การดันเงินหยวนก้าวไกลสู่เวทีโลก:...

2
บทความวิเคราะห์สถานการณ์ยุทธศาสตร์และความมั่นคงของอาเซียนรายสัปดาห์ ฉบับที่ ๔๒/๕๗ (๑๔ - ๒๐ ก.ค.๕๗) SSC ASEAN Weekly F cus SSC ASEAN Weekly F cus “นครเซี่ยงไฮ้” เคยครองอันดับ ๑ การเป็นผู้นาศูนย์กลางการเงิน ในภูมิภาคเอเชียเมื่อปี ค.ศ.๑๙๔๙ เหนือกว่าโตเกียว สิงคโปร์ และฮ่องกง แต่ด้วยการดาเนินนโยบายปิดประเทศของจีน ทาให้บทบาทด้านการเงิน ของนครเซี่ยงไฮ้ลดน้อยลงจนเสียแชมป์ แต่วิสัยทัศน์อันก้าวไกลของอดีต ผู้นาและผู้วางรากฐานเศรษฐกิจใหม่ของจีนอย่างนายเติ้ง เสี่ยวผิง ทาให้ นครเซี่ยงไฮ้กลับมามีบทบาทสาคัญด้านการเงินอีกครั้ง โดยปี ค.ศ.๑๙๙๑ นายเติ้งฯ ได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาให้เซี่ยงไฮ้เป็นศูนย์กลางการเงิน ระหว่างประเทศของโลก เพื่อส่งเสริมบทบาทของจีนให้มีความเป็นสากล และเร่งส่งเสริมบทบาทของจีนในฐานะประเทศมหาอานาจทางเศรษฐกิจ ของโลก โดยมีนครเซี่ยงไฮ้เป็นเมืองศูนย์กลางเศรษฐกิจที่สาคัญ เช่นเดียวกับ มหานครนิวยอร์ก ลอนดอน และโตเกียว ต่อมาในปี ๒๐๐๙ จีนได้ประกาศเป้าหมายการพัฒนาให้เซี่ยงไฮ้เป็นศูนย์กลางการเงินโลก ภายในปี ค.ศ.๒๐๒๐ ควบคู่กับการผลักดันให้เงินหยวนเป็นเงินสกุลหลัก ของโลก การก้าวขึ้นเป็นศูนย์กลางด้านการเงินระหว่างประเทศนั้น ต้องมี ความพร้อมในแง่โครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวกที่เกี่ยวข้องกับ ภาคการเงิน (Hardware) รวมถึง กฎระเบียบที่เอื้ออานวยและบุคลากรที่มี ความเชี่ยวชาญด้านการเงิน (Software) ซึ่งนครเซี่ยงไฮ้ถือว่าเป็นเมืองแห่ง ศูนย์กลางการเงินภายในประเทศ เป็นที่ตั้งของสถาบันการเงินชั้นนาทั้งจาก จีนและต่างประเทศจานวนกว่า ๑,๑๓๐ แห่ง มีการจัดตั้งเขตการเงินพิเศษ “ลู่เจียจุ่ย” ในพื้นที่เขตเศรษฐกิจใหม่ผู่ตง ย่านใจกลางเมืองนครเซี่ยงไฮ้ เป็น ที่ตั้งของตลาดหลักทรัพย์เซี่ยงไฮ้ ( Shanghai Stock Exchange: SSE) เป็น ศูนย์กลางการแลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ ( National Foreign Ex- change Trading Centre) ตลาดการกู้ยืมระหว่างธนาคาร ( National In- terbank Borrowing Centre) ตลาดล่วงหน้าทางการเงินของจีน ( China Financial Future Exchange) ตลาดพันธบัตรขนาดใหญ่ และตลาดทองคา ซึ่งทาให้นครเซี่ยงไฮ้กลายเป็นศูนย์กลางตลาดการเงินที่สมบูรณ์ที่สุดในจีน ทั้งนี้ รัฐบาลจีนยังได้ออกมาตรการและระเบียบต่างๆ ด้านการเงินระหว่าง ประเทศมารองรับ อาทิ การกาหนดให้เซี่ยงไฮ้เป็นพื้นที่นาร่องในการใช้เงิน หยวนสาหรับการค้าระหว่างประเทศ ส่งเสริมการลงทุนด้วยเงินหยวนของ สถาบันการเงินต่างชาติในตลาดหลักทรัพย์เซี่ยงไฮ้และพัฒนากิจกรรมด้าน เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ดังนั้น นครเซี่ยงไฮ้จึงถูกผลักดันให้ เป็น“ศูนย์กลางระหว่างประเทศใน ๔ ด้าน” คือ ศูนย์กลางเศรษฐกิจ ศูนย์กลางการค้า และศูนย์กลางการขนส่งทางเรือและการพัฒนา รวมถึง ดึงดูดให้วิสาหกิจข้ามชาติขนาดใหญ่ให้มาเปิดสานักงานใหญ่ส่วนภูมิภาค (Regional headquarters) ทั้งนี้ ต้องอาศัย ๓ มาตรการในการผลักดันเงิน หยวนสู่สากล ได้แก่ ๑) RMB Trade Settlement การใช้เงินหยวนเป็น สื่อกลางสาหรับทาการค้าระหว่างประเทศ ๒) Bilateral Currency Swap Agreement การทาความตกลงการแลกเปลี่ยนเงินตรากับ ๑๔ ประเทศทั่ว โลก ๓) Direct trading between Yuan and other currencies การซื้อ – ขาย โดยตรงระหว่างสกุลเงินหยวนกับสกุลเงินต่างประเทศ เป้าหมายศูนย์กลางการเงินโลกของจีน ค.ศ.๒๐๒๐...ผลกระทบต่อ สหรัฐฯ ปัจจุบันอเมริกามีหนี้สาธารณะ ๑๕๘ ล้านๆ เหรียญ หรือราว งบประมาณรายจ่ายของไทย ๒,๑๙๘ ปี หรือมากกว่า GDP ของประเทศทั้ง โลก ๒ เท่า ปัจจุบันเศรษฐกิจอเมริกา กับ EU จะดิ่งลงเหว ทาให้บริษัท “กาโซวายา โปรมีชเลนนอสต์” หรือ “ก๊าซปรอม” ยักษ์ใหญ่ด้านพลังงาน ของรัสเซีย ซึ่งครองตาแหน่งผู้ผลิตก๊าซธรรมชาติรายใหญ่ที่สุดของโลก ประกาศ “ยกเลิกการใช้เงินดอลลาร์สหรัฐฯ” ในทางบัญชีอย่างสิ้นเชิง โดย “นาร่อง” ใช้วิธีการนี้กับการติดต่อซื้อขายด้านพลังงานกับรัฐบาลจีน หรือ บริษัทเอกชนของจีน โดยหันมาใช้เงินรูเบิลของรัสเซีย และเงินหยวนของ จีนเป็นสื่อกลางในการซื้อขายก๊าซธรรมชาติอย่างเต็มตัว การลดบทบาท ของเงินดอลลาร์ถือเป็นเรื่องที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้ และในอนาคตบทบาท ของเงินตราสกุลอื่นในตลาดพลังงานมีแนวโน้มจะเพิ่มสูงขึ้น เวลานี้สถานะ และความน่าเชื่อถือของอเมริกาในเวทีโลกกาลัง “เสื่อมถอย” โดยเป็นผล พวงโดยตรงจากการที่รัฐบาลสหรัฐฯ มีพฤติกรรมแทรกแซงประเทศต่างๆ ทั่วโลกเพียงเพื่อ “ปกป้องผลประโยชน์ของตนเอง” รัสเซียและจีนจึงตอบ โต้โดยการลงนามข้อตกลงประวัติศาสตร์ เมื่อ พ.ค.๕๖ ว่า สาธารณรัฐ ประชาชนจีน ดินแดนที่ได้ชื่อว่ามีขนาดของเศรษฐกิจ “ใหญ่ที่สุดในเอเชีย” ตกลงสั่งซื้อก๊าซธรรมชาติจากรัสเซียในวงเงินมหาศาลคิดเป็นเงินไทยราว “๑๒.๙๕ ล้านล้านบาท” ครอบคลุมการส่งมอบก๊าซธรรมชาติจากแดนหมี ขาวสู่แดนมังกรนานถึง ๓๐ ปีเต็ม และก๊าซปรอมจะทาหน้าท่เป็น ผู้รับผิดชอบในการจัดส่งก๊าซธรรมชาติให้กับทางไชน่า เนชันแนล ปิโตรเลียม ( CNPC) ที่อยู่ภายใต้การดูแลของรัฐบาลจีนในปริมาณ “๓๘,๐๐๐ ล้านลูกบาศก์เมตรต่อปี” ท่ผ่านมาสหรัฐฯ ปิดล้อมจีนทางทหาร อย่างเข้มข้น โดยวางไทยเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางทหารและต้องการใช้ฐานทัพเรือ ติดต่อคณะผู้จัดทา : กองภูมิภาคศึกษาฯ โทร/โทรสาร : ๐ ๒๒๗๕ ๕๗๑๖ website : www.sscthailand.org “การเป็นศูนย์กลางการเงินระหว่างประเทศ สกุลเงินของประเทศต้องเป็นสกุลเงินสากลของโลก การผลักดันเงินหยวน สู่เวทีโลก ( Yuan Internationalization) จึงเป็นปัจจัยหลักที่จะส่งเสริมให้เซี่ยงไฮ้ บรรลุเป้าหมายการเป็นศูนย์กลางการเงิน ของโลก เช่นเดียวกับ เงินดอลลาร์สหรัฐฯ เงินปอนด์สเตอร์ลิง เงินยูโร และเงินเยน ซึ่งเป็นสกุลเงินสาคัญของโลกที่ใช้ในธุรกรรม ระหว่างประเทศอย่างแพร่หลาย และยังเป็นสกุลเงินทุนสารองระหว่างประเทศของรัฐบาลต่างๆ.... การดันเงินหยวนก้าวไกลสู่เวทีโลก: เป้าหมายศูนย์กลางการเงินโลกของจีน ค.ศ.๒๐๒๐

description

I think this is a problem of conspiracy theory on the think tank network in Thailand

Transcript of การดันเงินหยวนก้าวไกลสู่เวทีโลก:...

Page 1: การดันเงินหยวนก้าวไกลสู่เวทีโลก: เป้าหมายศูนย์กลางการเงินโลกของจีน

บทความวเคราะหสถานการณยทธศาสตรและความมนคงของอาเซยนรายสปดาห ฉบบท ๔๒/๕๗ (๑๔ - ๒๐ ก.ค.๕๗)

SSC ASEAN Weekly F cusSSC ASEAN Weekly F cus

“นครเซยงไฮ” เคยครองอนดบ ๑ การเปนผน าศนยกลางการเงนในภมภาคเอเชยเมอป ค.ศ.๑๙๔๙ เหนอกวาโตเกยว สงคโปร และฮองกง แตดวยการด าเนนนโยบายปดประเทศของจน ท าใหบทบาทดานการเงนของนครเซยงไฮลดนอยลงจนเสยแชมป แตวสยทศนอนกาวไกลของอดตผน าและผวางรากฐานเศรษฐกจใหมของจนอยางนายเตง เสยวผง ท าใหนครเซยงไฮกลบมามบทบาทส าคญดานการเงนอกครง โดยป ค.ศ.๑๙๙๑ นายเตงฯ ไดประกาศเปาหมายการพฒนาใหเซยงไฮเปนศนยกลางการเงนระหวางประเทศของโลก เพอสงเสรมบทบาทของจนใหมความเปนสากล และเรงสงเสรมบทบาทของจนในฐานะประเทศมหาอ านาจทางเศรษฐกจของโลก โดยมนครเซยงไฮ เปนเมองศนยกลางเศรษฐกจทส าคญ เชนเดยวกบ มหานครนวยอรก ลอนดอน และโตเกยว ตอมาในป ๒๐๐๙ จนไดประกาศเปาหมายการพฒนาใหเซยงไฮเปนศนยกลางการเงนโลกภายในป ค.ศ.๒๐๒๐ ควบคกบการผลกดนใหเงนหยวนเปนเงนสกลหลกของโลก

การกาวขนเปนศนยกลางดานการเงนระหวางประเทศนน ตองมความพรอมในแงโครงสรางพนฐานและสงอ านวยความสะดวกทเกยวของกบภาคการเงน (Hardware) รวมถง กฎระเบยบทเอออ านวยและบคลากรทมความเชยวชาญดานการเงน (Software) ซงนครเซยงไฮถอวาเปนเมองแหงศนยกลางการเงนภายในประเทศ เปนทตงของสถาบนการเงนชนน าทงจากจนและตางประเทศจ านวนกวา ๑,๑๓๐ แหง มการจดตงเขตการเงนพเศษ “ลเจยจย” ในพนทเขตเศรษฐกจใหมผตง ยานใจกลางเมองนครเซยงไฮ เปนทตงของตลาดหลกทรพยเซยงไฮ (Shanghai Stock Exchange: SSE) เปนศนยกลางการแลกเปลยนเงนตราระหวางประเทศ (National Foreign Ex-change Trading Centre) ตลาดการกยมระหวางธนาคาร (National In-terbank Borrowing Centre) ตลาดลวงหนาทางการเงนของจน (China Financial Future Exchange) ตลาดพนธบตรขนาดใหญ และตลาดทองค า ซงท าใหนครเซยงไฮกลายเปนศนยกลางตลาดการเงนทสมบรณทสดในจน ทงน รฐบาลจนยงไดออกมาตรการและระเบยบตางๆ ดานการเงนระหวางประเทศมารองรบ อาท การก าหนดใหเซยงไฮเปนพนทน ารองในการใชเงนหยวนส าหรบการคาระหวางประเทศ สงเสรมการลงทนดวยเงนหยวนของสถาบนการเงนตางชาตในตลาดหลกทรพยเซยงไฮและพฒนากจกรรมดานเศรษฐกจระหวางประเทศ ด งนน นครเซ ยงไฮจ งถกผลกดนใหเปน“ศนยกลางระหวางประเทศใน ๔ ดาน” คอ ศนยกลางเศรษฐกจ

ศนยกลางการคา และศนยกลางการขนสงทางเรอและการพฒนา รวมถง ดงดดใหวสาหกจขามชาตขนาดใหญใหมาเปดส านกงานใหญสวนภมภาค (Regional headquarters) ทงน ตองอาศย ๓ มาตรการในการผลกดนเงนหยวนสสากล ไดแก ๑) RMB Trade Settlement การใชเงนหยวนเปนสอกลางส าหรบท าการคาระหวางประเทศ ๒) Bilateral Currency Swap Agreement การท าความตกลงการแลกเปลยนเงนตรากบ ๑๔ ประเทศทวโลก ๓) Direct trading between Yuan and other currencies การซอ – ขาย โดยตรงระหวางสกลเงนหยวนกบสกลเงนตางประเทศ เปาหมายศนยกลางการเงนโลกของจน ค.ศ.๒๐๒๐...ผลกระทบตอสหรฐฯ

ปจจบนอเมรกามหนสาธารณะ ๑๕๘ ลานๆ เหรยญ หรอราวงบประมาณรายจายของไทย ๒,๑๙๘ ป หรอมากกวา GDP ของประเทศทงโลก ๒ เทา ปจจบนเศรษฐกจอเมรกา กบ EU จะดงลงเหว ท าใหบรษท “กาโซวายา โปรมชเลนนอสต” หรอ “กาซปรอม” ยกษใหญดานพลงงานของรสเซย ซงครองต าแหนงผผลตกาซธรรมชาตรายใหญทสดของโลก ประกาศ “ยกเลกการใชเงนดอลลารสหรฐฯ” ในทางบญชอยางสนเชง โดย “น ารอง” ใชวธการนกบการตดตอซอขายดานพลงงานกบรฐบาลจน หรอบรษทเอกชนของจน โดยหนมาใชเงนรเบลของรสเซย และเงนหยวนของจนเปนสอกลางในการซอขายกาซธรรมชาตอยางเตมตว การลดบทบาทของเงนดอลลารถอเปนเรองทไมอาจหลกเลยงได และในอนาคตบทบาทของเงนตราสกลอนในตลาดพลงงานมแนวโนมจะเพมสงขน เวลานสถานะและความนาเชอถอของอเมรกาในเวทโลกก าลง “เสอมถอย” โดยเปนผลพวงโดยตรงจากการทรฐบาลสหรฐฯ มพฤตกรรมแทรกแซงประเทศตางๆ ทวโลกเพยงเพอ “ปกปองผลประโยชนของตนเอง” รสเซยและจนจงตอบโตโดยการลงนามขอตกลงประวตศาสตร เมอ พ.ค.๕๖ วา สาธารณรฐประชาชนจน ดนแดนทไดชอวามขนาดของเศรษฐกจ “ใหญทสดในเอเชย” ตกลงสงซอกาซธรรมชาตจากรสเซยในวงเงนมหาศาลคดเปนเงนไทยราว “๑๒.๙๕ ลานลานบาท” ครอบคลมการสงมอบกาซธรรมชาตจากแดนหมขาวสแดนมงกรนานถง ๓๐ ปเตม และกาซปรอมจะท าหนาท เปนผรบผดชอบในการจดสงกาซธรรมชาตใหกบทางไชนา เนชนแนล ปโตรเลยม (CNPC) ทอยภายใตการดแลของรฐบาลจนในปรมาณ “๓๘,๐๐๐ ลานลกบาศกเมตรตอป” ทผานมาสหรฐฯ ปดลอมจนทางทหารอยางเขมขน โดยวางไทยเปนจดยทธศาสตรทางทหารและตองการใชฐานทพเรอ

ตดตอคณะผจดท า : กองภมภาคศกษาฯ โทร/โทรสาร : ๐ ๒๒๗๕ ๕๗๑๖ website : www.sscthailand.org

“การเปนศนยกลางการเงนระหวางประเทศ สกลเงนของประเทศตองเปนสกลเงนสากลของโลก การผลกดนเงนหยวนสเวทโลก (Yuan Internationalization) จงเปนปจจยหลกทจะสงเสรมใหเซยงไฮ บรรลเปาหมายการเปนศนยกลางการเงนของโลก เชนเดยวกบ เงนดอลลารสหรฐฯ เงนปอนดสเตอรลง เงนยโร และเงนเยน ซงเปนสกลเงนส าคญของโลกทใชในธรกรรมระหวางประเทศอยางแพรหลาย และยงเปนสกลเงนทนส ารองระหวางประเทศของรฐบาลตางๆ....”

การดนเงนหยวนกาวไกลสเวทโลก: เปาหมายศนยกลางการเงนโลกของจน ค.ศ.๒๐๒๐

Page 2: การดันเงินหยวนก้าวไกลสู่เวทีโลก: เป้าหมายศูนย์กลางการเงินโลกของจีน

ตดตอคณะผจดท า : กองภมภาคศกษาฯ โทร/โทรสาร : ๐ ๒๒๗๕ ๕๗๑๖ website : www.sscthailand.org

SSC ASEAN Weekly F CUSSSC ASEAN Weekly F CUS

อตะเภาเปนฐาน สาเหตหลกเพราะอเมรกาตองการสกดกนการแผอทธพลของจน ผานนโยบายทจะปลอยลอยตวเงนหยวนใหผงาดเปนเงนสกลหลกของโลกในอนาคต เพอประชนกบดอลลาร ถาจนสามารถผลกดนใหเงนหยวน เปนเงนสกลหลกส าหรบการคาขายแลกเปลยนเงนตรา จะสงผลใหมหาอ านาจ และฐานะการเงนของอเมรกาถกบนทอนและออนแอ ความตองการดอลลารในโลกใบนจะนอยลง ท าใหอเมรกามภาระเพมในการกหนยมสน อเมรกาจงตองการใชฐานทพเรออตะเภาเปนฐานปฏบตการทางทหารในการปดลอม หรอท าสงครามกบจนในอนาคต ฐานทพทางทหารทส าคญนอกจากประเทศไทย คอ ฟลปปนส สงคโปร เวยดนาม ออสเตรเลย นวซแลนด เกาหลใต และญปน ทงน อเมรกาอยากไดพมามาเปนพนธมตรผานกลมการเมองของอองซานซจนดวย เพราะไทยและพมาเปนประเทศยทธศาสตร การทจนจะปลอยให “เงนหยวนลอยตว” เพราะจนมก าลงซอมหาศาลสามารถซอธรกจทกอยางทขวางหนาได จนมเงนทนส ารองระหวางประเทศมากทสดในโลกถงกวา ๓ ลานลานดอลลาร และเปนผถอพนธบตรอเมรการายใหญสดประมาณ ๑ ลานลานดอลลาร ถาจนยอมขาดทนทงพนธบตรอเมรกาออกไปทงหมด อเมรกาจะประสบกบความหายนะทางการเงน พนธบตรจะราคาตกทรดเหลอ ๕๐% เปาหมายศนยกลางการเงนโลกของจน ค.ศ.๒๐๒๐...ผลกระทบตอไทยและอาเซยน

เงนทนส ารองระหวางประเทศของไทยทบรหารโดยธนาคารแหงประเทศไทยกถอดอลลารอยสวนมาก ไทยเองถอพนธบตรรฐบาลอเมรกาประมาณ ๕ – ๖ หมนลานดอลลาร จะไมมคาขนมาทนทถาจนทงพนธบตรอเมรกา ทงน ไทยเปนยทธศาสตรส าคญในภมภาคอาเชยนทจนและรสเซยพยายามจะเขามามบทบาท ถาเพยงไทยเชดใสอเมรกา กองทพไทยอาจจะตองเรยนรเทคโนโลยระบบอาวธจากจนและรสเซย สงผลใหเงนหยวนจนไดรบความนยมเพม อเมรกาและสหภาพยโรปจะเครยด เพราะสญเสยผลประโยชนทางการคามหาศาล ธนาคารแหงประเทศไทย (ธปท.) ตระหนกถงความส าคญของเงนหยวน ทมแนวโนมวาจะมบทบาทเพมขนเรอยๆ ในอนาคต และไดพยายามสงเสรมใหผประกอบการไทย เรมหนมาใชเงนหยวนในการคา และการลงทนมากขน เพอเปนเครองมอหนงในการบรหารจดการความเสยงจากอตราแลกเปลยน และลดผลกระทบจากความผนผวนของเงนสกลหลก โดยทผานมาเงนบาทไทย กสามารถก าหนดราคาซอขาย (โควต) ระหวางเงนบาทกบเงนหยวนโดยตรงไดทคนหมงของจนแลว ทงน องกฤษกเสนอตวเปนศนยกลางการช าระดลสกลเงนหยวน หรอรสเซยกตกลงกบจนในการช าระคาสนคาดวยเงนสกลทองถนระหวางกน โดยการทเงนสกลจน จะตดตลาดจนสามารถท าหนาทเปน international currency (สกลเงนสากล) ตองมคณสมบต คอ (๑) เงนหยวนเปนเงนทใชแลกเปลยนไดเตมท (Full convertibility) (๒) ตลาดเงนสกลหยวนมแนวโนมขนาดใหญและมระดบการพฒนาทมศกยภาพสง และ (๓) ประเทศจนเจาของเงนหยวนมขนาดเศรษฐกจใหญเปนอนดบสองของโลก ดงนน หากอนาคตเซยงไฮสามารถบรรลเปาหมายการเปนศนยกลางการเงนโลกแลว

ธรกจการคาระหวางไทยและเซยงไฮจะมความสะดวกมากยงขน เนองจากมปรมาณไหลเวยนของเงนหยวนทสามารถน ามาใชช าระหนระหวางประเทศไดเพมขน ธนาคารของไทยในจนยงจะสามารถมแหลงระดมเงนทนทเปนรปเงนหยวนไดมากขน ทงสามารถน าเงนหยวนทมไปลงทนในตลาดทนของเซยงไฮและสามารถสรางผลตภณฑทางการเงนทเปนการลงทนในตลาดหลกทรพยของจนผานเซยงไฮได สรป ปจจยส าคญอกอยางหนงทจะท าใหยทธศาสตรภมภาคนยมของเงนหยวนส าเรจ คอ การใชประโยชนจากสถาบนอยาง องคการความรวมมอแหงเซยงไฮ หรอ SCO (Shanghai Cooperation Organization) ทเปนองคการดานความมนคงและไดขยายความรวมมอไปยงดานเศรษฐกจ เทคโนโลย และวฒนธรรม ทงน การทจนเปดใหมการซอขายเงนหยวนกบเงนรเบลของรสเซยจะตอเขากบหมากยทธศาสตรเงนหยวน การพฒนาและความมนคงในซนเจยง รวมถง ความรวมมอดานพลงงานระหวางจน รสเซย และคาซคสถาน ทแนนแฟนซงจะประกอบเปนภาพของ “เปโตรหยวน” (Petroyuan) ออกมาอยางลงตว โดยโครงสรางดานการคมนาคม การคาและพลงงาน การเงน และความมนคง ทจนมปฏสมพนธกบรสเซยและเอเชยกลางจะเปนตวสนบสนนใหเปโตรหยวนเกดขนและปกธงในภมภาคน โดยรสเซยทเดยวกคมกระแสเงนเปโตรดอลลารทวโลกมากกวา ๑.๑ ลานดอลลาร อกทงคาซคสถานและประเทศในเอเชยกลางกลวนอยในอทธพลของทง ๒ ประเทศในทางความมนคงทงในดานของทตงทางภมศาสตรและขอตกลงดานความมนคงภายใตกรอบของ SCO ดงนน หากจนและรสเซยสามารถพาเงนหยวนปกธงไดแนนในรสเซยและเอเชยกลาง กเชอไดวาจะเกดการปกธงของเปโตรหยวนในผสงออกน ามนนอกชาตอาหรบกลม GCC ในอนาคต พลวตดานนโยบายเงนหยวนและความมนคงของจนทมทศทางตามทกลาวมาขางตน กอใหเกดสงครามใหมทมความซบซอนทเรยกวา “สงครามเงนตราระหวางประเทศ (International Currency War)” คอ “Petro Currency War” หรอ “สงครามเงนตราน ามน” ซงจะเปนการขบเคยวทซบซอนกวาสงครามเงนตราแบบทวๆไปมาก ซงมกจ ากดวงอยทการตอสดานนโยบายการเงนและการขบเคยวกนในตลาดเงนโลก (Global Currency Market) สงครามการเงนมความส าคญมากตอสถานะของเงนดอลลารและสหรฐฯ ในเวทโลก เพราะการทน ามนขายเปนดอลลาร มสวนชวยในการเปนแหลงอปสงคทมตอเงนดอลลาร ซงชวยพยงคาเงนดอลลารและราคาสนทรพยของสหรฐฯ เอาไวและสงผลส าคญตอโครงสรางการไหลเวยนของเงนทนโลกอกดวย อางองhttp://www.thaibizchina.com http://www.manager.co.th

เพอประโยชนในการพฒนา SSC ASEAN Weekly Focus กรณาสงขอคดเหนของทานมายงคณะผจดท า (กภศ.ศศย.สปท.)

๑. เหตผลทอาน SSC ASEAN Weekly Focus ขอมลเปนประโยชนตอการท างาน เนอหามความนาสนใจ อนๆ (กรณาระบ)..................................................... ๒. บทความทชอบอานใน SSC ASEAN Weekly Focus ใหคะแนนจาก ๑ ชอบนอยทสด ถง ๕ ชอบมากทสดจากบทความ ดงน ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ การเมอง/ความมนคง วทยาศาสตร/เทคโนโลย เศรษฐกจ การทหาร สงคมวฒนธรรม พลงงาน/สงแวดลอม ๓. ขอเสนอแนะ......................................................................................................................................................................................................................