายทอดประเพณีทองถิ่น ๑. มีการประชาสัมพันธผานรถกระจายเสียงของหมูบาน ๒. มีการประชาสัมพันธใหคนนอกพ้ืนท่ีเขามารวม เชน ทําแผนปลิวประชาสัมพันธ ๓. ใหนักเรียน นักศึกษา เขามารวมกิจกรรมการแสดง จัดกิจกรรมการแสดงหรือการละเลนพ้ืนบาน

บทท่ี ๕ สรุปผลการวิจัย และขอเสนอแนะ

การวิจัยเรื่องความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัด ทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

๕.๑ วัตถุประสงคการวิจัย ๕.๑.๑ เพ่ือศึกษาความเชื่อของประชาชนท่ีมีตอประเพณีปดทองหลวงพอพุทธชินราช วัดทางขามนอย ๕.๑.๒ เพ่ือสืบสานประเพณีปดทองหลวงพอพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย

๕.๒ วิธีการดําเนินวิจัย ๕ .๒.๑ แหลงขอมูลจากบุคคล ไดแก ผูใหญบานหมู ๔ สมาชิกองคการบริหารสวนตําบลหัวไทร คณะกรรมการวัดหัวไทร ผูเขารวมกิจกรรม โดยมีการเลือกกลุมตัวอยางมาเปนตัวแทน ในการศึกษาดังนี้

๑. กลุมตัวอยางแบบเจาะจง เปนการเลือกผูมีหนาท่ีเก่ียวของกับ การจัดงานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดแก ผูใหญบานหมู ๔ ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา คณะกรรมการวัดทางขามนอย

๒. กลุมตัวอยางแบบบังเอิญ เปนการสอบถามขอมูลจากผูเขารวมกิจกรรม งานประเพณีปดทองพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๕ .๒.๒ แหลงขอมูลจากเอกสาร ผูวิจัยไดศึกษาขอมูลจากเอกสารเผยแพรประเพณีปดทองพระพุทธชินราชของวัดทางขามนอย เอกสารจากประวัติศาสตร วัฒนธรรมของอําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา เพ่ือเปนขอมูลพ้ืนฐาน

๕.๓ การวิเคราะหขอมูล ผูวิจัยไดใชกรอบแนวคิดทฤษฎีในบทท่ี ๒ มาวิเคราะหเพ่ือนําเสนอขอมูลดังนี้ ๑. วิเคราะหกระบวนการทํางานแบบมีสวนรวมของคณะกรรมการวัดทางขามนอย ในการบริหารจัดการงาน ประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒. วิเคราะหปจจัยท่ีมีความเชื่อในการนมัสการพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย

๕.๑ สรุปผลการวิจัย ไดดังนี้ ๑. การใชแบบสอบถามผูเขารวมปดทองพระพุทธชินราช ณ วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ผูเขารวมกิจกรรมเปนเพศหญิงมากท่ีสุด รอยละ ๘๐ โดยมีอายุ ๓๑-๓๕ ป มากท่ีสุด และมีภูมิลําเนาอยูท่ีตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จ.ฉะเชิงเทรา มากท่ีสุด และรองลงมาตําบลปากน้ํา อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา อาชีพสวนใหญ คือ เกษตรกร ท้ังนี้

๔๔

ประชาชนท่ีมารวมงานประจําป วัดทางขามนอย จะมาใ นงานประเพณี ปดทองพระพุทธชินราชในเดือน ๔ มากกวา มารวมประเพณีแหพระพุทธชินราชในเดือน ๑๑ อาจจะเปนเพราะวา เดือน ๔ ชวงมีนาคมเปนชวงไมมีฝน สวนงานแหพระพุทธชินราชในเดือน ๑๑ ซ่ึงตรงกับชวงออกพรรษาเปนชวงฤดูฝนและน้ําไดทวมท่ีวัดเริ่มตั้งป พ.ศ.๒๕๕๔ – ปจจุบัน จึงทําใหเดินทางมารวมงานไมสะดวก เหมือนในเดือน ๔ จะพบวาจํานวนครั้งท่ีมารวมงาน ๑ – ๓ ครั้ง มากท่ีสุด รองลงมาจํานวน ๑๖ ครั้งข้ึนไป สาเหตุท่ีมารวมงานประจําป มีเพ่ือปดทองและขอพรมากท่ีสุด รองลงมาเพ่ือทําบุญและมาเพ่ือแกบน โดยสวนใหญจะมาบนกับหลวงพอเรื่องการหายจากการปวยและการทํานาใหไดผลผลิตดี มากท่ีสุด รองลงมา เรื่องเรียนและการทําฟารมกุง จากการท่ีผูวิจัยไดเขาไปรวมงานและสังเกตแบบมีสวนรวม รวมท้ังสัมภาษณผูนําชุมชน ในการจัดงานวันแรกจะมีพิธีกรรมทางศาสนา เวลา ๐๙.๐๐ น. พระสงฆจํานวน ๙ รูป จะมาสวดพระปริตร / สวดธรรมจักร ของท่ีบวงสรวงพระพุทธชินราช ประกอบดวย บายศรี จํานวน ๕ ชั้น หัวหมู มะพราว ๒ ลูก สั บปะรด ขนมตมแดง ขนมตมขาว อาหารและขนม ผลไม ๕ อยาง

ภาคบายประชาชนจะทยอยกันมาสักการะ พระพุทธชินราชบางคนท่ีบนไวกับหลวงพอ เม่ือสําเร็จสมปรารถนาจะมาแจงกับคณะกรรมการวัด และจายเงินคนละ ๓๐๐ บาท ในการใหนางรํา รําถวายในชวงกลางคืน โดยเริ่มเวลา ๑๙.๐๐ น. ซ่ึงนางรําท่ีรําถวายมาจากคณะลิเกท่ีคณะกรรมการวัดและประชาชนจางมาเพ่ือเลนถวายหลวงพอพระพุทธชินราช ท้ังนี้ นางรํา

ได ๒๐๐ บาท อีก ๑๐๐ บาท นํามาบํารุงวัดทางขามนอย จากการสัมภาษณผูใหญบาน หมู ๔ นายสุรพล โกศาสตร และลุงประสิทธิ์ พลัดอยู ประธานคณะกรรมการวัดทางขามนอย ไดเลาใหฟงวา หลวงพอพระพุทธชินราชโปรดการแสดงลิเกและรําถวายมาก ทางคณะกรรมการวัดจะตองนํามาแสดงทุกป ไมวาจะเปนงานแหหลวงพอพุทธชินราช ในเดือน ๑๑ และงานปดทองพระพุทธชินรา ชในเดือน ๔ ตองนํามาแสดงทุกครั้ง ตั้งแตอดีตถึงปจจุบัน หากนําภาพยนตรมาฉายจะไมเกิ ดสิริมงคลและมีเหตุการณไมดีเกิดข้ึนในหมูบาน ดังนั้นประชาชนท่ีมีกําลังทรัพยมากจะมีแกบนดวยลิเก สวนคนท่ีมีกําลังทรัพยนอยจะแกบน ดวยการใหนางรํารําถวาย ในการรําถวาย รอบแรกมีนางรํา จํานวน ๑๐ คน เรียกวา “รําถวายมือ” และรอบท่ี ๒ ถึงรองสุดทาย จํานวน ๕ คน และรอบสุดทาย ๑๐ คน

สวนวันท่ีสองของงานทุกป จะมีลิเกแสดงถวายใหหลวงพอพุทธชินราช ในชวงกลางวันดวยและมีนางรํามารําถวายแกบนตามท่ีประชาชนบนและไดสมดังปรา รถนา ท้ังภาคกลางวันและภาคกลางคืน (สอดคลองกับงานวิจัยของพระปลัดอลงกรณ อนาลโย (เตจา : ๒๕๕๑) ทํางานวิจัยเรื่องการศึกษาเชิงวิเคราะหความเชื่อของประชาชนเก่ียวกับความศักดิ์สิทธิ์ พลวงพอศิลา วัดทุงเสลี่ยม อําเภอทุงเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย พบวาประชาชนมีความเชื่อในความศักดิ์สิทธิ์ ของหลวงพอศิลา ไดแกดานประความสําเร็จในชีวิต

๔๕

ดานแกไขปญหาชีวิต ดานการขอโชคลาภ ดานการเรียนและดานประกอบธุรกิจ โดยใหความสําคัญตอหลวงพอศิลาวา เปนเครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ เม่ือยามเดือดรอนดวยเรื่องนานาประการ จากการสัมภาษณ ปาเงียบ บัวลอย อายุ ๗๔ ป อยูท่ีหมู ๔ ทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดกลาววามีความศรัทธาในหลวงพอพระพุทธชินราชมาก โดยมางานปดทองประจําปตั้งแตยังวัยรุนถึงปจจุบัน และไดทําบา ยศรีถวายหลวงพอ ๓ ป อยางตอเนื่อง นอกจากนี้นางอนันต อินทรพิทักษ อาศัยอยูท่ีตําบลปากน้ํา อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ไดมาตอเนื่องเปนประจําทุกป ตั้งแตวัยรุน จนถึงปจจุบัน มีความเชื่อวาหลวงพอพุทธชินราชมีความศักดิ์สิทธิ์และขอพรใหประสบความสําเร็จในหนาท่ีการงาน การทําการเกษตรเปนประจําทุกปและ ทุก ๆ ป จะจางนางรํารําถวายหลวงพอพระพุทธชินราช

นักมานุษยวิทยา อธิบายถึง การดํารงอยูของโลกศักดิ์สิทธิ์และโลกสามัญไวอยางนาสนใจ ดังนี้ เอมี เดอรไดม ( Emile Durkheim) เสนอวา พิธีกรรมและสัญลักษณของโลก ความศักดิ์สิทธิ์เปนตัวแทนท่ีเปนรูปธรรมของความเปนสังคมในชีวิตประจําวัน มนุษยท่ีติดตอดวยพิธีกรรม บรรยากาศและสัญลักษณ ทําใหความเปนพวกเดียวกันตกผลึก เกิดความสํานึกเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน นอกจากนี้ เดอรไดม ( Durkheim) ยังไดอธิบายในเรื่องศาสนาไวอยางเปนระบบ ความวา ศาสนา คือระบบความเชื่อและหลักปฏิบัติซ่ึงแยกแยะ ระหวางความศักดิ์สิทธิ์ ( Sacred) กับความสามัญ ( Profane) ออกจากกันอยางชัดเจน ศาสนาเปนกลไกสําคัญในการควบคุม รักษา กฏเกณฑ กติกาและความเปนระเบียบเรียบรอยของสังคม

๕.๒ ขอเสนอแนะ ๕.๓.๑ ขอเสนอแนะจากการวิจัย ๑. ควรมีการปรับปรุงการจัดชองทางการจราจรใหเปนระบบ สถานท่ีจอดรถ หองน้ํา ๒. ควรจัดทําปายประชาสัมพันธ แผนพับไวตามชุมชนใหญ ๆ เพ่ือประชาสัมพันธใหคนมาเท่ียวงานประจําป ๓. ควรประสานกับทองเท่ียวและกีฬา จังหวัดฉะเชิงเทรา กําหนดเปนปฏิทินการทองเท่ียว ประจําป ๕.๓.๒ ขอเสนอแนะในการวิจัยครั้งตอไป ๑. ควรศึกษาวิจัยการมีสวนรวมของประชาชนในการจัดประเพณี ปดทองพระพุทธชินราช วัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา

บรรณานุกรม คณาจารยมหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๒๕๕๑). เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร. คณาจารยมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (๒๕๕๑). วัฒนธรรมไทย. กรุงเทพมหานคร :

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. เงียบ บัวลอย. เปนผูใหสัมภาษณ. อารียา บุญทวี. เปนผูสัมภาษณ ท่ีโบสถวัดทางขามนอย. เม่ือวันท่ี ๒๐

มีนาคม ๒๕๕๖. จินตนา ธรรมสุวรรณ. สืบคนเม่ือวันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๕๖. เรื่องละครแกบนหลวงพอพุทธโสธร.

แหลงขอมูล www.thaithesis.ory/detail.phpMid=45304. ชลอ วิมลภักตร. เปนผูใหสัมภาษณ. อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ. ท่ีวัดทางขามนอย. เม่ือวันท่ี ๒๐

มีนาคม ๒๕๕๖. ทวีศักดิ์ ลอมลิ้ม และคณะ. (๒๕๔๒). มนุษยกับการเปลี่ยนแปลง. มหาวิทยาลัยทักษิณ. นิภา เจียมโฆสิต และคณะ. (๒๕๕๑). การมีสวนรวมของเครือขายวัฒนธรรมและชุมชนในการบริหารจัดการ

วัฒนธรรม : กรณีศึกษาประเพณีบุญกลางบาน อําเภอพนัสนิคม จังหวัดชลบุรี. กรุงเทพมหานคร : สํานักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแหงชาติ กระทรวงวัฒนธรรม.

บัณฑูรย บุญประเสริฐ. (๒๕๕๓). ประวัติวัดทางขามนอย. ฉะเชิงเทรา (เอกสาร) ประสิทธิ์ พลัดอยู. เปนผูใหสัมภาษณ. อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ. ท่ีวัดทางขามนอย. เม่ือวันท่ี ๒๐

มีนาคม ๒๕๕๖. พระปลัดอลงกรณ อนาลโย (เต จา). สืบคนเม่ือวันท่ี ๗ มิถุนายน ๒๕๕๖. เรื่องการศึกษาเชิงวิเคราะหความ

เชื่อของประชาชนเก่ียวกับความศักดิสิทธิ์หลวงพอศิลาวัดทุงเสลี่ยม จังหวัดสุโขทัย. แหลงขอมูล www.czngporsila.com/index.php?

วิชัย พงษโหมดและบุญมา พงษโหมด. (๒๕๔๗). ประวัติการตั้งถ่ินฐานของชุมชนในจังหวัดฉะเชิงเทรา. มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร : คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร.

วิมล จิโรจพันธุและคณะ (๒๕๔๘). วิถีไทย. กรุงเทพฯ สํานักพิมพแสงดาว. วรัทยา บุญเพ็ง. (๒๕๔๕). การประเมินโครงการกองทุนหมูบานและชุมชนเมือง : กรณีศึกษากองทุนหมูบาน

ทางขามนอย หมูท่ี ๔. ฉะเชิงเทราสถาบันราชภัฏราชนครินทร. สนิท สมัครการ. (๒๕๓๙). ความเชื่อและศาสนาในสังคมไทยวิเคราะหเชิงสังคม – มานุษยวิทยา.

กรุงเทพมหานคร : พิมพท่ี โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส. สมชัย ใจดี และบรรยง ศรีวิริยาภรณ. (๒๕๔๐) ประเพณีและวัฒนธรรมไทย. กรุงเทพฯ : บริษัทโรงพิมพไทย

วัฒนาพานิช จํากัด. สราญมิตร ประชาญสิทธิ์. (๒๕๔๗). โลกศักดิ์สิทธิ์ ( The sacrde) และโลกสามัญ ( The profane) นัย

ความหมายของทุนวัฒนธรรมการทองเท่ียวตอระบบเศรษฐกิจและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร. พิมพท่ีบริษัท พี.เอ.ลิฟวิ่ง จํากัด.

สุพัตรา สุภาพ. (๒๕๔๓). สังคมและวัฒนธรรมไทย คานิยม ครอบครัว ศาสนา ประเพณี. กรุงเทพมหานคร. บริษัทโรงพิมพ ไทยวัฒนาพานิช จํากัด.

สุรพล โกศาสตร. เปนผูใหสัมภาษณ. อารียา บุญทวี เปนผูสัมภาษณ. ท่ีวัดทางขามนอย. เม่ือวันท่ี ๑๕ มีนาคม ๒๕๕๔.

๔๗

องคการบริหารสวนตําบลหัวไทร. (๒๕๕๔). สภาพท่ัวไปและขอมูลพ้ืนฐานขององคการบริหารสวนตําบล หัวไทร. ฉะเชิงเทรา : องคการบริหารสวนตําบลหัวไทร

๔๙

แบบสอบถาม ความเชื่อของประชาชนตองานประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช

ของวัดทางขามนอย ตําบลหัวไทร อําเภอบางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา ป พ.ศ.๒๕๕๖

คําช้ีแจง : โปรดทําเครื่องหมาย ในชองท่ีตรงกับความคิดเห็นของทาน ตอนท่ี ๑ ขอมูลท่ัวไป ๑. เพศ ชาย หญิง ๒. อายุ นอยกวา ๑๕ ป ๑๖ – ๒๐ ป ๒๑ – ๒๕ ป ๒๖ – ๓๐ ป

๓๑ – ๓๕ ป ๓๖ – ๔๐ ป ๔๑ – ๔๕ ป ๔๖ – ๕๐ ป ๕๑ – ๕๕ ป ๕๖ – ๖๐ ป ๖๑ ป ข้ึนไป

๓. ภูมิลําเนา หมูบาน..................................ตําบล..................................อําเภอ................................จังหวัด.................................. ๔. อาชีพ เกษตรกร คาขาย รับจาง ขาราชการ

๕๐

นักการเมืองทองถ่ิน ผูนําชุมชน นักเรียน นักศึกษา อ่ืน ๆ (โปรดระบุ).............................................

ตอนท่ี ๒ ขอมูลเกี่ยวกับความเช่ือท่ีมีตอประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ๑. ทานมางานประจําปวัดทางขามนอยในชวงใด (ตอบไดมากกวา ๑ ขอ) ประเพณีแหพระพุทธชินราชในเดือน ๑๑

ประเพณีแหพระพุทธชินราชในเดือน ๔ อ่ืน ๆ (โปรดระบุ).............................................

๒. จํานวนครั้งท่ีมางานประจําปพระพุทธชินราช ๑ – ๓ ครั้ง ๔ – ๖ ครั้ง ๗ – ๙ ครั้ง

๑๐ – ๑๒ ครั้ง ๑๓ – ๑๕ ครั้ง ๑๖ ครั้ง ข้ึนไป ๓. สาเหตุท่ีมางานประจําปพระพุทธชินราช (ตอบไดมากกวา ๑ ขอ)

เพ่ือมาแกบน เพ่ือมาปดทองและขอพร เพ่ือมาชมลิเก เพ่ือมาทําบุญ เพ่ือสรางความสัมพันธของหมูบาน อ่ืน ๆ (โปรดระบุ).............................................

๔. ในกรณีท่ีทานมาแกบนทานมาแกบนเรื่องใด การทําฟารมกุง การทําฟารมปลา คาขาย

ขายท่ีดินได เกณฑทหาร หายจากการไมสบาย เรื่องเรียน การไดงานทํา อ่ืน ๆ (โปรดระบุ).............................................

ตอนท่ี ๓ ขอเสนอแนะในการจัดงานประเพณีนมัสการพระพุทธชินราช ณ วัดทางขามนอย ................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................. ...........................................................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................................................

ประวัติผูวิจัย

๑. ผูวิจัย : นางสาวอารียา บุญทวี ๒. ตําแหนง : ผูอํานวยการศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ๓. หนวยงานท่ีสังกัด : ศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ๔๒๒

ถ.มรุพงษ ต.หนาเมือง อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา ๒๔๐๐๐ โทรศัพท ๑๓๘ – ๘๑๐ – ๔๔๑ ๔. ประวัติการศึกษา : ปริญญาตรี สาขาวิชาสื่อสารมวลชน (เกียรตินิยม อันดับ ๑)

ปริญญาโท สาขาวิชาการจัดการพัฒนาสังคม จากสถาบันพัฒนาบริหาร ศาสตร

๕. สาขาท่ีชํานาญ : สังคมศาสตร ๖. งานวิจัย :

- กระบวนการถายทอดภูมิปญญาทองถ่ินในการผลิตหมวกกุยเลย ตําบลปากน้ํา อําเภอ บางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๔๗

- การวิจัยสงเสริมภูมิปญญาทองถ่ินเพ่ือพัฒนา คุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑตะเกียงไม ตําบลพิมพาอําเภอบางปะกง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๔๘

- รายงานการสํารวจขอมูลทองถ่ิน เรื่องการศึกษาภูมิปญญาทองถ่ิน เก่ียวกับหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ ในอําเภอเมือง จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๔๘

- ทัศนะของประชาชนท่ีมีตอการบริการสาธารณะขององคการบริหารสวนตําบลหัวไทร อําเภอ บางคลา จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๔๙

- กระบวนการเรียนรูและจัดการความรู เรื่องตะไครของประชาชนตําบลคลองเข่ือน ก่ิงอําเภอ คลองเข่ือน จังหวัดฉะเชิงเทรา พ.ศ.๒๕๕๐

- ความพึงพอใจในการบริการศูนยศิลปะ วัฒนธรรมและทองถ่ิน พ.ศ.๒๕๕๑ - ความพึงพอใจและความตองการของนักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตร สาขาการปกครอง

ทองถ่ิน มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร พ.ศ.๒๕๕๑ - การนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกตใชกับนักศึกษาคณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร พ.ศ.๒๕๕๒ - การสรางองคความรูและพัฒนาผลิตภัณฑหญาแฝก กรณีศึกษาคายออกแบบผลิตภัณฑจากใบหญา

แฝกของบริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) พ.ศ.๒๕๕๓ - แนวทางการพัฒนาศักยภาพมหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร ในการสงเสริมศิลปะ วัฒนธรรมและ

การทองเท่ียวในชุมชน พ.ศ.๒๕๕๔ – ๒๕๕๕