วางผังอาคาร

4
ที่มา http://electronic.9nez.com/?page_id=122 การวางผังอาคาร ในการจัดการวางผังใหดและถูกตอง จะตองจัดหาขอมูลตางๆ ท่ใช ในการวางผังให ครบถวน แลวจงกาหนดขอบเขตผังอาคารและตาแหน งเสา ตอจากนันก็ตองกาหนดหาความลกของฐานราก และ กาหนดตาแหนงของอาคารทางสูง พรอมทังว ธการตรวจสอบทุกขันตอนของการกอสราง โดยเฉพาะ อาคารท่สูงหลายชั 1. การตรวจสอบและจัดหาข้อมูลก่อนเร ่มงาน กอนท่จะเร่มงานกอสรางทุกประเภท งานท่สาคัญประการแรกคอ การสารวจตรวจสอบผัง บรเวณใหตรงกับแบบท่กาหนด ซ่งรวมถงขนาดของเน อท่ ขอบเขตของอาคารท่จะกอสราง ระดับของ ฐานรากท่กาหนด การกาหนดจุดบังคับ ทังทางราบและทางด ่ง มว ธการตรวจสอบดังน 1.1 การตรวจสอบผังบร เวณท่จะก่อสร้าง โดยทั่วไปสถาปนกจะกาหนดตาแหนงของอาคารไวในแบบ แผนผังบรเวณ ( Site Plan ) ซ่งจะแสดงขอบเขตทังหมดและตาแหนงของอาคารท่จะปลูกสรางดังนัน ขอมูลท่จะตองทราบจากแบบผังบรเวณกอนเร่มงานวางผังไดแกระยะความกวาง ความยาวทังหมดของ ตัวอาคาร ตาแหนงของอาคารบนพ นท่ดน เชน ระยะห างจากเขตท่ดนโดยรอบหร อจากอาคารขางเคยง ท่ปลูกอยูในพ นท่ดนนั น เป็นตน ระดับของอาคารชันลาง โดยทั่วไปมักจะเปรยบเทยบไวกับจุดใดจุดหน่ง เช น ถนนสาธารณะ หรออาคารขางเคยงนอกจากนในแบบผังบรเวณ อาจจะแสดงตาแหนงของทอ ระบายนาสาธารณะ ทอเมนประปา แนวสายไฟฟา อาคารท่มอยูแลวบนพ นท่ดนเดมและระดับดนถม ระดับถนนภายในบรเวณ 1.2 การตรวจสอบขนาดของเน ้อท ่ดน กอนท่จะเร่มงานวางผัง จะตองม การตรวจสอบขนาดของพ นท่ จร เพ่อใหทราบวาตรงตามเน อท่ด นท่กาหนดไวในแบบผังบรเวณหร อไม (ในการทางานท่ถูกตองการ จัดทาและออกแบบอาคารขันตน จะตองทาการรังวัดเน อท่จร งกอน ไมควรขยายเน อท่จากโฉนดท่ด น.ส.3 หร อ น.ส. 3 ก ) 1.3 การตรวจสอบหาระดับพ้นดนเดม โดยทั่วไปหมุดหลักฐานการระดับ (Bench Mark)จะกาหนดให เป็นความสูงเหนอระดับนาทะเลปานกลาง แต ในงานกอสรางอาคารโดยทั่วๆไปจะกาหนดระดับเป็น 10.000 ม. หร 100.000 ม. ไว ณ ท่ใดท่หน่ง เช น ถนนสาธารณะ หร อกับอาคารขางเคยงการหา ระดับดนเดมก็เปรยบเทยบกับหมุดหลักฐานท่กาหนดให โดยวธการถายระดับแบบตอเน ่อง (Differential Levelling ) โดยช างสารวจท่ชานาญงาน 1.4 การกาหนดจุดบังคับทางราบและทางด ่ง การสร างหมุดจะตองอยูส วนหน่งสวนใดของบรเวณ งาน ท่จะสะดวกตอการตรวจสอบและจะตองม ความมั่นคงแข็งแรงไมกดขวางการขนยายวัสดุและควร มมากกวา 3 หมุด

description

แนะนำวิธีการวางผังอย่างเป็นระบบ เหมาะสำหรับผู้เริ่มต้นครับ

Transcript of วางผังอาคาร

Page 1: วางผังอาคาร

ที่มา http://electronic.9nez.com/?page_id=122

การวางผังอาคาร ในการจัดการวางผังให้ดีและถูกต้อง จะต้องจัดหาข้อมูลต่างๆ ที่ใชใ้นการวางผังใหค้รบถ้วน

แล้วจึงก าหนดขอบเขตผังอาคารและต าแหนง่เสา ต่อจากนั้นก็ต้องก าหนดหาความลึกของฐานราก และ

ก าหนดต าแหน่งของอาคารทางสูง พร้อมทั้งวธิีการตรวจสอบทุกขั้นตอนของการก่อสร้าง โดยเฉพาะ

อาคารที่สูงหลายชัน้

1. การตรวจสอบและจัดหาข้อมูลก่อนเริ่มงาน

ก่อนที่จะเริ่มงานก่อสร้างทุกประเภท งานที่ส าคัญประการแรกคือ การส ารวจตรวจสอบผัง

บริเวณให้ตรงกับแบบที่ก าหนด ซึ่งรวมถึงขนาดของเนื้อที่ ขอบเขตของอาคารที่จะก่อสร้าง ระดับของ

ฐานรากที่ก าหนด การก าหนดจุดบังคับ ทั้งทางราบและทางดิ่ง มีวธิีการตรวจสอบดังนี้คอื

1.1 การตรวจสอบผังบรเิวณท่ีจะก่อสร้าง โดยทั่วไปสถาปนิกจะก าหนดต าแหน่งของอาคารไว้ในแบบ

แผนผังบริเวณ ( Site Plan ) ซึ่งจะแสดงขอบเขตทั้งหมดและต าแหน่งของอาคารที่จะปลูกสร้างดังนั้น

ข้อมลูที่จะต้องทราบจากแบบผังบริเวณก่อนเริ่มงานวางผังได้แก่ระยะความกว้าง ความยาวทั้งหมดของ

ตัวอาคาร ต าแหน่งของอาคารบนพืน้ที่ดิน เช่น ระยะหา่งจากเขตที่ดินโดยรอบหรอืจากอาคารข้างเคียง

ที่ปลูกอยู่ในพืน้ที่ดินนัน้ เป็นต้น ระดับของอาคารช้ันล่าง โดยทั่วไปมักจะเปรียบเทียบไว้กับจุดใดจุดหนึ่ง

เชน่ ถนนสาธารณะ หรืออาคารข้างเคียงนอกจากนี้ในแบบผังบริเวณ อาจจะแสดงต าแหน่งของท่อ

ระบายน้ าสาธารณะ ท่อเมนประปา แนวสายไฟฟ้า อาคารที่มีอยู่แล้วบนพืน้ที่ดินเดิมและระดับดินถม

ระดับถนนภายในบริเวณ

1.2 การตรวจสอบขนาดของเนื้อที่ดิน ก่อนที่จะเริ่มงานวางผัง จะต้องมกีารตรวจสอบขนาดของพื้นที่

จรงิ เพื่อให้ทราบว่าตรงตามเนือ้ที่ดนิที่ก าหนดไว้ในแบบผังบริเวณหรอืไม่(ในการท างานที่ถูกต้องการ

จัดท าและออกแบบอาคารขั้นต้น จะต้องท าการรังวัดเนื้อที่จรงิก่อน ไม่ควรขยายเนื้อที่จากโฉนดที่ดนิ

น.ส.3 หรอื น.ส. 3 ก )

1.3 การตรวจสอบหาระดับพื้นดินเดิม โดยทั่วไปหมุดหลักฐานการระดับ (Bench Mark)จะก าหนดให้

เป็นความสูงเหนือระดับน้ าทะเลปานกลาง แตใ่นงานก่อสร้างอาคารโดยทั่วๆไปจะก าหนดระดับเป็น

10.000 ม. หรอื 100.000 ม. ไว้ ณ ที่ใดที่หนึ่ง เชน่ ถนนสาธารณะ หรอืกับอาคารข้างเคียงการหา

ระดับดินเดิมก็เปรียบเทียบกับหมุดหลักฐานที่ก าหนดใหโ้ดยวิธีการถ่ายระดับแบบต่อเนื่อง (Differential

Levelling ) โดยชา่งส ารวจที่ช านาญงาน

1.4 การก าหนดจุดบังคับทางราบและทางดิ่ง การสรา้งหมุดจะต้องอยู่สว่นหนึ่งส่วนใดของบริเวณ

งาน ที่จะสะดวกต่อการตรวจสอบและจะต้องมคีวามมั่นคงแข็งแรงไม่กีดขวางการขนย้ายวัสดุและควร

มีมากกว่า 3 หมุด

Page 2: วางผังอาคาร

ที่มา http://electronic.9nez.com/?page_id=122

2. การก าหนดขอบเขตผังอาคารและต าแหน่งศูนย์เสา

การก าหนดต าแหนง่อาคารทางราบให้ตรงตามรูปแบบเป็นงานที่ส าคัญมากการวางต าแหน่ง

ผดิพลาด การแก้ไขภายหลัง จะกระท าได้ยาก หรอืกระท าไม่ได้เลยความละเอียดถูกต้อง เป็นสิ่งที่ตอ้ง

ยึดถือเป็นหลักในการปฏิบัติงาน รวมทั้งการตรวจสอบจะต้องกระท าควบคู่กันไปกับการปฏิบัติทุกครั้ง

วิธีการก าหนดต าแหนง่หรอืงานผังอาคาร อาจจะเลือกปฏิบัติหลายวิธีตามลักษณะของงานรวมทั้ง

ความละเอียดถูกต้องที่ต้องการ จะต้องพิจารณาเลือกวิธีให้เหมาะสมกับงานนั้นๆ เพื่อเป็นการประหยัด

ค่าใช้จ่ายและเวลาในการท างาน มีหลายวิธีดังนีค้ือ

2.1 เส้นควบคุมต าแหน่งอาคาร เส้นควบคุมการก่อสร้างอาคารมีอยู่ 3 เส้นคือ เส้นควบคุมทางกว้าง

ทางยาว และ ทางดิ่ง

ต าแหน่งของเส้นควบคุมทางราบ จะวางห่างจากตัวอาคารพอสมควร เพื่อสะดวกต่อการ

ท างาน และอาจจะก าหนดเส้นควบคุมทางราบส ารองเพิ่ม เพื่อสะดวกต่อการตรวจสอบขณะก่อสร้าง

ส่วนเส้นควบคุมทางดิ่งเพื่อใช้ก าหนดระดับความสูงของอาคาร จะก าหนดเป็นระดับอ้างองิไว้ดังได้กล่าว

แล้วขา้งต้น

2.2 การวางผังอาคารด้วยวิธีวางเส้นฐาน (BASE LINE)

การก าหนดต าแหน่งอาคารขนาดใหญ่ที่สะดวกต่อการปฏิบัติวิธีหนึ่งคอื การวางเส้นฐาน โดย

การก าหนดเส้นฐานขึ้นอย่างนอ้ย 2 เส้นให้ตัง้ฉากกัน เพื่อใช้เป็นเส้นควบคุมทางราบของผังอาคาร

แนวเส้นอาคารหรอืแนวเสาอาคารจะได้รับการถ่ายทอดออกจากเส้นฐานนี้ การก าหนดเส้นฐานควร

ก าหนดให้ห่างจากแนวอาคารมากพอสมควรที่จะไม่ถูกรบกวนขณะก่อสร้าง

Page 3: วางผังอาคาร

ที่มา http://electronic.9nez.com/?page_id=122

XO และ YO เป็นเส้นฐาน ตั้งฉากกันที่จุด O

จุด A,B,C,D เป็นต าแหนง่แนวเสาอาคารที่มีระยะหา่งตามที่ก าหนดไว้ตามแปลนฐานรากบน

เส้น XO

จุด E,F,G,H เป็นต าแหน่งแนวเสาอาคารที่มีระยะห่างตามที่ก าหนดไว้ตามแปลนฐานรากบน

เส้น YO

การวัดระยะจะต้องใช้เทปเหล็กและการวัดมุมด้วยกล้องวัดมุม จะต้องท าการตรวจสอบโดยวัด

ด้านทแยงมุม

ต าแหน่ง 1-15 คือ ต าแหน่งแนวศูนย์กลางเสา

จุด A,B,C,D,E,F,G,H ก าหนดโดยตะปูขนาดเล็กบนหมุดไม้ หมุดไม้ขนาด 1.5×1.5 นิว้ตอกแนน่

และมีไมป้ักล้อมรอบ 3-4 ด้าน

ที่หัวและท้ายเส้น A,B,C,D,E,F,G,H ควรจะท าป้ายเพื่อบอกใหท้ราบว่าเป็นต าแหน่งใด

2.3 การวางผังด้วยวิธีการสร้างไม้ผัง ( BATTER BOARDS )

เป็นการสรา้งรั้วไม้ลอ้มรอบบริเวณผังอาคารที่จะท าการก่อสร้าง โดยที่ตัวรัว้จะท าหนา้ที่เป็น

กรอบเหมอืนเส้นฐาน และที่บนกรอบรั้วจะมีระดับเท่ากันโดยใช้ระดับน้ าหรอืสายยางบรรจุน้ าเป็น

ตัวก าหนดระดับ การวัดระยะใชเ้ทปเหล็กหรอืเทปผา้ไม้ที่ใชท้ าผังโดยทั่วไปขนาด 1 ½ x 3 นิว้ สูงจาก

พืน้ประมาณ 50 ซม.

Page 4: วางผังอาคาร

ที่มา http://electronic.9nez.com/?page_id=122

1. วางแนวตอกหลักไม้ตามแนว XO ให้ได้ระดับหา่งจากแนวเสาที่จะก่อสร้างประมาณ 3 ม.

2.วางแนวตอกหลักไม้ตามแนว YO ให้ตัง้ฉากกับแนว XO และให้ได้ระดับแนวเสาที่จะก่อสร้างประมาณ

3 ม. เช่นกัน

3. ด้านที่เหลืออกีสองด้านปฏิบัติท านองเดียวกัน

4. ก าหนดระยะห่างของแนวศูนย์กลางเสาแตล่ะแนวบนผังไม้ และตอกตะปูแสดงต าแหน่งไว้

5. การหาต าแหนง่ศูนย์กลางเสา ให้ใชเ้อ็นขนาดเล็กขึงระหว่างจุดปลายแถวที่ตอกตะปูไว้แลว้ใช้ลูกดิ่ง

ทิง้ที่จุดที่เอ็นตัดกัน ใช้หมุดไม้ตอก ณ ต าแหน่งที่ลูกดิ่งปักพืน้ก็จะได้ศูนย์กลางเสา

6. ท าการตรวจสอบระยะห่างของหมุดไม้ดว้ยเส้นทแยงมุม

7. ระดับก่อสร้างใหใ้ช้ระดับอ้างองิที่ไม้ผังเพื่อถ่ายทอดไปยังระดับต่างๆ ต่อไป