ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

22

description

ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

Transcript of ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

Page 1: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย
Page 2: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

คํายอ(คําเตม็) ความหมาย A ACCESS เขาถึง, การเขาถึง ADSL (Asymmetric Digital Subscriber Line)

สายผูเชาดิจิทัลแบบอสมมาตร หรือเอดีเอสแอล

Allocate การจัดสรร AMPS (Advanced Mobile Phone Service)

1. ระบบโทรศัพทเคล่ือนท่ีแอมปส 2. ระบบโทรศัพทเคล่ือนท่ีแบบแอนะลอกยุคแรก ท่ีเปดใหบริการเชิงพาณิชยเปนครั้งแรกในทศวรรษ 1980*

Analog* เทคโนโลยี เครือขายการสื่อสารไรสายท่ีใชสัญญาณคล่ืนความถี่วทิยุ โดยขอมูลจะถูกสงไปในรูปของคล่ืนเสียงผานสัญญาณวิทยุ ระบบอนาล็อกจะสามารถจัดชองสัญญาณใหใชงานได 1 สายตอ 1 ชองสัญญาณ ซ่ึงแตกตางจากระบบดิจิตอลท่ีสามารถรองรับการใชงานไดหลายๆ สายพรอมกันตอ 1 ชองสัญญาณ*

Analog network วงจรขายเชิงอุปมาน, วงจรขายแอนะลอก ANSI (American National Standard Institute)*

สถาบันมาตรฐานแหงสหรัฐอเมริกาเปน องคกรเอกชนท่ีทําหนาท่ีเปนเสมือนผูแทนของประเทศสหรัฐอเมริกาในการกํากับ องคกรท่ีทําหนาท่ีกําหนดมาตรฐานสากลชั้นนําตางๆ อาทิ องคกรกําหนดมาตรฐานสากล (ISO) ANSI จะรับผิดชอบในดานการพัฒนาและจัดทํามาตรฐานและรูปแบบของการรับสงขอมูลท่ี ใชงานในประเทศสหรัฐอเมริกา

API (Application Programming Interface)*

เปนซอฟตแวรมาตรฐานท่ีใชสําหรับการใหบริการ ขอมูล การโทร และการแทรกสัญญาณ ซ่ึงโปรแกรมแอพพลิเคชั่นตางๆ สามารถใชในการตดิตอเชื่อมโยงระหวางเครือขาย การสื่อสารผานโครงขาย และการสื่อสารระหวางโปรแกรม ตวัอยางเชน เทคโนโลยี BREW รองรับการใชงานระบบ API ในการพัฒนาแอพพลิเคชั่นสําหรับอุปกรณการ สื่อสารไรสาย

ATM (Asynchronous Transfer Mode) เอทีเอ็ม, ภาวะถายโอนไมประสานเวลา

ปทานุกรมศัพทโทรคมนาคมไทย

Page 3: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

B Backbone แกนหลัก Backbone Provider ผูใหบริการเครือขายหลัก Band 1. แถบ, แถบความถี ่

2. ผูใหบริการการสื่อสารไรสายใน ประเทศไทยจะใชชองสัญญาณความถี่ท่ี 800 MHz, 900 MHz, 1800 MHz และ 1900 MHz ในการรับ-สงขอมูล

Bandwidth 1. ความกวาวแถบความถ่ี, แบนดวดิท 2. ความกวางของชองสัญญาณความถี่ท่ีสามารถรองรับในการสงสัญญาณ สําหรับการสื่อสารระบบดิจิตอลนั้น แบนดวิธจะมีหนวยเปนบิตตตอวินาที (bps) หรือ กิโลบิตตตอวนิาที(Kbps) สําหรับระบบอนาล็อกจะมีหนวยเปนเฮิรซ (Hz)*

Base Station* สถานีฐาน คือสถานท่ีติดตั้งเคร่ืองรับ – สงสัญญาณ โดยเช่ือมตอผานสัญญาณวิทยุท่ีอยูระหวางระบบสื่อสารไรสายและอุปกรณการ ส่ือสารไรสาย อุปกรณท่ีติดตั้งในสถานท่ีประกอบดวย เสาอากาศ วิทยุรับ-สงสัญญาณ และศูนยควบคุมสัญญาณวิทยุ สถานีฐานเปนสิ่งท่ีจําเปนสําหรับการสื่อสารไรสาย เนื่องจากเซลลแตละเซลลบนเครือขายการสื่อสาระบบไรสายจําเปนตองสงสัญญาณผานสถานีฐาน

Bluetooth technology 1. เทคโนโลยีไรสายสวนบุคคล, เทคโนโลยีบลูทูท 2. มาตรฐานการสื่อสารไรสายในระยะทางสั้นๆ ทํางานโดยใชระบบ Frequency Hopping Spread System (FHSS) สงขอมูลแบบแพคเก็ตผานชองสัญญาณความถี่ท่ี 2.45 GHz การรับสงขอมูลในระบบ Bluetooth จะสามารถทํางานไดในระยะทางใกล ๆ เฉล่ียไมเกิน 10 เมตร

Page 4: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

โดยมีความเร็วในการรับ - สงขอมูลสูงสุดท่ี 1 Mbps เทคโนโลยี Bluetooth ชวยใหการรับ - สงขอมูลและเสียงระหวางโทรศัพท คอมพิวเตอร และอุปกรณอ่ืนๆ สะดวกและรวดเรว็ย่ิงข้ึน โดยไมตองใชสายเชื่อมตอ

BREW (Binary Runtime Environment for Wireless)*

เปนสถาปตยกรรมแบบเปด ซ่ึงเปดโอกาสใหนักพัฒนาสามารถคิดคน สรางสรรคแอพพลิเคช่ันใหมๆ ท่ีทํางานบนอุปกรณการสื่อสารไรสายชนิดตางๆ ไดเปนอยางดี ระบบ BREW ชวยใหผูใชบริการสามารถดาวนโหลด และติดตั้งแอพพลิเคชั่นตางๆ อาทิ เกมส ริงโทน และเนื้อหาสาระตางๆ ลงในโทรศัพทท่ีรองรับระบบ BREW อยางงายดาย โดยระบบ BREW จะทํางานระหวางแอพลิเคช่ันและระบบปฏิบัติการของชิป

Broadband 1. แถบความถี่กวาง 2. คําเรียกท่ัวๆ ไปของระบบการเชื่อมตออินเตอรเน็ตความเร็วสูงชนิดตางๆ เชน DSL และโมเด็มผานสายเคเบิล บรอดแบนด สามารถสงขอมูลรูปแบบตางๆ อาทิ เสียง ขอมูลและวิดีโอ ไดพรอมๆ กัน* 3. เทคโนโลยีการสงขอมูลท่ีมีความเร็วในการดาวนโหลดประมาณ 2 Mbps หรือมีความเร็วสูงกวาโมเด็มแบบ 56 K ถงึ 40 เทา*

BWA (Broadband Wireless Access) บริการเขาถึงอินเทอรเน็ตไรสายความเร็วสูง C CDMA (Code Division Multiple Access) 1. ซีดเีอ็มเอ, การรวมใชชองสัญญาณแบบเขารหัส

2. เทคโนโลยีไรสายดิจิตอลซึ่งใช เทคนิคของ "การกระจายแถบความถี่" (spread spectrum) เพ่ือสงคล่ืนวิทยุผานแถบความถี่ชวงกวาง เทคโนโลยีซีดีเอ็มเอมีศักยภาพเหนือชั้นกวาเทคโนโลยีอ่ืนๆมาก เพราะใหคุณภาพเสียงท่ีชัดเจนและมีโอกาสท่ีสายหลุดไดยากกวา ปจจุบัน มีผูใชระบบซีดีเอ็มเออยูกวา 212.5 ลานรายท่ัวโลก ท้ังในทวีปอเมริกาเหนือ อเมริกาใต เกาหลี ญ่ีปุน จีน ออสเตรเลีย และอีกหลายแหงท่ัวโลก*

Page 5: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

CDMA2000 เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายท่ีพัฒนามาจากเทคโนโลยี cdmaOne ใหมีประสิทธิภาพในการใหบริการเสียงและขอมูลท่ีมีความเร็วสูงเพ่ิมมากข้ึน เทคโนโลยีในตระกูล CDMA2000 ประกอบดวย CDMA2000 1X, CDMA2000 1xEV-DO และ CDMA2000 1xEV-DV สมาพันธ โทรคมนาคมระหวางประเทศ (ITU) ไดประกาศใหเทคโนโลยี CDMA2000 เปนระบบการสื่อสาร ไรสายยุค 3G นอกจากน้ี CDMA2000 ยังเปนท่ีรูจักอีกช่ือหน่ึงวา IS-2000

CDMA2000 1X* เทคโนโลยี ซีดีเอ็มเอท่ีมีการเปดใหบริการเชิงพาณิชยในไทยแลวในขณะนี้คือ ระบบเครือขาย CDMA2000 1X เทคโนโลยีน้ีมีอัตราการสงขอมูลความเร็วสูงสุดถึง 153 กิโลบิตตตอวนิาที และมีความเร็วในการสงขอมูลโดยเฉล่ียอยูท่ี 50-90 กิโลบิตตตอวินาที ปจจุบันเครือขายซีดีเอ็มเอ 2000 1X ใหบริการดวยความเร็วในการสื่อสารขอมูลไรสายท่ีสูงท่ีสุดเหนือกวา เทคโนโลยีอ่ืนๆ ท่ีมีเปดใหบริการอยูในประเทศไทยในปจจุบัน นอกจากน้ีเทคโนโลยีซีดีเอ็มเอยังมีแนวทางในการพัฒนาใหมีความสามารถในการรับ สงขอมูลความเร็วสูงมากย่ิงข้ึน ซ่ึงเปนสิ่งจําเปนอยางย่ิงสําหรับการส่ือสารในยุค 3G ในอนาคต

DMA2000 1xEV-DO (CDMA2000 First Evolution - Data Optimized)*

เทคโนโลยี 1xEV-DO มีความสามารถในการรับ – สงขอมูลความเร็วสูงสุดท่ีระดบั 2.4 Mbps โดยใชชองสัญญาณความถี ่1.25 MHzสําหรับการรับ - สงขอมูลโดยเฉพาะเทาน้ัน และมีอัตราความเร็วเฉล่ียมากกวา 700 Mbps เทียบเทากับการสงสัญญาณผานสายเคเบิล เทคโนโลยี CDMA2000 1xEV-DO มีความเร็วสูงเพียงพอท่ีจะรองรับแอพพลิเคช่ันตางๆ ท่ีตองการประสิทธิภาพในการสงขอมูลความเร็วสูง เชน วดิีโอ - สตรีมม่ิง และการดาวนโหลดไฟลขนาดใหญ CDMA2000 1xEV-DO รุนตอไปในอนาคตจะไดรับการพัฒนาใหสามารถรับขอมูลจากสถานีฐาน (forward link) ท่ีมีความเร็วเพิ่มข้ึนเปน 3.08 Mbps

Page 6: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

CDMA2000 1xEV-DV (CDMA2000 1XEvolution, Data and Voice)*

เปนเทคโนโลยีท่ีอยูในข้ันตอนระหวางการพัฒนา และคาดวาจะเปดใหบริการเชิงพาณิชยในปพ.ศ. 2548 เทคโนโลยี CDMA2000 1xEV-DV จะสามารถใหบริการรับ – สงท้ังเสียงและขอมูล โดย 1xEV-DV รุน Release C จะมีความเร็วในการรับขอมูลจากสถานีฐานท่ีระดับ 3.08 Mbps และมีความเร็วในการสงขอมูลจากโทรศัพทเคล่ือนท่ีไปยังสถานีฐาน (reverse link) ท่ีระดับ 153 Kbps สําหรับรุน Release D จะรองรับความเร็วในการรับขอมูลจากสถานีฐานท่ี 3.08 Mbps และมีความเร็วในการสงขอมูลไปยังสถานีฐานท่ี 1.0 Mbps

CDG (CDMA Development Group)* กลุมนักพัฒนา ระบบซีดีเอ็มเอ เกิดข้ึนจากการรวมตวัของบริษัทตางๆ ท่ีหันมารวมมือกันพัฒนาผลิตภัณฑและบริการ เพ่ือผลักดันใหมีการนําเทคโนโลยี ซีดีเอ็มเอมาใช รวมท้ังรวมสงเสริมใหมีการพัฒนาเทคโนโลยีซีดีเอ็มเออยางแพรหลายท่ัวโลกมาก ย่ิงข้ึน ปจจุบัน ซีดีจี มีองคกรสมาชิกมากกวา 100 บริษัท ท่ีรวมมือกันทําใหเทคโนโลยี ซีดีเอ็มเอสามารถใชงานรวมกันกับระบบอ่ืนๆ และมีสวนชวยผลักดันใหผูบริโภคไดมีโอกาสใช ซีดีเอ็มเอไดเรว็ย่ิงข้ึน

cdmaOne เปนชื่อแบรนดและเครื่องหมายการคา ท่ีสงวนสิทธิ์ใหนําไปใชไดเฉพาะกับองคกร หรือบริษัทสมาชิกในกลุม CDG ท้ังนี้ cdmaOne ยังเปนชื่อเรียกเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายระบบ ซีดีเอ็มเอรุนแรกของควอลคอมม ซ่ึงทํางานบนมาตรฐาน IS-95A และ IS-95B โดยใชชองสัญญาณ 1.25 MHz สําหรับรับ-สงขอมูลและเสียง

Circuit วงจร Citizens Band (CB) แถบความถ่ีสาํหรับประชาชน Coax; Coaxial cable สายแกนรวม, สายโคแอกซ Communication การสื่อสาร Communication band แถบความถ่ีสือ่สาร Communication channel ชองสื่อสาร Communication circuit วงจรสื่อสาร Communication link ขายเช่ือมโยงการสื่อสาร Communication satellite ดาวเทียมส่ือสาร

Page 7: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

Conduit ทอรอยสาย Connection-oriented -กําหนดการเชื่อมตอ Connectivity ภาวะเช่ือมตอ Core แกน, วงแหวนแมเหล็ก Country code รหัสประเทศ

Crosstalk การแทรกสัญญาณขาม(วงจร), สัญญาณแทรกขาม(วงจร) D Database ฐานขอมูล Data network เครือขายขอมูล De facto standard มาตรฐานตามความนิยม Demodulation การแยกสัญญาณ DID ดีไอดี, การตอเลขหมายเขาโดยตรง Digital -เชิงเลข, -ดิจิทัล Digital divide ความเล่ือมลํ้าทางดิจิทัล Digital Subscriber Line (DSL) สายผูเชาดิจิทัล (ดีเอสแอล) Digital Subscriber Line Access Multiplexer (DSLAM)

1. อุปกรณสหสัญญาณสายผูเชาดิจิทัล (ดีสแลม)

Downlink 1. เชื่อมโยงลง 2. การเชื่อมโยงลง 3. ขายการเช่ือมโยงลง

Downstream - สูผูใช Dual Band* ระบบโทรศัพทเคล่ือนท่ีท่ีไดรับการออกแบบใหสามารถใช

งานไดบนชอง สัญญาณความถี่ 800 MHz และ 1900 MHz โดยโทรศัพทเคล่ือนท่ีท่ีรองรับระบบ Dual band จะสามารถปรับเปล่ียนชองสัญญาณเพ่ือรองรับการใชงานท้ังโทรออกและรับสายได ระหวาง 2 ชองสัญญาณนี้

Dual Mode* เคร่ืองโทรศัพทไรสายแบบ Dual Mode จะสามารถรองรับสัญญาณความถี่ท้ังแบบอนาล็อก และดิจิตอล โดยใชชองสัญญาณความถี่ท่ี 800 MHz และ 1900 MHz

Duplex สื่อสารสองทาง

Page 8: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

E EDGE (Enhanced Data Rate for Global Evolution)*

เทคโนโลยีแหงยุค 3G ท่ีไดรับการรับรองจากสมาพันธโทรคมนาคมระหวางประเทศ EDGE เปนเทคโนโลยีที่พัฒนาใหมี ประสิทธิภาพเพิ่มข้ึนจากเทคโนโลยีระบบจีพีอารเอส (GPRS) ในภูมิภาคอเมริกา อัตราความเร็วในการับสงขอมูลดวยเทคโนโลยี EDGE อยูที่ระดับตํ่ากวา 100 Kbps ผูใหบริการโทรศัพทเคล่ือนท่ีสวนใหญในภูมิภาคยุโรปจะหันมาเลือกอัพเกรด ระบบจาก GPRS ไปเปนเทคโนโลยีระบบ UMTS หรือเรียกอีกชื่อหนึ่งวา WCDMA

End user ผูใชข้ันปลาย F First Generation (1G)* ระบบสื่อสารไรสายท่ีใชเทคโนโลยีระบบอนาล็อก โดย

การสื่อสารไรสายยุค 1จี ไดรับการพัฒนาข้ึนเพ่ือใหสามารถบริการดานเสียงเทาน้ัน และยังมีขอจํากัดดานประสิทธิภาพของเครือขาย เทคโนโลยีการสื่อสารไรสายท่ีเปนการสื่อสารไรสายยุค 1G คือบริการโทรศัพทเคล่ือนท่ีระบบ AMPS ซ่ึงเปดใหบริการเปนครั้งแรกในราวป ค.ศ. 1980

FCC (Federal Communication Commission)

เอฟซีซี (คณะกรรมการกลางกํากับดูแลกิจการส่ือสารของสหรัฐอเมริกา)

FDD (Frequency Division Duplex) เอฟดีด ี(การสื่อสารสองทางดวยความถี่) FDDI (Fiber Distributed Data Interface) เอฟดีดไีอ (ระบบตอประสานขอมูลแบบกรจายใช

เสนใยนําแสง) FDM (Frequency Division Multiplex) เอฟดีเอ็ม (สหสัญญาณแบบแบงความถี่) FDMA (Frequency Division Multiplex Access)

เอฟดีเอ็มเอ (การรวมใชชองสัญญาณแบบแบงความถ่ี)

Fiber optic cable; Optical fiber cable เคเบ้ิลเสนใยนําแสง Firewall ดานกันบุกรุก, ไฟรวอลล Fixed line โทรศัพทพ้ืนฐาน, โทรศัพทประจําท่ี G Gateway เกตเวย Generation ยุค, รุน, การกอกําเนิด GEO (Geostationary orbit) จีอีโอ (วงโคจรคางฟา) GIS (Geographic Information System) จีไอเอส (ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร) Global -ครอบคลุม

Page 9: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

Globalisation; Globalization โลกาภิวัตน GMT (Greenwich Mean Time) จีเอ็มที (เวลาปานกลางกรินิซ) GPRS (General Packet Radio Service)* การเพ่ิมมาตรฐานของโทรศัพทเคล่ือนท่ี ระบบจีเอส

เอ็ม ใหมีสมรรถนะในการรองรับการสื่อสารดวยขอมูลแบบแพ็กเก็ตเพ่ิมบนเครือขาย เสียงท่ีมีอยูเดิม เทคโนโลยีจีพีอารเอสจะใชชองเวลา (time slot) เหมือนกับการสื่อสารดวยเสียง โดยชองเวลาแตละชองจะมีขีดความสามารถในการรับสงขอมูลประมาณ 9.6 Kbps เครือขาย GPRS จะใชชองเวลา 3 ชองในการสงขอมูลจํานวน 28.8 Kbps ไปยังเครื่องโทรศัพท และใชชองเวลา 1 ชองในการสงขอมูลจํานวน 9.6 Kbps จากเคร่ืองโทรศัพทกลับไปยังเครือขาย GPRS มีอัตราความเร็วในการรับสงขอมูลสูงสุดท่ีระดับต่ํากวา 50 kbps ดูรายละเอียดเพิ่มเติมของเทคโนโลยียุค 2.5G

GPS (Global Positioning System) 1. จีพีเอส (ระบบกําหนดตําแหนงบนโลก) 2. ระบบคนหาพิกัดตําแหนงบนพ้ืนผิวโลกดวยสัญญาณวิทยุ ไดรับการคิดคนและพัฒนาโดยกระทรวงกลาโหมแหงสหรัฐอเมริกา เพ่ือใชในการกําหนดพิกัดตําแหนงบนผิวโลก ท้ังบนผืนดิน อากาศ และทะเล ระบบ GPS ทํางานผานสัญญาณวิทยุท่ีสงจากดาวเทียมบนทองฟาไปยังเคร่ืองรับ สัญญาณบนพ้ืนดิน สัญญาณวิทยุท่ีรวบรวมจากดาวเทียมตางๆ จะนํามาใชในการคํานวณระยะทางระหวางเครื่องรับสัญญาณและดาวเทียมแตละดวง สําหรับเครื่องรับสัญญาณ GPS จะมีขนาดเล็กลงและมีราคาถูกลง สงผลใหสามารถนํามาใชงานในเชิงพาณิชยไดหลายรูปแบบ อาทิ ระบบบริหารการจัดการขนสง การควบคุมทุจริต และการรักษาความปลอดภัย*

gpsOne เทคโนโลยีสนับสนุนระบบคนหาพิกัดตําแหนง ท่ีทํางานดวยการผสมผสานระหวางเทคโนโลยีระบบคนหาพิกัดตําแหนงบนพ้ืนผิวโลก ผานดาวเทียม (Global Positioning System) และเครือขายการสื่อสารไรสาย เพ่ือประมวลขอมูลและคนหาตําแหนงท่ีใหความแมนยําสูง gpsOne มี บทบาทอยางย่ิงในการใหบริการคนหา

Page 10: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

ตําแหนงตางๆ สามารถรองรับการใชงานในภูมิประเทศหลากหลาย ครอบคลุมพ้ืนท่ีกวางไกล ท้ังยังชวยใหการคํานวณคนหาไดรวดเร็ว และถูกตอง แมนยําสูง ไมวาจะอยูในภาวะฉุกเฉิน หรือใชสําหรับรองรับบริการคนหาตําแหนงตางๆ ใน เชิงพาณิชย

GSM (Global System for Mobile communications)

1. จีเอ็สเอ็ม (ระบบโทรศัพทเคล่ือนท่ีจีเอ็สเอ็ม) 2. ระบบโทรศัพทเคล่ือนท่ีแบบเซลลูลารท่ี ถูกออกแบบมาเพ่ือรองรับบริการส่ือสารทางเสียงและการรับ - สงขอมูลแบบงายๆปจจุบันมาตรฐานจีเอสเอ็มมีการใชงานอยางแพรหลายท้ังใน ยุโรปและเอเชีย

GSM1X เปนการผสมผสานเทคโนโลยีท่ีรวมเครือขาย GSM-MAP และ CDMA2000 1X เขาไวดวยกัน โดย GSM1X จะเชื่อมโยงกับระบบเครือขายหลักของ GSM และ GPRS ท่ีมีอยูเดิม โดยระบบจะยังคงมีบริการและคุณสมบัติตางๆ ท่ีมีอยูเดิมอยางครบถวน เพียงเพ่ิมเติมอุปกรณการเช่ือมตอสัญญาณวิทยุระบบ CDMA2000 1X เขาไปบนเครือขายเทาน้ัน ดังนั้นระบบ GSM1X จะมีประสิทธิภาพในการใชงานดวยเทคโนโลยี CDMA ท้ังในดานคุณภาพของเสียงและความสามารถในการรับสงขอมูลเพิ่มสูงข้ึน อีกท้ังยังเปนตวัผลักดนัใหสามารถโรมม่ิงสัญญาณการใชงานไดกวางไกลครอบ คลุมพ้ืนท่ีท่ัวโลก

H Haft duplex สื่อสารสองทางครึ่งอัตรา Handheld satellite phone โทรศัพทมือถือผานดาวเทียม HDSL (High-bit-rate Digital Subscriber line)

เอสดีเอสแอล (สายผูเชาดิจทัิลแบบอัตราบิตสูง)

Hertz (Hz) เฮิรตซ HFC (Hybrid Fiber/Coaxial) เอชเอฟซี (ระบบเสนใยนําแสงเชื่อมกับสายแกนรวม) Hierarchy ลําดับชั้น Hot plugging พรอมตอ Hotspot จุดพรอมโยง

Page 11: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

HSPA (High-Speed Packet Access)** การรวม HSDPA และ HSUPA เขาดวยกันครับ เรียกรวมๆกันวาเปน HSPA คือการรับสงขอมูลแบบความเร็วสูง มาตรฐาน HSPA คือ ดาวนโหลด 7.2 Mbps /และ อัพโหลด 5.76 Mbps

HSPA+ (High-Speed Packet Access Plus)** มาตรฐานสูงสดุของ HSPA โดยมีมาตรฐานการดาวนโหลด 56 Mbps /และ อัพโหลด 22 Mbps

HSDPA (High-Speed Downlink Packet Access)** เทคโนโลยีการรับขอมูลท่ีพัฒนามาจาก UMTS (เทียบกับ EDGE ท่ีพัฒนาตอเนื่องมาจาก GPRS) การรับขอมูลแบบ HSDPA น่ันสามารถรับไดความเร็วสูงสุดถึง 14.4 Mbps (ความเร็วนัน้ก็ข้ึนอยูกับตัวอุปกรณ และทางผูใหบริการระบบเครือขายดวย)

HSUPA (High-Speed Uplink Packet Access)** เทคโนโลยีการสงขอมูลท่ีพัฒนามาจาก UMTS ความสามารถในการสงความเร็วสูงสุด 5.76 Mbps

I ICT (Information and Communication Technology) ไอซีที (เทคโนโลยีสารสนเทศและการ

สื่อสาร) IEEE (The Institute of Electrical and Electronics Engineers)*

สถาบันวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เปนองคกรวิชาชีพวิศวกรรมท่ีมีขนาดใหญท่ีสุดของโลก มีหนาท่ีในการกําหนดมาตรฐานสําหรับผลิตภัณฑอิเล็กทรอนิกสและคอมพิวเตอร หลากหลายประเภท รวมท้ังการกําหนดมาตรฐาน 802.11 สําหรับระบบ WLANS ท่ีไดรับการยอมรับอยางแพรหลายในปจจุบัน

IMT-2000 (International Mobile Telecommunications for the Year 2000)*

1. มาตรฐานการสื่อสารโทรคมนาคมเคล่ือนท่ีระดับสากล ป 2000 2. สมาพันธโทรคมนาคมระหวางประเทศไดกําหนดกรอบมาตรฐานของระบบเครือขายไรสาย ยุค 3G ท่ีเรียกวา

Page 12: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

มาตรฐาน IMT-2000 ซ่ึงมีเทคโนโลยี 5 ชนิดท่ีมีมาตรฐานตรงตามกรอบมาตรฐานท่ีกําหนดไว ไดแก ระบบ CDMA2000 (Multi-carrier) และระบบ WCDMA/UMTS (Direct Sequence)

IN (Intelligent network) ไอเอ็น (เครือขายอัจฉริยะ) Information infrastructure โครงสรางพื้นฐานสารสนเทศ ISDN (Integrated Services Access Method)

ไอเอสดีเอ็น (โครงขายบริการสื่อสารรวมดิจิทัล)

ISO (International Organization for Standardization)

ไอโซ (องคกรระหวางประเทศวาดวยการมาตรฐาน)

ISP (Internet Service Provider) ไอเอสพี (ผูใหบริการอินเทอรเน็ต) IT (Information Technology) ไอที (เทคโนโลยีสารสนเทศ) ITU (International Telecommunication Union)

1. ไอทียู (สหภาพโทรคมนาคมระหวางประเทศ) 2. หนวยงานในสังกัดขององคการสหประชาชาต ิมีจุดมุงหมายเพ่ือกําหนดแนวทางการสื่อสารท่ีเปนมาตรฐานระดบัสากล*

J Junction network โครงขายจุดเช่ือมตอ L LAN (Local Area Network) แลน (เครือขายเฉพาะท่ี) Leased line สายเชา, วงจรเชา License ใบอนุญาต Local exchange ชุมสายทองถิ่น Local Loop ขายสายทองถิ่น M MAN (Metropolitan Area Network) แมน (เครือขายนครหลวง) MDF (Main Distribution Frame) เอ็มดีเอฟ (แผงกระจายสายหลัก) MMS (Multimedia Message Service) เอ็มเอ็มเอส (บริการสารสื่อประสม) MMS (Multimedia Messaging System) เอ็มเอ็มเอส (ระบบสงสารแบบสื่อประสม) Modem (Modulator - demodulator) โมเด็ม (ตัวกลํ้าและแยกสัญญาณ) Modulate กลํ้าสัญญาณ MSC (Mobile Service switching Center) เอ็มเอสซี (ศูนยสลับสายบริการโทรศัพทเคล่ือนท่ี)

Page 13: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

MSS (Mobile Satellite Service) เอ็มเอสเอส (บริการเคล่ือนท่ีผานดาวเทียม) Multimedia สื่อประสม, ส่ือหลายแบบ Multiplex (MUX) สหสัญญาณ, มัลติเพล็กซ (มักซ) N Narrowband แถบความถี่แคบ Network 1. เครือขาย, โครงขาย

2. วงจรขาย Network provider ผูใหบริการเครือขาย Node 1. บัพ, จุดตอ, ปม, ขอ

2. สถานีเช่ือมโยง NP (Number portability) 1. สิทธิการคงเลขหมายเดิม หรือการใชเลข

หมายเดียวทุกระบบ หมายถึงการท่ีผูใชบริการมีสิทธิจะเปล่ียนยายบริการจากผูใหบริการรายหน่ึงไปยังผูใหบริการอีกรายโดยยังคงใชเลขหมายเดิม สิทธิการคงเลขหมายเดิมนี้สามารถแบงออกเปน 1) สิทธิในการเปล่ียนผูใหบริการ 2) สิทธิในการเปล่ียนประเภทบริการ และ 3) สิทธิในการเปลี่ยนสถานท่ีเขาถึงบริการ

O OSI (Open System Interconnection) โอเอสไอ (การเชื่อมตอระหวางระบบเปด) Optical fiber เสนใยนําแสง P PABX (Private Automatic Branch Exchange) พีเอบีเอกซ (ตูสาขาอัตโนมัติ) PCN (Personal Communication Network) ระบบโทรศัพทเคล่ือนท่ีพีซีเอ็น PCS (Personal Communication Service) พีซีเอส (บริการสื่อสารสวนบุคคล) PCT (Personal Communication Telephone) พีซีที (โทรศัพทพ้ืนฐานใชนอกสถานท่ี,

โทรศัพทพ้ืนฐานพกพา) PCT (Personal Cordless Telephone) พีซีที (โทรศัพทไรสายสวนบุคคล) PDA (Personal digital assistant) พีดีเอ (เครื่องชวยงานสวนบุคคลแบบดิจิทัล) Peak hour ช่ัวโมงใชสูงสดุ

Page 14: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

PDC (Personal Digital Cellular)* เปนระบบโทรศัพทเคล่ือนท่ีดิจิตอลสวนบุคคล (ท่ีใชงานอยูในประเทศญี่ปุนเทาน้ัน และไมสามารถใชงานรวมกับเครือขายการสื่อสารไรสายระบบอื่นๆ ได PDC เปนระบบการสื่อสารไรสายท่ีใชเทคโนโลยีระบบ TDMA ในยุค 2G ทํางานในยานความถี่ 800 MHz และ 1500 MHz

Peak load ปริมาณการใชสูงสุด Peak rate อัตราสูงสุด PIN (Personal Identification Number) พิน (รหัสประจําตัว) Plug – and – Play - ตอแลวใช, - เสียบแลวใช POTS (Plain Old Telephone Service) พอตส (บริการโทรศัพทแบบพื้นฐาน) PSTN (Public Switched Telephone Network)

พีเอสทีเอ็น (โครงขายโทรศัพทสาธารณะ)

Public telephone โทรศัพทสาธารณะ R RADSL (Rate Adaptive Digital Subscriber Line)

อารเอดีเอสแอล (ดีเอสแอลแบบปรับอัตราได)

Remote terminal เครื่องปลายทางระยะไกล Repeater เครื่องทวนสัญญาณ

Roaming 1. การใชงานขามเขต

2. การคนหาเครือขาย R-UIM (Removable User Interface Module)*

ซิมการดของระบบ CDMA ท่ีติดตั้งในโทรศัพทเคล่ือนท่ีระบบ CDMA และสามารถถอดเปล่ียนได นอกจากน้ี R-UIM ยังหมายถึงการดอัจฉริยะ และอุปกรณอ่ืนๆ ท่ีสนับสนุนการทําโรมม่ิงขามเครือขาย CDMA และ GSM ในพ้ืนท่ีตางๆ ท่ัวโลก ซิมการดมีคุณสมบัติในการระบุตัวผูใชงาน รวมถึงบริการตางๆ ท่ีผูใชบริการลงทะเบียนเลือกใชบริการอยูในขณะนั้น ซิมการดระบบซีดีเอ็มเอยังมีขีดความสามารถในการจัดเก็บขอมูลตางๆ อาทิ หมายเลขโทรศัพทและท่ีอยู

Page 15: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

S Satellite phone โทรศัพทผานดาวเทียม Second Generation (2G)* การส่ือสารไรสายดวยเทคโนโลยีระบบดิจิตอล

ซ่ึงไดรับการพัฒนาข้ึนสงผลใหการสื่อสารดวยเสียงมีคุณภาพเพ่ิมข้ึนสูง กวาการสื่อสารในยุค 1G ในอดีตท่ีผานมาเทคโนโลยีในยุค 2G สามารถใหบริการการส่ือสารทางเสียง และสามารถรับ-สงขอมูลแบบ (circuit-switch) ดวยความเร็วท่ีระดับ 9.6 – 14.4 Kbps

SDSL (Symmetric Digital Subscriber Line) เอสดีเอสแอล (สายผูเชาดิจิตอลแบบสมมาตร) SIM (Subscriber Identity module) ซิม (มอดูลระบุผูเชา) Simplex สื่อสารทางเดียว SMS (Short Message Service) เอสเอ็มเอส (บริการสารสั้น) Spread Spectrum* 1. การกระจายแถบความถี ่

2. เปนกระบวนการใชคล่ืนเสียงกลํ้าคล่ืนวิทยุ (modulation) ประเภทหนึ่งซึ่งจะกระจายการสงขอมูลท่ัวท้ังยานความถี่การกระจายขอมูล ท่ัวท้ังแถบคล่ืนความถ่ีน้ี จะชวยใหสัญญาณมีความตานทานตอสัญญาณรบกวน คล่ืนแทรก และการลักลอบดักฟง ซ่ึงชวยใหการพูดคุยผานโทรศัพทมือถือในระบบซีดีเอ็มเอมีคุณภาพเสียงท่ี ชัดเจนกวา และมีความปลอดภัยสูงกวาระบบจีเอสเอ็ม

Splitter ตัวแยก Subscriber ผูเชา, ผูรับบริการ, สมาชิก Switching 1. การสลับ

2. การสลับสาย T TDM (Time Division Multiplex) ทีดีเอ็ม (สหสญัญาณแบบแบงเวลา) TDMA (Time Division Multiple Access) ทีดีเอ็มเอ (การรวมใชชองสญัญาณแบบแบง

เวลา) Telebanking โทรธนกิจ Telecommunication โทรคมนาคม Teleconference การประชุมทางไกล

Page 16: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

Telegraph โทรเลข Telephone exchange; central office ชุมสายโทรศัพท Telephony การโทรศัพท Teletext โทรภาพสาร Teletype โทรพิมพ Telex เทเลกซ Terminal เครื่องปลายทาง Terminal Adapter (TA) อุปกรณรับสัญญาณปลายทาง (ทีเอ) Terminal user ผูใชเครื่องปลายทาง Third generation (3G)* การสื่อสารยุคท่ีสาม, เปนระบบเครือขายไรสายรุน

ลาสุดท่ีทํางานบนพ้ืนฐานของระบบ IP ผานอุปกรณพกพาโดยสามารถรับสงขอมูลดวยความเร็วสูงสุด 144 กิโลบิตตตอวนิาที หรือสูงกวาในสภาวะการใชงานท่ีหยุดน่ิงอยูกับท่ีหรือมีการเคล่ือนท่ีอยาง ตอเนื่อง ในป 2542 สมาพันธโทรคมนาคมระหวางประเทศไดประกาศใหระบบ 3G เปนมาตรฐานสากล ซ่ึงประกอบดวยมาตรฐานการทํางาน 5 แบบ โดยเทคโนโลยีหลักๆ 3 เทคโนโลยีลวนเปนระบบซีดีเอ็มเอ ไดแก: - ระบบซีดีเอ็มเอ 2000 (CDMA2000) - ไวดแบนด-ซีดีเอ็มเอ หรือ ดับบลิว-ซีดีเอ็มเอ (W-CDMA) - ทีดีเอสซีดีเอ็มเอ (TD-SCDMA)

TDMA (Time Division Multiplex Access)

ทีดีเอ็มเอ (สหสัญญาณแบบแบงเวลา)

TD-SCDMA (Time Division-Synchronous Code Division Multiple Access)*

เทคโนโลยีระบบ TD-SCDMA เปนหนึ่งในสามของเทคโนโลยีระบบ CDMA ท่ีมีมาตรฐานการ สื่อสารในระดับ 3G ท่ีไดรับการรับรองโดย ITU ปจจุบัน TD-SCDMA ไดถกูพัฒนาและผลักดันท่ีจะนํามาใชในประเทศจีน

Time zone เขตเวลา Toll office ชุมสายโทรศัพททางไกล Touch screen จอสัมผัส Touch tone telephone โทรศัพทแบบแตะปุม

Page 17: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

TP (Twisted pair) ทีพี (สายตีเกลียวคู) Traffic ปริมาณการใช [วงจรสื่อสาร] Traffic density ความหนาแนนของการใช [วงจรสื่อสาร] Transfer ถายโอน, โอน, เปล่ียน Transit switch อุปกรณสลับสายตอผาน Transmit สงผาน Transmitter เครื่องสง Tri-Mode; Triple-Mode* 1. ความสามารถในการรองรับการใชงานไดถึง 3

ระบบ 2. โทรศัพทเคล่ือนท่ีท่ีสามารถใชงานไดบนเครือขายการสื่อสารระบบไรสายท่ี เปนระบบอนาล็อกและดิจิตอลสามารถรองรับการใชงานไดบนยานความถี่หลาก หลายประเภท

UMTS (Universal Mobile Telecommunications System)

ยูเอ็มทีเอส (ระบบโทรคมนาคมเคล่ือนท่ีสากล)

U UMTS (Universal Mobile Telecommunications System)*

ระบบการ สื่อสารโทรคมนาคมเคล่ือนท่ี หรือเปนท่ีรูจักอีกชื่อวา WCDMA

Uplink 1. เชื่อมโยงข้ึน 2. การเชื่อมโยงข้ึน 3. ขายการเชื่อมโยงข้ึน

Upstream - สูเคร่ืองบริการ User ผูใช Utility; Utility program โปรแกรมอรรถประโยชน UTP (Unshielded twisted pair) ยูทีพี (สายตีเกลียวคูแบบไมปองกันสัญญาณรบกวน) V VDSL (Very – high- bit – rate Digital Subscriber Line

วีดเีอสแอล (สายผูเชาดิจิทัลแบบอัตราบิตสูงมาก)

VDSL (Very – high – speed ADSL) วีดเีอสแอล (สายผูเชนดิจิทัลความเร็วสูงมาก) Virtual LAN แลนเสมือน VoIP (Voice over IP) วีโอไอพี (การสนทนาบนไอพี, วอยซโอเวอรไอพี) VPN (Virtual private network) วีพีเอ็น (เครือขายสวนบุคคลเสมือน) VSAT (Very Small Aperture Terminal) วีแซต (จานรบัสงสัญญาณดาวเทียมขนาดเล็ก)

Page 18: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

W WAIS (Wide Area Information Service) เวส (บริการสารสนเทศบริเวณกวาง) WAN (Wide Area Network) แวน (เครือขายบริเวณกวาง) WAP (Wireless Access Protocol) แว็ป WAP (Wireless Application Protocol)* มาตรฐานการสื่อสารท่ีทําใหอุปกรณการส่ือสารไรสาย

สามารถคนหาและแสดงขอมูล จากเว็บไซตตางๆ บนอุปกรณสื่อสาร ไรสาย เชน โทรศัพทมือถือ เพจเจอร และคอมพิวเตอรแบบพกพาหรือปาลม

Wavelength ความยาวคล่ืน WCDMA (Wideband CDMA)* เทคโนโลยี WCDMA ทํางานบนแถบความถี่กวางท่ี

10MHz และเปนเทคโนโลยีการสื่อสารไรสายในยุค 3G ท่ีไดรับรองโดย ITU โดยใชชองความถี่สําหรับการสงและรับสัญญาณระหวางเครือ่งมือถือกับสถานีฐาน ชองละ 5 MHz ซ่ึงสามารถรับ-สงขอมูลดวยความเร็วสูงสดุถึง 2 เมกะบิตตตอวินาที ระบบ WCDMA เปนเทคโนโลยีหน่ึงในมาตรฐาน IMT-2000 และเปนท่ีรูจักในภูมิภาคยุโรปในชื่อของระบบ UMTS

Wideband; Broadband แถบความถี่กวาง Wi-Fi (Wireless Fidelity)* หรือมีอีกชื่อหน่ึงวา WLAN คือมาตรฐานอีเธอรเน็ต

หรือ LAN ไรสาย 802.11b ท่ีทํางานในยานความถี ่2.4 GHz

WiMax (Worldwide Interoperability for Microwave Access)***

เทคโนโลยีบรอดแบนดไรสายความเร็วสูงรุนใหมท่ีถูกพัฒนาขึ้นมาบนมาตรฐาน IEEE 802.16 ซ่ึงพัฒนามาตรฐาน IEEE 802.16a ข้ึน โดยไดการอนุมัติออกมาเม่ือเดือนมกราคม ค.ศ. 2004 โดยสถาบันวิศวกรรมไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส หรือ IEEE (Institute of Electrical and Electronics Engineers) ซ่ึง มีรัศมีทําการท่ี 30 ไมล หรือเปนระยะทางประมาณ 50 กิโลเมตร และสามารถใหบริการครอบคลุมพ้ืนท่ีกวางกวาระบบโครงขายโทรศัพทเคล่ือนท่ีระบบ 3G มากถึง 10 เทา โดยมีอัตราความเรว็ในการสงผานขอมูลสูงสุดถึง 75 เมกะบิตตอวินาที (Mbps)

Page 19: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

Wireless - ไรสาย Wireless spectrum* แถบคล่ืนสัญญาณความถี่เพื่อใชในการสงสัญญาณ

ขอมูลและเสียงระบบไรสาย WLAN (Wireless LAN) ดับเบิลยูแลน (แลนไรสาย); ดูท่ี Wi-Fi WLL (Wireless Local Loop) ดับเบิลยูแอลแอล (ขายส่ือสารไรสายเฉพาะท่ี)

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

 

Page 20: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

พ้ืนฐานการแบงและการจัดสรรการใชงานแถบความถี่วิทยุส่ือสาร

ชื่อแถบความถี่ใชงาน (Frequency designation)

ชวงแถบความถี่ (Frequency range)

ความถีต่่ํามากหรือ วีแอลเอฟ (Very Low Frequency: VLF)

3 กิโลเฮิรตซ ถึง 30 กิโลเฮิรตซ

การนําทางดวยวิทยุและการเดินทะเลและการเดินอากาศ (Radio Navigation, Maritime, aeronautical )

9 กิโลเฮิรตซ ถึง 540 กิโลเฮิรตซ

ความถีต่่ําหรือแอลเอฟ (Low Frequency: LF)

30 กิโลเฮิรตซ ถึง 300 กิโลเฮิรตซ

การกระจายสัญญาณวิทยุในระบบเอเอ็ม (AM Radio Broadcast)

450 กิโลเฮิรตซ ถึง 1630 กิโลเฮิรตซ

ความถี่สูง (High Frequency: HF)

3 เมกะเฮิรตซ ถึง 30 เมกะเฮิรตซ

การกระจายสัญญาณวิทยุในระบบคล่ืนสั้น (Shortwave Broadcast)

5.95 เมกะเฮิรตซ ถึง 26.1 เมกะเฮิรตซ

ความถี่สูงมาก หรือ วีเอชเอฟ (Very High Frequency: VHF)

30 เมกะเฮิรตซ ถึง 300 เมกะเฮิรตซ

การกระจายสัญญาณโทรทัศนชอง 2 ถึง 6 54 เมกะเฮิรตซ ถึง 88 เมกะเฮิรตซ การกระจายสัญญาณวิทยุในระบบเอฟเอ็ม (FM Radio Broadcast)

88 เมกะเฮิรตซ ถึง 174 เมกะเฮิรตซ

ความถี่สูงย่ิง (Ultra – High Frequency: UHF)

300 เมกะเฮิรตซ ถึง 3000 เมกะเฮิรตซ

การกระจายสัญญาโทรทัศนชอง 14 – 70 470 เมกะเฮิรตซ ถึง 806 เมกะเฮิรตซ บริการสื่อสารสวนบุคคล หรือ พีซีเอส (Personal Communications Services : PCS)

1850 เมกะเฮิรตซ ถึง 1990 เมกะเฮิรตซ

ไมโครเวฟ (Microwave)

3 กิกะเฮิรตซ ถึง 30 กิกะเฮิรตซ

การสื่อสารผานดาวเทียมแถบความถ่ีซีแบน (C-Band)

3.600 กิกะเฮิรตซ ถึง 7.025 กิกะเฮิรตซ

การสื่อสารผานดาวเทียมแถบความถ่ีเอกซแบน (X-Band)

7.25 กิกะเฮิรตซ ถึง 8.4 กิกะเฮิรตซ

การสื่อสารผานดาวเทียมแถบความถ่ีเคยูแบน (Ku-Band)

10.7 กิกะเฮิรตซ ถึง 14.5 กิกะเฮิรตซ

Page 21: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

การสื่อสารผานดาวเทียมแถบความถี่เคเอแบนด (Ka-Band)

17.3 กิกะเฮิรตซ ถึง 31.0 กิกะเฮิรตซ

ความถี่สูงย่ิงยวด (Extremely High Frequencies: EHF)

30 กิกะเฮิรตซ ถึง 300 กิกะเฮิรตซ

ความถี่สูงย่ิงยวด (Extremely High Frequencies: EHF)

30 กิกะเฮิรตซ ถึง 300 กิกะเฮิรตซ

คาอุปสรรค (Prefix)

คาตัวคูณ คําอุปสรรค สัญลักษณยอ ตัวคูณ 1012 เทระ (Tera) T 1,000,000,000,000 109 จิกะ/กิกะ (giga) G 1,000,000,000 106 เมกกะ/เมกะ (mega) M 1,000,000 103 กิโล (kilo) K 1,000 102 เฮกโต (hecto) H 100 101 เดคา (deca) Da 10 10-1 เดซิ (deci) d 0.1 10-2 เซนต ิ(centi) c 0.01 10-3 มิลลิ (milli) M 0.001 10-6 ไมโคร (micro) μ 0.000001 10-9 นาโน (nano) n 0.000000001 10-12 พิโก (pico) P 0.000000000001

Page 22: ปทานุกรมศัพท์โทรคมนาคมไทย

อางอิง

* คําศัพทเกี่ยวกับ 2G 2.5G และ 3G. สืบคนเม่ือ 14 มิถุนายน 2552, จากเว็บไซต แบไตไฮเทค

http://www.beartai.com/webboard/index.php?topic=43378.0

** คําศัพทเกีย่วกับ 3G สืบคนเม่ือ 14 มิถุนายน 2552, จากเว็บไซต

http://www.bloggang.com/mainblog.php?id=mr-lowtech&month=07-05-

2010&group=1&gblog=4

กวีรัตน เพ็งแจม. Wimax Technology คล่ืนลูกใหมของโลกไรสายท่ีกําลังจะมาถึง. สืบคนเม่ือ 14 มิถุนายน

2552, จากเวบ็ไซต http://www.buycoms.com/upload/coverstory/111/WiMax.html

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546). ศัพทคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ ฉบับ

ราชบัณฑติยสถาน (แกไขเพิ่มเติม). นนทบุรี: สหมิตรพริ้นติ้ง.

สมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ. (2541). ศัพทเทคนิค

วิศวกรรมไฟฟาสื่อสาร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพแหงจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ECTI, NECTEC, NTC, IEEE, (2552), สารานุกรมโทรคมนาคมไทย ฉบับพุทธศักราช 2552,

จัดทําโดย : ศูนยขอมูลสถิติและวิจัยเศรษฐกิจโทรคมนาคม

สํานักพัฒนานโยบายและกฎกติกา

โทร. 501 , 510