ปัญหาการจราจรคอขวดบนอินเทอร์เน็ต

16
1 ทางดวนขอมูลติดขัด !!! ภาวะวิกฤตบนอินเทอรเน็ต ? สุรพล ศรีบุญทรง ดวยปริมาณผูใชบริการอินเทอรเน็ตที่เพิ่มขึ้นเปนลานในแตละป ประกอบเขากับความนิยมในการ แลกเปลี่ยนขอมูลแบบมัลติมีเดีย สัญญาณภาพ 3 มิติ และสัญญาณวิดีโอ ที่กําลังบูมกันขนานใหญ กอใหเกิดคําถาม ที่นาสนใจติดตามมาวา "ชองทางการสื่อสารขอมูลที่มีๆ อยูบนโลกในขณะนีจะมีสมรรถนะเพียงพอตอการรองรับ ขอมูลปริมาณมหาศาลเหลานี้ไดหรือ ? ถาไมพอ ควรจะมีมาตรการใดบางมารองรับ ?" เพื่อตอบปญหาดังกลาว จึงขอนําการวิเคราะหของแองเจลา นาวาเร็ตต ในบทความชื่อ "Fast Forward Future Internet" ซึ่งลงตีพิมพใน นิตยสารพีซีเวิลดฉบับเดือนมีนาคมที่ผานมา มาเลาสูกันฟง "เร็ว, แพง และมีใหเลือกนอย" แนวโนมของบริการอินเทอรเน็ต ปญหาความแออัดของการจราจรขอมูลบน อินเทอรเน็ตไมใชสิ่งที่เพิ่งจะมาตื่นตัวกันเมื่อเร็วๆ นีอันที่จริง มันเปน เรื่องไดรับความสนใจในหมูนักคอมพิวเตอรนับมาโดยตลอดนับตั้งแต เครือขายอินเทอรเน็ตไดถือกําเนิดขึ้นมาบนโลกมนุษย แตที่ผานๆ มา นั้นปญหายังปรากฏใหเห็นไดไมชัดเจนเทาไร ไมเหมือนกับสภาพทีปรากฏอยูในปจจุบัน และที่กําลังจะเปนไปในอีกสองสามปขางหนา ยกตัวอยางเชน ผลการศึกษาครั้งลาสุดของบริษัท วิจัยฟอเรสเตอรนั้นไดคาดการณไววา ในชวงระยะเวลาสามปขางหนา จะมีจํานวนผูสมัครเขาใชบริการอินเทอรเน็ตใน สหรัฐอเมริกาเพิ่มขึ้นถึงเกือบสามเทาตัว คือเพิ่มจาก 28.7 ลานคนในขณะนี้ ไปเปน 77.6 ลานคนในป ค.ศ. 2002 ที่สําคัญ ในประดาผูใชบริการอินเทอรเน็ต 77.6 ลานคนนี้ จะมีอยูราวๆ 20 % หรือ 16 ลานคนที่ใชวิธี ติดตอเขาสูอินเทอรเน็ตผานทางสายเคเบิ้ล หรือบริการ DSL (Digital Subscriber Line) ซึ่งมีสมรรถนะความเร็วในการ รับ/สงขอมูลสูงกวาอุปกรณโมเด็มขนาด 56 kbps ที่นิยมใชกันอยูในขณะนี้ถึงกวา 50 เทาตัว ในขณะเดียวกันรูปแบบ ของขอมูลที่จะถูกรับ/สงระหวางมวลสมาชิกอินเทอรเน็ตก็เริ่มจะมีลูกเลนและสีสรรแบบมัลติมีเดียเพิ่มมากขึ้นเรื่อยๆ คือ แทนที่จะใชสํารวจขอมูลบนเว็บไซทและรับ/สงอีเมลลกันตามธรรมดา สมาชิกอินเทอรเน็ตยุคใหมก็ จะเริ่มจัดการประชุมทางไกล (videoconference) กันอยางเปนทางการ, มีการใชโทรศัพทผานอินเทอรเน็ต (Telephony) ซึ่งมีทั้งภาพและเสียง แถมยังประหยัดกวากันไมรูกี่เทาตัวเมื่อเทียบกับโทรศัพททางไกล, หรือถาใครขีเกียจฝาการจราจรบนทองถนนมากๆ ก็อาจจะใชวิธีทํางานอยูกับบานแลวโอนยายขอมูลผานทางอินเทอรเน็ต (Telecommuting) แทน ซึ่งนาสนใจมากสําหรับอาชีพขีดๆ เขียนๆ, และที่กําลังมาแรงอีกอยางคือการเลนเกมสบน อินเทอรเน็ต ซึ่งคงจะบูมขึ้นอยางไมตองสงสัยหากวาชองทางการสื่อสารขอมูลไดรับการพัฒนาใหรองรับปริมาณขอมูล มากๆ ไดรวดเร็วพอ ทีนีเมื่อจํานวนสมาชิกผูใชบริการอินเทอรเน็ตเพิ่มขึ้นเกือบสามเทาตัว พรอมๆ กับที่แตละคนก็เพิ่ม จํานวนขอมูลที่รับ/สงเขาสูอินเทอรเน็ตเปนปริมาณสิบเทาตัว (เทียบระหวางขอมูลภาพสามิติกับขอมูลอีเมลล) ผลทีติดตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมได ยอมหมายถึงความคับคั่งของการจราจรขอมูล เทียบงายๆ ก็ลองจิตนาการถึงสภาพทาง

Transcript of ปัญหาการจราจรคอขวดบนอินเทอร์เน็ต

1

ทางดวนขอมูลติดขัด !!!

ภาวะวิกฤตบนอินเทอรเน็ต ? สุรพล ศรีบุญทรง

ดวยปริมาณผูใชบริการอินเทอรเน็ตท่ีเพ่ิมขึ้นเปนลานในแตละป ประกอบเขากับความนิยมในการ

แลกเปลี่ยนขอมูลแบบมัลติมีเดีย สัญญาณภาพ 3 มิติ และสัญญาณวิดีโอ ท่ีกําลังบูมกันขนานใหญ กอใหเกิดคําถาม

ท่ีนาสนใจติดตามมาวา "ชองทางการสื่อสารขอมูลที่มีๆ อยูบนโลกในขณะน้ี จะมีสมรรถนะเพียงพอตอการรองรับ

ขอมูลปริมาณมหาศาลเหลาน้ีไดหรือ ? ถาไมพอ ควรจะมีมาตรการใดบางมารองรับ ?" เพ่ือตอบปญหาดังกลาว

จึงขอนําการวิเคราะหของแองเจลา นาวาเร็ตต ในบทความช่ือ "Fast Forward Future Internet" ซ่ึงลงตีพิมพใน

นิตยสารพีซีเวิลดฉบับเดือนมีนาคมท่ีผานมา มาเลาสูกันฟง

"เร็ว, แพง และมีใหเลือกนอย"

แนวโนมของบริการอินเทอรเน็ต

ปญหาความแออัดของการจราจรขอมูลบน

อินเทอรเน็ตไมใชสิ่งที่เพ่ิงจะมาต่ืนตัวกันเม่ือเร็วๆ นี้ อันที่จริง มันเปน

เรื่องไดรับความสนใจในหมูนักคอมพิวเตอรนับมาโดยตลอดนับต้ังแต

เครือขายอินเทอรเน็ตไดถือกําเนิดขึ้นมาบนโลกมนุษย แตที่ผานๆ มา

น้ันปญหายังปรากฏใหเห็นไดไมชัดเจนเทาไร ไมเหมือนกับสภาพที่

ปรากฏอยูในปจจุบัน และที่กําลังจะเปนไปในอีกสองสามปขางหนา ยกตัวอยางเชน ผลการศึกษาครั้งลาสุดของบริษัท

วิจัยฟอเรสเตอรน้ันไดคาดการณไววา ในชวงระยะเวลาสามปขางหนา จะมีจํานวนผูสมัครเขาใชบริการอินเทอรเน็ตใน

สหรัฐอเมริกาเพ่ิมขึ้นถึงเกือบสามเทาตัว คือเพ่ิมจาก 28.7 ลานคนในขณะน้ี ไปเปน 77.6 ลานคนในป ค.ศ. 2002

ที่สําคัญ ในประดาผูใชบริการอินเทอรเน็ต 77.6 ลานคนนี้ จะมีอยูราวๆ 20 % หรือ 16 ลานคนที่ใชวิธี

ติดตอเขาสูอินเทอรเน็ตผานทางสายเคเบิ้ล หรือบริการ DSL (Digital Subscriber Line) ซ่ึงมีสมรรถนะความเร็วในการ

รับ/สงขอมูลสูงกวาอุปกรณโมเด็มขนาด 56 kbps ที่นิยมใชกันอยูในขณะนี้ถึงกวา 50 เทาตัว ในขณะเดียวกันรูปแบบ

ของขอมูลที่จะถูกรับ/สงระหวางมวลสมาชิกอินเทอรเน็ตก็เริ่มจะมีลูกเลนและสีสรรแบบมัลติมีเดียเพ่ิมมากขึ้นเรื่อยๆ

คือ แทนที่จะใชสํารวจขอมูลบนเว็บไซทและรับ/สงอีเมลลกันตามธรรมดา สมาชิกอินเทอรเน็ตยุคใหมก็

จะเริ่มจัดการประชุมทางไกล (videoconference) กันอยางเปนทางการ, มีการใชโทรศัพทผานอินเทอรเน็ต

(Telephony) ซึ่งมีทั้งภาพและเสียง แถมยังประหยัดกวากันไมรูก่ีเทาตัวเม่ือเทียบกับโทรศัพททางไกล, หรือถาใครขี้

เกียจฝาการจราจรบนทองถนนมากๆ ก็อาจจะใชวิธีทํางานอยูกับบานแลวโอนยายขอมูลผานทางอินเทอรเน็ต

(Telecommuting) แทน ซ่ึงนาสนใจมากสําหรับอาชีพขีดๆ เขียนๆ, และที่กําลังมาแรงอีกอยางคือการเลนเกมสบน

อินเทอรเน็ต ซึ่งคงจะบูมขึ้นอยางไมตองสงสัยหากวาชองทางการสื่อสารขอมูลไดรับการพัฒนาใหรองรับปริมาณขอมูล

มากๆ ไดรวดเร็วพอ

ทีนี้ เม่ือจํานวนสมาชิกผูใชบริการอินเทอรเน็ตเพ่ิมขึ้นเกือบสามเทาตัว พรอมๆ กับที่แตละคนก็เพ่ิม

จํานวนขอมูลที่รับ/สงเขาสูอินเทอรเน็ตเปนปริมาณสิบเทาตัว (เทียบระหวางขอมูลภาพสามิติกับขอมูลอีเมลล) ผลที่

ติดตามมาอยางหลีกเลี่ยงไมได ยอมหมายถึงความคับค่ังของการจราจรขอมูล เทียบงายๆ ก็ลองจิตนาการถึงสภาพทาง

2

ดวนสายหลักๆ ในเมืองไทยเราน่ีแหละ ถาหากมีรถยนตเพ่ิมใหมขึ้นมาจากเดิมอีกสามเทา และแตละคันลวนทําความเร็ว

ไดสูงข้ึนเปน 10 เทา และทุกคันบรรทุกไวดวยสัมภาระนับเปนสิบตัน จะเกิดอะไรข้ึน แนนอน รถรายอมจะติดกันอยาง

วินาศสันติโรตรงบริเวณการจราจรคอขวด

ทางออกสําหรับการแกปญหาจราจรทางบกที่

นิยมทํากันทั่วโลกก็คือ การเพ่ิมพ้ืนผิวการจราจร การจัด

การจราจรที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น รวมไปกับการจํากัดปริมาณ

เพ่ิมข้ึนของรถยนต ซ่ึงก็คลายคลึงกับการแกปญหาการจราจร

บนอินเทอรเน็ตเหมือนกัน เพียงแตวาบนอินเทอรเน็ตน้ันไมมีการ

จํากัดการเพ่ิมข้ึนของสมาชิกและไมมีการจํากัดปริมาณของขอมูล

ที่จะถูกสงผานไปมาระหวางสมาชิก อาศัยเพียงการเพิ่มขีดสมรรถนะความเร็วของชองทางสื่อสาร รวมไปกับเทคโนโลยี

การสื่อสารขอมูลรูปแบบใหมๆ โดยเฉพาะสวนที่เรียกวาเสนทางสื่อสารหลัก (Backbone แปลตรงตัววา "ชองทาง

สื่อสารกระดูกสันหลัง") น้ัน อาจจะถูกเพ่ิมขีดความเร็วของการรับ/สงสัญญาณขอมูลข้ึนไปเปนพันเทาถึง 38 gbps เลย

ทีเดียว

นอกจากการพัฒนาดานความเร็วใหกับเครือขายอินเทอรเน็ตแลว เร่ืองของการรักษาความปลอดภัย

ใหกับบรรดาขอมูล (security) ที่ถูกสงผานไปมาบนอินเทอรเน็ตก็เปนเรื่องที่กําลังไดรับการปรับปรุงกันเปนขนานใหญ

ทั้งน้ีก็เพ่ือตอบสนองตอความตองการดานการดําเนินธุรกิจบนอินเทอรเน็ต เพราะถาปลอยใหขอมูลดานการเงิน หรือ

ขอมูลเก่ียวกับบัตรเครดิตบนอินเทอรเน็ตถูกโจรกรรมไปไดงายๆ ก็คงมีนักลงทุนเพียงไมกี่รายที่จะกลาเสี่ยงเขามา

ดําเนินธุรกิจบนอินเทอรเน็ต ในทางกลับกัน ทางดานผูบริโภคก็คงยังไมอยาก

เสี่ยงซ้ือขายสินคาและบริการผานทางอินเทอรเน็ตหากไมจําเปนจริงๆ (ผูเขียน

เคยสมัครเรียนกับมหาวิทยาลัยในอเมริกาผานอินเทอรเน็ต ปรากฎวาถูกหักบัญชี

ผิดพลาดซํ้าซอนถึงสองครั้ง สองมหาวิทยาลัย จนตองเสียเวลาไปยกเลิกการสั่ง

จายใหวุนวาย)

อยางไรก็ตาม การที่จะเพ่ิมขีดความเร็ว และความปลอดภัยในชองทางสื่อสารที่ตนเองมีใหบริการไดนั้น

หมายความวาบริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ต (ISP, Internet Service Provider) จะตองมีเงินลงทุนหนาพอสมควร และ

น่ันเองที่เปนที่มาของขอสรุปซึ่งผูเขียนนํามาใชเปนประเด็นของหัวขอน้ี ที่วา "เร็ว, แพง และมีใหเลือกนอย" แนวโนม

ของบริการอินเทอรเน็ต เพราะเม่ือมีตนทุนการใหบริการที่สูงข้ึนมาก บริษัทผูใหบริการอินเทอรเน็ตจํานวนหนึ่งก็

ยอมจะทนแขงขันกับบริษัทใหญๆ ไมไหว ตองรางลาไปจากวงการในที่สุด ทําใหคาบริการอินเทอรเน็ตที่แพงอยูแลว

จากภาวะตนทุนสูง ตองแพงหนักยิ่งขึ้นไปอีกเพราะเริ่มมีการผูกขาดตลาด หรือฮั้วตลาดกันไดระหวางผูประกอบการที่มี

อยูนอยราย และสุดทาย ถึงคาบริการอินเทอรเน็ตจะมีราคาแพงเพียงไร ผูใชอินเทอรเน็ตก็คงตองยอมกัดฟนจาย

เพราะมีจํานวนผูขายบริการใหเลือกไดนอย

รูปที่ 1 ภาพไดอะแกรมแสดงโครงสรางคราวๆ ของกระบวนการสื่อสารบนอินเทอรเน็ตในสหรัฐฯ เริ่มจากเสนทางส่ือสารสวนที่ออกมาจาก

คอมพิวเตอรตามบานพักอาศัย และหางรานตางๆ ไปยังศูนยบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) หรือที่นักวิชาการฝรั่งมักจะเรียก

เสนทางจราจรชวงน้ีวาเปนหลักไมลลสุดทาย (The last mile) ซึ่งจะแตกตางกันไปบางเล็กนอยระหวาง ลูกคาประเภท

บานพักอาศัยกับลูกคาประเภทหางรานธุรกิจ เพราะพวกบานพักมักจะไมลงทุนกับคาบริการที่แพงนัก จึงมีขีดจํากัดความเร็ว

3

อยูประมาณ 28.8 kbps ถึง 3 mbps ในขณะท่ีลูกคาประเภทหางรานอาจจะยินดีเสียเงินเสียทองมากๆ หากตองการขีด

ความเร็วสูงๆ ระดับ T1 หรือ DSL ซึ่งน่ันก็จะสงผลใหสามารถรับสงขอมูลไดดวยความเร็วสูงถึง 274 mbps

สําหรับเสนทางส่ือสารหลัก หรือที่เรียกวา Backbone นั้น มีขีดความเร็วสัญญาณสูงถึง 38 gbps (จะเพิ่มเปน 200

gbps ในป ค.ศ. 2002) และเปนเครือขายการสื่อสารที่ถูกวางไวโดยผูประกอบการขนาดใหญๆ อยาง สปริ้นท, เอ็มซีไอ, เวิลด

คอม, และเอทีแอนดที และบริษัทเจาของเสนทางหลักเหลานี้สวนใหญก็มักจะการจัดตั้งศูนยบริการอินเทอรเน็ตของตนเองไว

ดวย จึงถูกเรียกวา T1 ISPs หรือ National ISPs และถาหากมีชองทางส่ือสารเหลือเฟอพวกน้ีก็จะแบงขายบริการ

ใหกับศูนยบริการอินเทอรเน็ตรายยอยๆ ตอไปอีก โดยผานจุดเชอมตอสัญญาณเรียกวา Network Access Points (NAPs)

กอนจะเขาไปสูเสนทางหลัก

ศัพทแสงควรรูเก่ียวกับทางดวนขอมูล

เพื่อใหสื่อความเขาใจไดตรงกัน ผูเขียนคิดวาเรานาจะมาทําความเขาใจกับศัพทแสงดานเทคนิค

บางอยางที่เก่ียวของกับเทคโนโลยีทางดวนขอมูลกันสักนิด

มาตรฐานการสื่อสารแบบ ATM : เปนมาตรฐานการสงผานขอมูลรูปแบบใหมซึ่งเพ่ิงไดรับการ

พัฒนาขึ้นมาไดไมถึงสิบป มีความเร็วสูงมาก สามารถรองรับสัญญาณไดทั้งที่เปนเสียงพูดแบบการ

ติดตอทางโทรศัพท สัญญาณที่เปนขอมูลซ่ึงรับ/สงกันอยูระหวางเครื่องคอมพิวเตอร และแมกระทั่ง

สัญญาณวิดีโอแบบที่เปนภาพยนต หรือเปนการประชุมทางไกล ฯลฯ ชื่อเต็มๆ ของมาตรฐานการ

สื่อสารตัวน้ีคือ Asynchronous Transfer Mode ซ่ึงหมายถึงวาผูรับและผูสงสัญญาณตางคนตางทํา

หนาที่ของตนเองไป โดยไมจําเปนตองมานัดหมายกันวาใครจะรับใครจะสงเม่ือไร

เสนทางส่ือสารหลัก (Backbone) : คําวา Backbone น้ีถาแปลกันตรงๆ ก็จะหมายถึงกระดูกสันหลัง

ซึ่งเขาใจวาผูที่ริเริ่มนําคําน้ีมาใชจะหมายถึงเสนทางสื่อสารสายหลักของเครือขายคอมพิวเตอร เปรียบ

เหมือนระบบการสั่งงานจากสมองของมนุษยนั้น คําสั่งทั้งหลายรวมทั้งการรับรูถึงประสาทสัมผัสจะตอง

ผานเขาออกทางไขสันหลัง (ซึ่งอยูภายในกระดูกสันหลัง) เสมอ หากไขสันหลังขาดมนุษยก็จะกลายเปน

อัมพาต เชนเดียวกัน หากเสนทางสื่อสารหลักขาดการสื่อสารภายในเครือขายคอมพิวเตอรก็ยอมจะ

หยุดลงไปในทันทีเชนกัน

ในทางปฏิบัติ เสนทางสื่อสารหลักจะใชตัวกลางที่มีขีดความสามารถในการรับ/สงขอมูลไดสูง

ที่สุด ซึ่งก็คือ สายเคเบิ้ลใยแกวนําแสงนั่นเอง เชน ตามมหาวิทยาลัยช้ันนําของไทยน้ัน เราจะพบวามี

เสนใยแกวนําแสงน้ีถูกลากเชื่อมอยูระหวางคณะ และศูนยคอมพิวเตอร โดยในระยะแรกๆ ที่ตนทุน

คาใชจายของการวางสายเคเบิ้ลใยแกวนําแสงยังคงมีราคาแพงอยูนั้น เสนใยแกวนําแสงมักจะถูกจํากัด

การใชงานระหวางศูนยขอมูลสําคัญๆ อยางในมหาวิทยาลัยก็มักจะมีเสน Backbone น้ีเพียงเสนเดียว

แตในปจจุบันนี้ ราคาคาใชจายของการวาง

สายใยแกวนําแสงไดถูกลงไปมากเม่ือเทียบกับคา

ครองชีพ ทําใหองคกรตางๆ พากันเพิ่มปริมาณ

ของเสนทางสื่อสารหลักของตนกันเปนขนานใหญ

ในขณะเดียวกัน รัฐบาลของชาติที่ม่ังค่ังทาง

เศรษฐกิจมากๆ อยางสหรัฐฯ ญี่ปุน และยุโรป ก็ได

4

ลงทุนวางสายเคเบิ้ลใยแกวเช่ือมโยงระหวางเมืองใหญๆ ครอบคลุมพ้ืนที่ทั่วทระเทศ ฉนั้น ความหมาย

ของ Backbone จึงเริ่มจะเปลี่ยนไป และน่ีเองที่ทําใหผูเขียนสมัครใจที่จะเรียกมันวา "เสนทางสื่อสาร

หลัก" มากกวา เสนทางสื่อสารกระดูกสันหลัง เพราะมันคงตลกมากที่จะมีสิ่งมีชีวิตชนิดใดที่มีกระดูกสัน

หลังมากกวาหนึ่งเสน

สมรรถนะของชองทางสื่อสาร (Bandwidth) : บางคนแปลตรงๆ วาเปนความกวางของชองทางนํา

สัญญาณ แตถาเราพิจารณากันถึงสภาพการใชงานจริงๆ ของคําศัพทดังกลาว มันนาจะตรงกับคา

สมรรถนะความเร็วของการสงผานสัญญาณมากกวา เพราะมันหมายถึงจํานวนขอมูลที่สายสัญญาณ

สามารถสงผานไดในแตละวินาที ระบุหนวยเปนบิทตอวินาที (bps) หรือถาจะขยายสเกลใหใหญข้ึนก็

ระบุเปนพันบิทตอวินาที (kbps) ลานบิทตอวินาที (mbps) และพันลานบิทตอวินาที (gbps) ไป

ตามลําดับ

ชองทางสื่อสารสมรรถนะสูง (Broadband) : หมายถึงเสนทางนําสัญญาณที่มีขีดความเร็วในการรับ/

สงสัญญาณสูงมากๆ (เม่ือเทียบกับการรับ/สงขอมูลผานสายโทรศัพท) อยางเชน สายเคเบิ้ล หรือบริการ

DSL

ระบบโทรศัพทพวงสาย (Circuit Switching) : เปนระบบการสื่อสารแบบโบราณเชนอยางที่เราใช

ติดตอพูดคุยกันทางโทรศัพทปรกติ ซ่ึงเวลาที่ผูใชโทรศัพทหมายเลขหน่ึงหมุนโทรศัพทไปหาผูใช

โทรศัพทอีกหมายเลขหน่ึง ชองทางสื่อสารระหวางคูสายทั้งสองก็จะถูกจองการใชไวอยางตอเนื่อง

ตลอดเวลา ตราบใดที่ทั้งคูยังไมวางสาย ซึ่งถือวาเปนการใชทรัพยากรอยางสิ้นเปลืองและไมคุมคา

มากๆ เพราะหากเราบริหารการใชเสนทางนําสัญญาณใหดีๆ ระหวางที่ผูใชโทรศัพทหยุดพูดไปก็

สามารถจะใชสงไฟลลขอมูลไปมาไดเปนจํานวนหลายลานไบท

บริการสายสัญญาณดิจิตัล (DSL) : เปนรูปแบบบริการพิเศษที่ผูใชโทรศัพทในสหรัฐฯ สามารถสมัคร

เขาใชบริการไดเพ่ิมเติมจากบริการโทรศัพทปรกติ โดยบริการแบบ DSL (Digital Subscriber Line)

ที่วาน้ี จะมีขีดความเร็วในการรับ/สงขอมูลไดสูงถึง 144 kbps

เครือขายอินเทอรเน็ตโครงการ 2 (Internet 2) : หลังจากที่เครือขายอินเทอรเน็ตถูกกอตั้งมาไดสักพัก

บรรยากาศในโลกไซเบอรสเปซแหงน้ีชักไมคอยนาอภิรมยซะแลว เพราะในคนหมูมากนั้นคนเลว คนมุง

หาผลประโชนในทางมิชอบก็ดูจะพลอยมีมากตาม

ไปดวย ดังน้ัน เพ่ือตัดปญหาจากมลภาวะเหลานี้

ทีมนักวิทยาศาสตร และนักวิจัยสหรัฐฯ จึงไดริเร่ิม

กอสรางเมืองไซเบอรสเปซแหงใหมขึ้นมาช่ือวา

Internet 2 โดยต้ังเปาไปที่การใหบริการแก

หนวยงานราชการและสถานศึกษาโดยเฉพาะ อีก

ทั้งยังออกแบบใหมีเครือขายการสื่อสารที่เหมาะสม

ตอการรับสงขอมูลประเภทมัลติมีเดีย และการ

สื่อสารความเร็วสูงโดยเฉพาะ

5

มาตรฐานการสื่อสาร (IP) : มาตรฐานการสื่อสาร Internet Protocol (IP) คือกฎเกณฑและขอกําหนด

มาตรฐานที่บรรดาสมาชิกของอินเทอรเน็ตตางรับรูรวมกันวาจะตองปฏิบัติในระหวางการสง/หรือการ

รับขอมูลที่อยูในรูปของกลุมขอมูลยอยๆ (packets)

มาตรการสงผานสัญญาณขอมูลแบบ Packet Switching : เปนรูปแบบการรับสงขอมูลระหวาง

เคร่ืองคอมพิวเตอรภายในเครือขายที่ไดรับความนิยมมากที่สุด (เปนรูปแบบที่ใชกันอยูทางอินเทอรเน็ต)

เพราะมีประสิทธิภาพสูง สามารถรับ/สงขอมูลไดแมวาจะมีชองทางนําสัญญาณบางสวนเสียหายไป

เพราะขอมูลทั้งหมดจะถูกซอยแบงออกเปนกลุมยอยๆ เรียกวา Packets จากนั้น กลุมขอมูลเหลานี้จะ

ถูกสงไปในชองทางนําสัญญาณหลายๆ ชองตามแตวาหนทางใดจะสะดวกรวดเร็วมากที่สุด และเม่ือ

กลุมขอมูลทั้งหมดถูกสงไปถึงที่หมายมันก็จะถูกนํามาจัดเรียงลําดับเปนไฟลลไดเหมือนเดิม

อุปกรณเราทเตอร (Router) : อยากจะเรียกเจาอุปกรณตัวน้ีวา "อุปกรณตอเช่ือม" ตามลักษณะหนาที่

ที่มันจัดแจงกําหนดใหกลุมขอมูล (packets) หนึ่งถูกจัดสงจากเน็ตเวิรกหนึ่งไปยังอีกเน็ตเวิรกหนึ่ง แต

เนื่องจากหลังๆ นี้ผูคนในวงการคอมพิวเตอรตางลวนรูจักมันในชื่อทับศัพทวา "เราทเตอร" ไปแลว

ดังนั้น ก็เลยถือโอกาสเรียกทับศัพทตามไปดวยอีกคนหนึ่ง

หลักกิโลเมตรสุดทายของทางดวนขอมูล

การเพ่ิมขีดสมรรถนะความเร็วใหกับเสนทางสื่อสารหลัก (Backbone improvement) นั้น ดู

เหมือนวาจะถูกอกถูกใจบรรดาผูมีสวนเกี่ยวของกับการใหบริการทางอินเทอรเน็ตเปนอยางมาก เพราะมันจะชวยสาน

ฝนเร่ืองชีวิตแสนสุขในศตวรรษ 2000 ไดอยางพอดิบพอดี ลองจินตนาการถึงสภาพการใชชีวิตของครอบครัวทันสมัย

ขนาดเล็กในยุคที่ขอมูลถูกรับ/สงกันดวยความเร็วระดับ 3 gbps วาจะมีความสุขสักแคไหน ในเมื่อคุณพอบานสามารถ

จะใชหองน่ังเลนที่บานเปนที่ประชุมทางไกลกับเพ่ือนรวมงานคนอ่ืนๆ พรอมไปกับการไลสํารวจเว็บไซทที่แสดงผล

ประกอบการของบริษัทหางรานตางๆ เพ่ือประกอบการตัดสินใจในการสั่งซ้ือขายหุนในตลาดหลักทรัพย (แนนอน ผาน

ทางอินเทอรเน็ตเชนกัน)

ในขณะที่คุณแมบานกําลังดําเนินธุรกิจของตนเองผานทางเคร่ืองคอมพิวเตอรในหองครัว โดยอาจจะ

เจรจาตอรองกับบริษัทคูคา พรอมๆ ไปกับการเรียนวิธีปรุงอาหารสูตรเด็ดสําหรับม้ือเย็น สวนคุณลูกที่อยูในหองนอน

ของตัวก็ใชคอมพิวเตอรอีกเครื่องหนึ่งเปนเคร่ืองชวยทําการบานสงครู ใชติดตอปรึกษาเรื่องการบานกับเพ่ือน และ

สุดทายเมื่อการบานเสร็จแลว ก็ใชเครื่องคอมพิวเตอรตัวเดียวกันนี้แหละติดตอเขาไปที่เว็บไซทเกมสยอดนิยม เพื่อรวม

เลนเกมสสามมิติกับบรรดาเยาวชนคนอ่ืนๆ (แมวาเด็กจะสามารถเรียนรูวิทยาการที่ทันสมัยไดแทบจะทุกอยางจาก

อินเทอรเน็ต แตรัฐก็ยังคงกําหนดใหเด็กๆ ตองไปเขาชั้นเรียนเวลา

กลางวัน เพราะเด็กๆ น้ันจําเปนตองมีปฏิสัมพันธกับครูและเพ่ือนใน

วัยเดียวกัน)

อยางไรก็ตาม จินตนาการที่ดูเหมือนฝนนี้จะคง

เปนความฝนอยูตอไปอีกไมนอยกวาสามป เพราะปญหาขอจํากัด

ดานความเร็วของการรับ/สงขอมูลระหวางบริษัทผูใหบริการ

อินเทอรเน็ต (ISP) กับบรรดาสมาชิกผูใชบริการ หรือปญหาที่

6

ผูเชี่ยวชาญฝร่ังเรียกวา "ไมลลสุดทาย (The last mile)" ซึ่งผูเขียนถือโอกาสเรียกใหเปนไทยๆ หนอยวาปญหา "หลัก

กิโลเมตรสุดทายบนทางดวนขอมูล" อันเปนปญหาที่เกิดข้ึนจากขอจํากัดสําคัญสองอยาง อยางแรกคือความดอย

ประสิทธิภาพของชองทางนําสัญญาณที่มีความเร็วไมสูงพอ (Low-speed connection) อยางที่สอง ก็คือความคับค่ัง

จอแจแบบจราจรคอขวด (bottleneck) ที่เกิดจากขอมูลปริมาณมหาศาลจากบานเรือนนับเปนรอยเปนพันหลังตองถูก

รวบรวมมาผานคอมพิวเตอรของศูนยบริการอินเทอรเน็ตเพียงจุดเดียวกอนขึ้นสูทางดวนขอมูล

ในการทําความเขาใจกับเรื่องขีดจํากัดดานความเร็วของชองทางนําสัญญาณน้ัน เราควรไดศึกษา

พ้ืนฐานโครงสรางของเครือขายการสื่อสารในสหรัฐฯ และในประเทศที่เจริญแลวสักนิดวา ทําไมผูบริโภคในประเทศ

เหลานี้ถึงจําตองทนใชชองทางนําสัญญาณคุณภาพต่ําอยูอีกทั้งที่มีเทคโนโลยีใหมๆ ใหเลือกไดแลว คําตอบก็คือ "ความ

คุมคาและความเหมาะสมเปนตัวกําหนด" เพราะคาใชจายสําหรับบริการเสนทางสื่อสารสมรรถนะสูงอยาง T1 หรือ

ISDN น้ันมีราคาคอนขางแพงเอามากๆ ทําใหบรรดาอเมริกันชนสวนใหญยังคงอาศัยการสื่อสารผานโมเด็ม 56 kbps

และสายโทรศัพทธรรมดาอยู อยางการสํารวจครั้งลาสุดของบริษัทฟอเรสเตอรน้ันระบุวาบริการ ISDN ในสหรัฐฯ มียอด

สมาชิกอยูแค 300,000 รายเทาน้ัน (หมายเหตุ โมเด็ม 56 kbps อาจจะมีความเร็วพอสมควร แตก็ถูกจํากัดดวย

สมรรถนะของสายโทรศัพทอยูดี ยกตัวอยางเชนการเชื่อมอินเทอรเน็ตจากบานของผูเขียน บางครั้งขอมูลถูกโหลดมา

ดวยความเร็วแค 32 บิทตอวินาทีแคน้ัน)

ทางออกที่พอจะมองเห็นในขณะน้ีสําหรับอเมริกันชนคือ การปรับเปลี่ยนไปใชวิธีสื่อสารผานเคเบิ้ล หรือ

บริการ DSL แทน เพราะดวยสมรรถนะของสายเคเบิ้ลที่ถูกวางเครือขายอยูทั่วสหรัฐฯ จะมีขีดความสามารถในการรับ/

สงขอมูลไดสูงถึง 3 mbps (เวลาเปลี่ยนชองทางสื่อสารจากสายโทรศัพทมาเปนสายเคเบิ้ล ตัวอุปกรณโมเด็มก็จะตอง

เปลี่ยนดวย เพราะตองใชโมเด็มที่ออกแบบมาสําหรับใชกับสายเคเบิ้ลโดยเฉพาะเรียกวา "เคเบิ้ลโมเด็ม") ในขณะที่

บริการ DSL ซ่ึงมีใหกับผูใชโทรศัพทสหรัฐฯ ก็จะมีความเร็วในการรับ/สงสัญญาณขอมูลระหวาง 256 kbps ถึง 1.5

mbps อยางไรก็ตาม ผูเชี่ยวชาญสวนใหญเช่ือวาความเร็วของเคเบิ้ลโมเด็มและ DSL จะไมสามารถเพ่ิมสูงข้ึนไปกวาน้ี

แนๆ ในอีกชวงสองสามปขางหนา ซ่ึงก็หมายความวา ผูใชบริการอินเทอรเน็ตในสหรัฐฯ จะตองเผชิญกับปญหาหลัก

7

กิโลเมตรสุดทายบนทางดวนขอมูลตอไปอีกสามปเชนกัน

ทางออกท่ีปลายอุโมงค

แมวาชองการสื่อสารขอมูลสวนใหญจะถูกจํากัดอยูที่ระดับความเร็วประมาณ 256 kbps ถึง 3 mbps

ตอไปอีกสามปขางหนา แตก็ใชวาจะไมมีทางออกเสียเลยสําหรับนักอินเทอรเน็ตใจรอน มันยังคงมีชองทางดวนพิเศษ

บางชองทางใหเลือกได ยกตัวอยางเชน บริการที่มีช่ือวา ION (Integrated On-demand Network) ของบริษัทสป

ริ้นทซึ่งออกแบบมาไวสําหรับการสื่อสารขอมูลความเร็วสูงโดยเฉพาะ ทําใหผูใชบริการ ION สามารถรับ/สง

สัญญาณเสียงพูด, สัญญาณวิดีโอ, รวมไปกับสัญญาณขอมูลไปพรอมๆ กันไดดวยความเร็วสูงถึง 620 mbps

สิ่งที่ผูใชบริการ ION ตองทําเพ่ือแลกมาซึ่งสิทธิพิเศษในการสื่อสารน้ัน เร่ิมดวยการสมัครเขาเปนสมาชิก

กับบริษัทสปรินท (เสียคาสมาชิกแรกเขาเทาไรในเอกสารไมไดระบุไว) จากนั้นก็ตองหาซื้ออุปกรณเช่ือมตอสัญญาณ

(ION integrated Service Hub) ซึ่งมีราคาจําหนายประมาณ $200 - $300 มาตอเช่ือมระหวางปลั้กโทรศัพทกับปลั้ก

บนแผงวงจรอีเทอรเน็ตในเคร่ืองคอมพิวเตอร โดยราคาขนาด$200-$300 น้ีนับวาไมแพงเลย เพราะราคาอุปกรณ DSL

และเคเบิ้ลโมเด็มก็อยูในเกณฑเดียวกัน นอกจากคาใชจายตั้งตนคราวๆ ตามที่วามาแลว ผูใชบริการ ION ก็จะตองเสีย

คาบริการรายเดือนในอัตรา $100

บริการ ION ราคา $100 ตอเดือนที่วาประกอบไปดวย ชองทางการเชื่อมโยงเขาสูอินเทอรเน็ตความเร็ว

สูงแบบถาวรหน่ึงชองทาง (Persistent Internet connection), บริการประชุมทางไกล (Videoconference), บริการ

โทรศัพทระบบที่มีการแจงหมายเลขโทรฯ เขาอยางอัตโนมัติ (Local calling with Caller ID ), บริการโทรศัพททางไกล

ชนิดไมจํากัดการโทรฯ (Unlimited long-distance calling) และบริการพิเศษอื่นๆ อีกสักสองสามอยางตามแตที่

8

บริษัทสปริ้นทจะเห็นวาเหมาะสม ฯลฯ (หมายเหตุ แมวาจะใชชื่อบริการวาชองทางเช่ือมโยงอินเทอรเน็ตความเร็วสูง

แตบริษัทสปรินทก็ไมสามารถรับประกันความเร็วในการใชจริงๆ ได เพราะถาหากเปนการติดตอเขาสูเครื่องเซิรฟเวอร

หรือเว็บไซทที่อยูนอกเครือขายของ ION ก็คงจะตองใชความเร็วเทาที่เครื่องเซิรฟเวอรหรือเว็บไซทที่เราติดตอเขาไปจะ

เอ้ืออํานวยให)

นอกเหนือจากบริการ ION ของบริษัทสปร้ินทแลว ก็ยังมีผูประกอบการดานการสื่อสารอีกสองสาม

บริษัทในสหรัฐฯ ที่ไดจัดตั้งธุรกิจบริการสื่อสารความเร็วสูงข้ึนมาเพ่ือแกไขปญหาหลักกิโลเมตรบนทางดวนขอมูลเปนการ

เฉพาะ อันไดแก บริษัททาลิเจนทที่มีนิวาสสถานอยูในรัฐเวอรจิเนีย และบริษัทวินสตารแหงนิวยอรก โดยทั้งสอง

บริษัทนี้จะใชวิธีกําหนดชองทางสื่อสารผานคลื่นวิทยุแทนที่จะตองมาลากสายเคเบิ้ลใหยุงยากสิ้นเปลือง เพียงแต

ผูรับบริการจะตองติดต้ังจานสงสัญญาณ (dish) ขนาดใหญเทาจานสเต็กไวบนหลังคาบาน เพ่ือสงสัญญาณขอมูลเขาไป

ยังศูนยรับสัญญาณสวนกลางที่บริษัท

โดยในระยะแรกๆ น้ัน บริการสื่อสารความเร็วสูงไร

สายของบริษัททาลิเจนทและวินสตารจะยังครอบคลุมอยูเฉพาะละแวก

เมืองใหญๆ และชุมชนที่มีธุรกรรมเยอะเทาน้ัน (อาศัยปจจัยเรื่องความ

คุมคาตอการลงทุน และจํานวนสมาชิกเขามาตัดสินใจกําหนดจุด

ใหบริการ) เชน บริษัททาลิเจนทน้ันมีศูนยบริการทั้งหมด 30 แหง

ในขณะน้ีและจะขยายออกไปเปน 60 แหงภายในชวงระยะเวลาสองป

ในขณะที่บริษัทวินสตารน้ันเริ่มกอต้ังศูนยบริการของตนไวในปที่แลวถึง

15 แหง ครอบคลุมเมืองธุรกิจช้ันนําของโลกอยาง ชิคาโก, เดนเวอร, ลอสแองเจลิส, และกรุงวอชิงตัน ดีซี ฯลฯ

ตอจากนั้นก็จะจัดตั้งศูนยบริการเพ่ิมข้ึนอีก 25 แหงภายในสิ้นปนี้

(จากขอมูลที่ปรากฏในนิตยสารพีซีเวิลด ผูเขียนมีขอสังเกตุวาทางบริษัทระบุประเภทของสัญญาณที่จะ

ถูกสงออกจากจานบานพักอาศัยกลับไปทางบริษัทแคสัญญาณเสียงพูดและสัญญาณขอมูลเทาน้ัน ไมไดครอบคลุมไปถึง

สัญญาณวิดีโอ ทั้งที่ขีดสมรรถนะของระบบการสื่อสารไรสายแบบนี้นาจะรองรับความเร็วของการรับ/สงขอมูลไดสูงถึง

622 mbps อันน้ีเปนไปไดวาชองทางนําสัญญาณขาออกจากบริษัทสามารถรองรับสัญญาณวิดีโอได แตชองทางนํา

สัญญาณขากลับอาจจะไมพอรองรับ เพราะถาสัญญาณขอมูลจากบานสมาชิกทุกๆ หลังถูกสงไปที่ศูนยกลางพรอมๆ กัน

อาจจะเกิดสภาพการจราจรคอขวด )

อนาคตของศูนยบริการอินเทอรเน็ต

สุดทาย เมื่อทั้งผูใชคอมพิวเตอรและบริษัทผูประกอบการดานการสื่อสารตางพากันเรงขีดสมรรถนะ

ความเร็วในการรับสงขอมูลข้ึนมากๆ ปญหาการจราจรคอขวดก็จะเปลี่ยนตําแหนงไปอยูที่จุดเชื่อมโยงขอมูลที่

ศูนยบริการอินเทอรเน็ต (ISPs) แทน เพราะเมื่อเคร่ืองคอมพิวเตอรตามบานทํางานไดเร็วขึ้น ขอมูลก็จะทะลักออกมา

จากบานเรือนแตละหลัง แลววิ่งไปจุกกันอยูบริเวณคอคอดของศูนยบริการอินเทอรเน็ต ซึ่งบรรดาผูใชคอมพิวเตอรตาม

บานเหลาน้ีสมัครเปนสมาชิกอยู กอนที่จะถูกบริหารจัดสงไปยังเปาหมายที่อยูปลายทางบนอินเทอรเน็ต ในทางกลับกัน

เวลาที่ผูใชคอมพิวเตอรแตละบานสํารวจอินเทอรเน็ต ขอมูลจํานวนมหาศาลที่วิ่งมาตามเสนทางสื่อสารหลัก

(backbone) ก็จะมาจุกตัวที่ศูนยบริการอินเทอรเน็ต กอนที่จะทยอยสงใหกับเครื่องคอมพิวเตอรสมาชิกแตละเครื่อง

9

ทางออกในเชิงเทคนิคที่พอจะชลอปญหาการจราจรคอขวดดังกลาวไดก็คือ ตองพยายามจํากัดปริมาณ

ขอมูลที่ผานศูนยบริการอินเทอรเน็ตมิใหมีปริมาณมากเกินไป เชน อาจจะจํากัดวาสมาชิกศูนยบริการอินเทอรเน็ตแตละ

รายจะตองเลือกบริการชองทางสื่อสารที่มีความเร็วไมเกิน 1 mbps (หมายถึงผูใชบริการ DSL เพราะถารับ/สงขอมูลผาน

สายโทรศัพทธรรมดาดวยโมเด็ม ทําอยางไรก็ไมถึง 1 mbps อยูแลว) ซ่ึงเปรียบไปแลวก็คลายๆ กับมาตรการของ ผูวา

กทม. ที่พยายามกําหนดใหรถไมมีผูโดยสารหามเขาไปวิ่งบนถนนสีลม อันออกจะเปนการจํากัดเสรีภาพและทํารายจิตใจ

นักเลนอินเทอรเน็ตมากเกินไปหนอย เพราะขนาดความเร็ว 7 mbps ที่ระบบบริการ DSL รองรับไดก็ยังไมคอยจะสะใจ

นักอินเทอรเน็ตใจรอนเลย หากไปจํากัดไวแค 1 mbps คงจะหงุดหงิดแย

ยิ่งไปกวาน้ัน หากเรายอนกลับมาดูถึงงานวิจัยดานการสื่อสารขอมูลที่กําลังเรงพัฒนากันอยูขณะนี้ ก็จะ

พบวากําลังจะมีบริการ DSL รุนใหมขนาดความเร็ว 20 mbps ถึง 25 mbps ออกมาใหทดลองใชไดภายในปสองปน้ี ที

น้ี ถาบริการ DSL รุนความเร็วสูงปรี๊ดที่วาน้ีออกมาใชไดเม่ือไหร ก็เทากับการจราจรของขอมูลบนอินเทอรเน็ตทั้งหมดจะ

ไปติดแหงกกันอยูตรงศูนยบริการอินเทอรเน็ตพอดี (เปรียบงายๆ เหมือนรถยนตเปนพันๆ คันที่วิ่งกันมาจากชลบุรีดวย

ความเร็ว 120 กม/ชั่วโมง แลวตองมาติดรอจายเงินคาทางดวนคันละ 2 นาที อยูที่ดานทางดวนบางนา กอนที่จะกลับขึ้น

ไปทําความเร็ว 120 กม/นาทีไดใหม หลังจากข้ึนทางดวนไปแลว สภาพการจราจรคอขวดเปนอยางไรก็อยางน้ันแหละ)

ปญหาของศูนยบริการอินเทอรเน็ตไมไดมี

เฉพาะแงเทคนิคเทาน้ัน แตยังมีปญหาในแงของการลงทุน

อีกดวย เพราะหากจะตอบสนองความตองการของ

ผูใชบริการใหไดอยางสุดๆ จริงๆ บริษัทผูดําเนินการดาน

ศูนยบริการอินเทอรเน็ตจะตองทุมเงินลงทุนพัฒนากิจการกัน

ขนานใหญ ยกตัวอยางเชนการใหบริการขอมูลสัญญาณ

วิดีโอแจวๆ ใหกับสมาชิกสักสิบรายพรอมๆ กันนั้น ตีเสียวารายหน่ึงจะตองรับ/สงขอมูลดวยความเร็ว 6 mbps

ศูนยบริการอินเทอรเน็ตจะตองลงทุนเพ่ิมขึ้นอีกสัก $35,000 ถึง $40,000 ตอเดือนสําหรับคาเชาสายสัญญาณความเร็ว

สูงระดับดังกลาว จึงมีคํากลาวในหมูผูเชี่ยวชาญดานการสื่อสารขอมูลบนอินเทอรเน็ตวา "ธุรกิจศูนยบริการอินเทอรเน็ต

ขนาดเล็กในสหรัฐฯ จะตองมวนเสื่อไปหมด หากวาบรรดาผูประกอบการดานการสื่อสาร DSL จะยังคงพัฒนาขีด

ความสามารถในการบริการของตนไปในอัตราเร็วเทาที่เปนอยูน้ี"

ปญหาเรื่องความคุมทุนหรือไมคุมทุนนี้จะบรรเทาลงไปไดบาง หากเปนศูนยบริการอินเทอรเน็ตขนาด

ใหญที่มีเสนทางสื่อสารหลัก (backbone) ของตัวเอง ไมตองไปเชาชวงเสนทางนําสัญญาณมาจากคนอื่น ตัวอยางของ

ศูนยบริการอินเทอรเน็ตขนาดใหญที่วาน้ี ไดแก บริษัทสปร้ินท และบริษัทเอทีแอนดที ซ่ึงมีลักษณะการใหบริการ

สื่อสารขอมูลความเร็วสูง T1 ใหกับลูกคาของตน ทํานองวา ถาลูกคาสมัครเขารับบริการแบบ T1 และติดตอเขาสูเครื่อง

เซิรฟเวอรบนอินเทอรเน็ตที่ใชระบบสื่อสาร T1 เหมือนกัน การรับ/สงขอมูลระหวางกันก็จะเปนไปในพริบตา ไมวา

ขอมูลน้ันจะเปนภาพสามมิติ หรือสัญญาณวิดีโอ หลายๆ คนเลยนิยมเรียกศูนยบริการอินเทอรเน็ตที่ใหบริการสื่อสาร

ระดับ T1 นี้วา "T1 TSP"

โดยศูนยบริการอินเทอรเน็ตกลุม T1 TSP เหลาน้ี สวนใหญก็มักจะมีลูกเลนพิเศษมาคอยเอาใจ และ

คอยอํานวยความสะดวกใหกับสมาชิก เชน บางรายอาจจะใชมาตรการ One-stop shopping ซึ่งอนุญาตใหลูกคา

สามารถใชบริการที่เกี่ยวกับการสื่อสารไดทุกชนิดผานชองทางสื่อสาร T1 คือ จะใชเปนโทรศัพทก็ได, จะใชเปนชองทาง

10

บันเทิงก็ได, หรือจะใชเปนชองทางสํารวจอินเทอรเน็ตก็ไดเชนกัน ฯลฯ เรียกวาคาใชจายทุกอยางที่เก่ียวกับการสื่อสาร

จะถูกรวมมาไวในใบเสร็จเดียวเลย (ไอเร่ืองรวมคาบริการทุกอยางมาไวในใบเสร็จเดียวนี้อาจจะดูเหมือนสะดวก แตก็

อาจจะมีขอเสียในแงที่ทําใหลูกคารูตัววาในแตละเดือนน้ันตนเองตองเสียเงินไปกับเรื่องสิ้นเปลืองเหลาน้ีมากมายขนาด

ไหน ทําใหบางคร้ังสูแยกบิลแลวแอบตอดกินไปเรื่อยๆ โดย

ผูบริโภคไมรูตัวไมได)

สวนทางฝายศูนยบริการอินเทอรเน็ตขนาดเล็กที่

ตองยืมจมูกคนอ่ืนหายใจในการติดตอเขาสูอินเทอรเน็ต เพราะไม

มีเสนทางสื่อสารหลัก (Backbone) เปนของตนเองนั้น ก็คง

จะตองลําบากหนอยในการเอาตัวรอดจากสถานการณปญหาการ

จรจรคอขวดของขอมูล เพราะเทาที่มีการประมาณการณโดย

ผูเช่ียวชาญ ตางก็มีขอสรุปออกมาใกลเคียงกันวา ประดา

ศูนยบริการอินเทอรเน็ตขนาดเล็กจํานวนกวา 5,000 รายในสหรัฐฯ นั้น จะตองสูญหายไปจากตลาดสักครึ่งหน่ึงเปน

อยางนอยในระยะเวลาอีก 18 เดือนขางหนา ในขณะที่พวกที่เหลือรอดจากภาวะวิกฤตก็ตองด้ินรนและเปลี่ยนพฤติกรรม

ของตนเองออกไปจากเดิม คือ แทนที่จะกินหัวคิวคาติดตอเขาสูอินเทอรเน็ตจากลูกคาเฉยๆ ก็อาจจะตองหาบริการ

พิเศษที่ดึงดูดใจพอเขามาเสริม อาจจะใชวิธีเจาะตลาดกลุมยอยๆ (niche marketing) เลือกลูกคากลุมสตรี กลุมเด็ก

หรือกลุมวัยรุนอะไรทํานองน้ี หรือไมงั้นก็อาจจะตองรับจางเขียนโฮมเพจใหกับลูกคา ฯลฯ

ภาวะหนักอ้ึงของกระดูกสันหลัง

ขอยอนกลับมาคุยเร่ืองเสนทางสื่อสารหลัก หรือ Backbone กันอีกที เพราะเปนสวนที่จะตองแบก

รับภาระอันหนักอ้ึงของประดาขอมูลทั้งหลายที่ว่ิงไปวิ่งมาบนอินเทอรเน็ต สมกับที่ถูกตั้งชื่อไวแตแรกวา "กระดูกสันหลัง"

(คลายๆ กับที่บานเราเคยเอาคําวากระดูกสันหลังมาใชเรียกชาวนาน่ันแหละ !) เพียงแตวากระดูกสันหลังของ

อินเทอรเน็ตน้ันไมไดมีอยูแคโครงเดียว แตมีอยูมากมายทั่วโลก เฉพาะในสหรัฐอเมริกาก็มีอยูไมรูกี่โครงแลว เพราะมีทั้ง

กระดูกสันหลังด้ังเดิมที่ถูกวางไวโดยมูลนิธิวิทยาศาสตรแหงชาติ (National Science Foundation) เพื่อเชื่อมโยง

ขอมูลระหวางองคกรวิจัยช้ันนําในสหรัฐฯ ดวยความเร็วระดับ 56 kbps และโครงกระดูกเอกชนที่ถูกวางพาดไปทั่ว

ประเทศโดยฝมือของบริษัทสปริ้นท, จีทีอี, ไอบีเอ็ม, และเอ็มซีไอ เวิลดคอม ฯลฯ

บรรดาบริษัทเจาของเสนทางสื่อสารหลักเหลาน้ีสวนใหญก็มักจะมีธุรกิจศูนยบริการอินเทอรเน็ตของ

ตนเอง จึงมักจะถูกเรียกวาเปนศูนยบริการอินเทอรเน็ตระดับ T1 TSP และเมื่อการใชงานทรัพยากรในรูปเสนทาง

สื่อสารหลักน้ีมีอยูเหลือเฟอ หลายรายก็จะขายสิทธิการใชเสนทางสื่อสารตอใหกับศูนยบริการอินเทอรเน็ตรายยอยที่ไม

มีเสนทางสื่อสารหลักของตนเองตอไป จนบางครั้งมีการขายตอกันไปอีกหลายทอดคลายๆ กับวัฎจักรของชีวิต ทํานอง

ปลาใหญกินปลากลาง ปลากลางกินปลาเล็ก ไลกันไปเรื่อย ผลสุดทายจึงทําใหใตพื้นผิวดินของประเทศสหรัฐอเมริกา

น้ันเต็มไปดวยโครงขายใยแกวนําแสงกระจายอยูทั่วไปหมด

จํานวนของเสนใยแกวนําแสงใตพ้ืนทวีปอเมริกาเหนือน้ันมีมากถึงขนาด จิม เซาทเวอรธ แหงบริษัท

คอนเซ็นตริก เน็ตเวิรกแซววา หากมีอุกกาบาตพุงเขาชนโลกจริงตามภาพยนตเรื่องอมาเก็ดดอน อุกกาบาตที่วาน้ันก็คง

จะเดงดึ๋งกลับไปดวยความเร็วใกลๆ กับขามาเลยทีเดียว เพราะบรรดาเสนใยแกวนําแสงใตดินจะทําหนาที่คลายๆ กับตา

11

ขายแร็กเก็ตของไมตีเทนนิสขนาดยักษ นอกจากน้ัน ตัวจิม เซารทเวอรธ ยังจินตนาการเรื่องโจกเกี่ยวกับเร่ืองใยแกวนํา

แสงใตดินตอไปอีกวา ถาหากบรรดาผูใชบริการอินเทอรเน็ตผานทางสายเคเบิ้ล 16 ลานสาย และผูใชบริการ DSL เกิด

ติดตอเขาสูอินเทอรเน็ตพรอมกัน โลกเราคงจะสวางไสวไปดวยแสงไฟสัญญาณยังกับตนคริสตมาสเลยทีเดียว

อยางไรก็ตาม เร่ืองโจกไฟตนคริสมาสตของจิมคงจะเปนไดแคเรื่องโจกเพราะในความเปนจริง หาก

แสงไฟในทอใยแกนําแสงเกิดหลุดรอดออกมาใหตาเห็นได สัญญาณขอมูลก็คงจะวิ่งไปไมถึงปลายทางแน นอกจากนั้น

ในทางปฏิบัติแลวในแตละชั่วขณะจะมีเพียงสายเคเบิ้ลอยูจํานวนหนึ่งเทาน้ันที่มีการทํางาน สวนสายเคเบิ้ลที่เหลือจะสงบ

รอสัญญาณ สํานวนนักคอมพิวเตอรเรียกสายเคเบิ้ลที่ไมมีสัญญาณขอมูลวิ่งผานวา "Dark cable" และไอเจาสาย Dark

cable เหลานี้น่ีเองที่จะทําหนาที่เหมือนกําลังสํารองไวสําหรับกรณีที่โลกเรามีการพัฒนาไฟลลขอมูลใหใหญขึ้น หรือมี

การเพ่ิมขีดความเร็วของการรับ/สงสัญญาณมากขึ้น

กระนั้น ก็อดจะมีผูต้ัง

คําถามติดตามมาไมไดวา "เราควรจะทํา

อยางไร หากบรรดาสายเคเบิ้ลที่มีฝงอยูใต

พื้นชักจะรองรับสัญญาณขอมูลบนโลกไวได

ไมไหว เพราะถาหากจะขุดทอเดินสายกัน

ตอไป ก็อาจจะตองไปชนกับบรรดาสายเคเบิ้ลเกาๆ ที่เคยมีการมากอนแลว" และนั่นเองคือที่มาของความพยายามที่จะ

รีดเอาสมรรถนะความเร็วของการรับ/สงสัญญาณใหมากขึ้นจากสายเคเบิ้ลที่มีฝงไวแตเดิม เชนเสนทางสื่อสารหลักที่เคย

ใชมาตรฐานสื่อสารแบบ OC-12 ความเร็ว 622 mbps ที่ถือกันวาเร็วที่สุดขณะน้ี ก็จะตองปรับเปลี่ยนไปใชระบบ OC-

48 ที่รองรับสัญญาณขอมูลไดดวยความเร็วถึง 2.5 gbps แทน ดังจะเห็นไดจากการที่บริษัทสปรินทไดออกมาประกาศ

วาจะปรับเปลี่ยนไปใชระบบ OC-48 ในเร็วๆ นี้

นอกจากน้ัน ยังมีขอเสนอแนะจากบริษัทวิจัยดาตาเควสตวา หากผูประกอบการดานเสนทางสื่อสาร

หลักรายใดไมคิดปรับเปลี่ยนไปใชระบบ OC-48 ก็คงจะดําเนินธุรกิจในสหรัฐฯ ไดยาก เพราะความโอชารสของธุรกิจ

ใหบริการเสนทางสื่อสารหลัก (backbone) ที่มีลักษณะเหมือนเสือนอนกินอยูกลายๆ น้ีไดกระตุนใหมีผูประกอบการราย

ใหมพยายามขอเขามาสวนรวมในสวนแบงตลาดอยูตลอดเวลา

อยางลาสุดน้ีก็คือ บริษัทเควสทคอมมูนิเคช่ันซ่ึงมีฐานที่ม่ันในเมืองเดนเวอรซ่ึงเปดตัวธุรกิจของตน

ออกมาดวยเครือขายการสื่อสาร Macro Capacity Fiber Network ซ่ึงพรอมจะเปดใหบริการเสนทางสื่อสารหลักใน

ระบบดิจิตัลสมบูรณแบบระยะทาง 18,500 ไมลลของตนไดภายในเดือนมีนาคมน้ี อันจะสงผลใหผูใชบริการซ่ึงอาศัยอยู

ในเมืองใหญๆ ของสหรัฐฯ กวา 130 เมือง สามารถติดตอเขาสูอินเทอรเน็ตดวยความเร็วสูง และสามารถรับบริการ

สื่อสารเบ็ดเสร็จซึ่งครอบคลุมทั้งโทรศัพทและไฟลลขอมูลภายในชองทางเดียว ไมตางไปจากบริการของยักษใหญดาน

สื่อสารรุนเกาๆ อยางสปร้ินท, จีทีอี หรือ ไอบีเอ็ม ฯลฯ จะมีตางออกไปหนอยเดียวก็ตรงที่โฆษกของบริษัทเควสตระบุวา

คาบริการของตนจะถูกกวามากเทาน้ัน

อยางไรก็ตาม ใชวาธุรกิจวางเครือขายเสนทางสื่อสารหลักดวยเสนใยแกวนําแสงจะไมมีขอจํากัดเอา

เสียเลย เพราะเม่ือตองลากสายเขาไปในชุมชนที่หางไกลกันมากๆ หรือตองลากสายผานนํ้าผานทะเล ความคุมคาของ

การลงทุนก็เริ่มจะหมดไป ทําใหเกิดชองทางตลาดของเสนทางสื่อสารหลักอีกระบบหนึ่งข้ึนมา นั่นคือ เครือขายเสนทาง

สื่อสารหลักซ่ึงใชคลื่นแมเหล็กไฟฟา หรือเรียกงายๆ วาเปน "ระบบเสนทางสื่อสารหลักไรสาย (Wireless backbone)"

12

อยางเชนที่กําลังเริ่มดําเนินการอยูในกรุงวอชิงตันดีซีในขณะน้ีโดยบริษัทเทเลเดซิค และคาดวาจะเสร็จสิ้นสมบูรณพรอม

ใหบริการไดภายในระยะเวลาไมเกินสิ้นป ค.ศ. 2003

โดยเครือขายเสนทางสื่อสารหลักไรสายของบริษัทเทเลซิคน้ีจะประกอบไปดวยดาวเทียมขนาดเล็ก

จํานวน 288 ลูก ทําหนาที่รับสงสัญญาณขอมูลกับศูนยบริการอินเทอรเน็ตที่กระจายกันอยูทั่วๆ พ้ืนทวีปอเมริกาเหนือ

จากน้ันศูนยบริการอินเทอรเน็ตก็จะเปดบริการสื่อสารขอมูลตอไปยังผูรับบริการตามบานอีกทอดหน่ึงดวยความเร็ว 64

mbps สําหรับการดาวนโหลดขอมูลลงมาจากอินเทอรเน็ต (แตจะมีความเร็วลดลงเหลือ 2 mbps เม่ือตองการอัพโหลด

ขอมูลจากเครื่องคอมพิวเตอรที่บานยอนกลับไปยังอินเทอรเน็ต) แมวา ความเร็วขนาด 64 mbps น้ีจะดูตํ่าไปสักนิดเม่ือ

เทียบกับการใชเสนทางสื่อสารหลักในรูปใยแกวนําแสง แตมันก็ถือวามากเหลือเฟอสําหรับพ้ืนที่ที่มีขอจํากัดดานการวาง

เครือขายสายเคเบิ้ล หรือในประเทศที่สาธารณูปโภคแยมากๆ อยางเชนในกรุงนิวเดลีประเทศอินเดียที่ความเร็วของ

สัญญาณแค 6 mbps น้ัน หากไดปรับเปลี่ยนมาใชเสนทาง 64 Mbps ของบริษัทเทเลเดซิคก็นาจะถือวาคุมสุดๆ แลว

ดวยคุณสมบัติที่โดดเดนในเรื่องครอบคลุมพ้ืนที่ไดกวาง แตมีขอจํากัดเรื่องความเร็วเชนน้ี ทําใหรัสเซล

แด็กกาต ประธานบริษัทเทเลเดซิคได

ประกาศตัวออกมาอยางชัดแจงวา

ทางบริษัทไมคิดจะเขาไปแขงขันกับ

ธุรกิจเสนทางสื่อสารหลักใยแกวนํา

แสงในทวีปอเมริกาเหนืออยาง

แนนอน แตจะมุงเจาะลูกคา

เปาหมายที่กระจายออกไปกวางๆ ทั่ว

โลกแทน พูดงายๆ คือมุงเนนจะให

เปนธุรกิจอินเตอรฯ นั่นแหละ เชน

ในประเทศไทยเราน้ีก็นาจะมีความ

เปนไปไดที่จะถูกเจาะตลาดเขามา

โดยบริษัทเทเลเดซิค อยางไรก็ตาม

ใชวาบริษัทเทเลเดซิค จะละทิ้งตลาดภายในประเทศของตนไปเสียเลยทีเดียว ลาสุดก็ไดขาววามีการเซ็นสัญญากันไป

เรียบรอยแลวกับศูนยบริการอินเทอรเน็ตช่ือ Medicine Hat ในมลรัฐไวโอมิง

รูปที่ 2 จิม เซาทเวอรธ แหงบริษัทคอนเซ็นตริก เน็ตเวิรกแซววา " หากมีอุกกาบาตพุงเขาชนโลก มันคงจะเดงด๋ึงกลับไปดวยมีตาขายเสน

ใยแกวนําแสงจํานวนมหาศาลอยูใตดิน"

แนวโนมคือ "บริการครบวงจร"

มีบางสิ่งในชีวิตประจําวันบางอยางที่พอเราคุนเคยกับมันมากๆ แลวก็เลยละเลยที่จะต้ังคําถามกับมันวา

ทําไมถึงตองทําอยางน้ัน ทําไมถึงไมทําอยางอื่น และรูไดอยางไรวาวิถีที่เราดําเนินไปในปจจุบันคือสิ่งที่ดีที่สุดแลว เรื่อง

ของการสื่อสารก็เปนหน่ึงในความคุนเคยที่วาน้ัน พวกเราตางคุนเคยกับการที่จะใชการสื่อสารดวยเสียงพูดทางโทรศัพท,

รับสงภาพเอกสารดวยแฟกซ, รับขาวสารบันเทิงและภาพเคลื่อนไหวทางโทรทัศน, แลกเปลี่ยนไฟลลขอมูลคอมพิวเตอร

ดวยโมเด็ม, รับฟงเสียงเพลงและขาวสารทางวิทยุ ฯลฯ

13

แมกระทั่งบรรดาผูประกอบการที่ใหบริการสื่อเหลานี้เราก็พลอยไปจํากัดใหเลือกทําเพียงอยางใดอยาง

หน่ึง เชน พวกทําเคเบิ้ลทีวีก็ตองทําเฉพาะเคเบิ้ลทีวีจะแพรภาพใหใครดูฟรีๆ แลวหารายไดจากโฆษณาไมได, พวก

เจาของบริการโทรศัพทก็ใหทําเฉพาะโทรศัพทจะไปใหบริการอยางอื่นดวยไมได ฯลฯ อยางไรก็ตาม เม่ือโลกเรา

พัฒนาข้ึนไปมากๆ ก็เริ่มมีผูคนต้ังขอสังเกตุวาสื่ออิเล็กทรอนิกสตางๆ น้ีบางทีมันก็สามารถจะพวงบริการไปดวยกัน

ทําไมถึงตองมีการจํากัดใหชองทางสื่อสารหนึ่งๆ ทําหนาที่เฉพาะเจาะจงลงไป ทั้งๆ ที่ถาบริหารชองทางสื่อสารใหดี เรา

ก็อาจจะประหยัดทรัพยากร และเอ้ือประโยชนใหกับประชาชนซึ่งอยูในฐานะผูบริโภคสื่อไดมากกวา

ยกตัวอยางเชน การโทรศัพททางไกลไปตางประเทศนั้นหากใชชองทางสื่อสารทางโทรศัพทปรกติจะ

สิ้นเปลืองทรัพยากรและคาใชจายของผูโทรฯ สูงกวาการระบบไปรษณียเสียง (voice mail) ทางอินเทอรเน็ตมาก ทั้งๆ

ที่ ถาเราพัฒนาเครือขายเสนทางสื่อสารหลักขามประเทศใหดีกวาน้ี เราจะสามารถพูดคุยโตตอบขามทวีปผาน

อินเทอรเน็ตในลักษณะเรียลไทมไดเลย แถมยังจะมีภาพของคูสนทนาปรากฏบนหนาจอใหเห็นไดอีกตางหาก

อาจจะเปนดวยเหตุผลเชนน้ีก็ได ที่ทําใหรัฐบาลสหรัฐฯ ยุค นายบิลล คลินตันไดประกาศยกเลิก

กฏเกณฑขอจํากัดดานการสื่อสารซึ่งแยกบริการโทรศัพทพ้ืนที่, โทรศัพททางไกล, เคเบิ้ล, และบริการขอมูลคอมพิวเตอร

ฯลฯ ไปเม่ือสองสามปที่แลว (เรื่องกฏหมายน้ันผูเขียนไมถนัด แตเช่ือในเมืองไทยเรายังมีกฏเกณฑอันรุงรังเหลาน้ีบังคับ

ใชอยู ไมอยางนั้นพวกสัมปทานดานการสื่อสารคงไมรํ่ารวยอูฟูกันเชนทุกวันน้ี) ฉน้ัน เม่ือเราพิจารณาถึงระบบการ

สื่อสารขอมูลในสหรัฐจึงไมนาแปลกใจที่เราจะพบวาเร่ิมมีการเหลื่อมกันอยูระหวางสื่อแตละประเภท เชน ยักษใหญดาน

ทีวีก็ชักจะมามีบทบาทมากขึ้นในอินเทอรเน็ต ในขณะที่ผูบริการเคเบิ้ลก็จะมีการใหบริการอินเทอรเน็ตดวยเชนกัน ฯลฯ

สิ่งที่กําลังปรากฏใหเห็นมากขึ้นในวงการสื่อสารสหรัฐฯ คือ ลักษณะของบริการครบวงจร (Integrated

service) ซ่ึงพยายามอํานวยความสะดวกใหกับผูบริโภคดวยการรวบเอาสื่ออิเล็กทรอนิกสเขามาไวในชองทางสื่อสาร

เดียวกัน คลายๆ กับการที่หางสรรพสินคาที่พยายามรวมเอาธุรกิจทุกประเภทเขามาไวเสียที่เดียว มีทั้งรานเสริมสวย,

รานตัดเย็บเสื้อผา, ภัตตาคาร, สนามเด็กเลน ฯลฯ ลูกคาจะไดไมตองเสียเวลาตระเวณไปหลายๆ ที่ เรียกวามาที่เดียวช

อปไดหมด (One-stop shopping) และดวยความคิดเชนน้ีเองที่ทําใหผูประกอบการดานเสนทางสื่อสารหลักในสหรัฐฯ

ตองเรงขยายขีดสมรรถนะของชองทางนําสัญญาณใหสามารถรองรับไดทั้ง เสียงพูด, ขอมูลคอมพิวเตอร และ สัญญาณ

วิดีโอ ฯลฯ

นอกจากเรื่องขีดสมรรถนะของเสนทางนําสัญญาณ

ที่ตองไดรับการขยายแลว รูปแบบเทคโนโลยีของการรับ/สงสัญญาณ

ก็ตองไดรับการปรับปรุงใหเหมาะสมดวยเชนกัน เพราะในขณะที่

ระบบสื่อสารดวยเสียงพูดทางโทรศัพทน้ันเปนไปแบบ Circuit

switching ระบบสื่อสารขอมูลทางอินเทอรเน็ตกลับเปนไปใน

ลักษณะที่เรียกวา Packet switching ยกตัวอยางเชนเวลาที่เรา

โทรศัพทไปหาเพ่ือนฝูงนั้น ระบบ Circuit Switching จะทําการพวง

สายระหวางโทรศัพทสองเลขหมายไวอยางตอเน่ืองตลอดระยะเวลาที่ยังไมมีการวางหูโทรศัพท ซ่ึงถาจะวาไปแลวนับวา

เปนการใชทรัพยากรที่สิ้นเปลืองเอามากๆ เพราะเสียงพูดของมนุษยน้ันกินพ้ืนที่ชองทางนําสัญญาณโดยรวมไปเพียงไมกี่

เปอรเซนตเทาน้ัน แถมสัญญาณที่ถูกรับ/สงไปมาระหวางการพูดคุยโทรศัพทจะเปนสัญญาณวางเสียเยอะเพราะจังหวะ

14

การพูดคุยที่ชาเร็วแตกตางกันไปในแตละคน มีชวงหยุดพักหายใจ หยุดคิด หรือจนแมกระทั่งหยุดรอเก่ียงกันวาใครจะพูด

กอน

ระบบการสื่อสารที่ใชประโยชนจากชองทางสื่อสารไดเต็มประสิทธิภาพกวามาก คือ ระบบ Packet

switching ซ่ึงจัดการซอยแบงขอมูลออกเปนกลุมยอยๆ ขนาดเทาๆ กัน เรียกวา Packet แลวจัดสงไปตามชองทาง

สื่อสารที่พอจะไปไดโดยไมตองมีการจองถนนเพ่ือรอเสด็จเหมือนระบบ Circuit switching จากน้ันเม่ือกลุมของแพ็กเก็ต

ขอมูลว่ิงไปถึงจุดหมายปลายทางมันก็จะถูกประกอบกันข้ึนมาใหมเปนชุดขอมูลเดิม ทําใหทั้งสะดวกรวดเร็ว และไมตอง

กังวลวาจะมีชองทางสายนําสัญญาณเสนใดเสนหน่ึงขาดไป (อยางระบบ Circuitswitching น้ัน หากชุมสายโทรศัพท

สาขาใดสาขาหนึ่งดาวนลง บานพักอาศัยที่อยูในยานเดียวกันก็เปนอันไมตองโทรเขาโทรออกกันเลย)

ระบบขอมูลแบบ Packet switching จะมีที่พอจะเปนขอติไดบางก็ตรงที่บางครั้ง แพกเก็ตของขอมูล

บางกลุมอาจจะตองวิ่งออมไปคอนโลกกวาจะยอนไปยังจุดหมายปลายทางได แตก็อีกน่ันแหละ ในโลกของการสื่อสาร

อิเล็กทรอนิกสแลวระยะที่หางกันคอนโลกก็ไมไดทําใหระยะเวลาการเดินทางของแพ็คเก็ตเปลี่ยนแปลงไปสักเทาใด ฉนั้น

มันจึงไมใชตนเหตุของปญหาเรื่องความลาชาของการรับ/สงขอมูล ตนเหตุที่แทจริงของความลาชาอยูตรงวิธีการรับสง

กลุมแพ็กเก็ตของขอมูลที่มีขนาดไฟลลใหญมากๆ อยางพวกสัญญาณวิดีโอ ไฟลลเสียง (เสียงนี้ไมเหมือนกับเสียงพูดทาง

โทรศัพทซ่ึงเปนสัญญาณอนาล็อกและไมเปลืองพื้นที่จัดเก็บสัญญาณ) เพราะบางครั้ง กลุมแพ็กเก็ตของไฟลลพวกน้ี

อาจจะเดงไปเดงมาระหวางเครื่องเซิรฟเวอรไมไปถึงเครื่องปลายทางเสียที ทําใหกลุมแพ็กเก็ตที่ปลายทางตองเสียเวลา

รอประกอบขอมูลเขาดวยกัน และสงผลใหไมสามารถแสดงภาพและเสียงออกมาในลักษณะเรียลไทม

ทางออกของปญหาการแสดงไฟลลวิดีโอและไฟลลเสียงแบบเรียลไทม คือ การนําเอาเทคโนโลยี ATM (Asynchronous

Transfer Mode) มาบริหารการรับ/สงแพ็คเก็ตขอมูล เร่ิมดวยการซอยไฟลลขอมูลออกเปนเซลลขนาด 53 ไบทเทากัน

หมด แทนที่จะเปนแพ็คเก็ตหลายๆ ขนาดเชนเดิม แลวติดต้ังอุปกรณเราเตอรข้ึนมาทําหนาที่จัดสงเซลลขอมูลเหลาน้ี

ออกไปยังปลายทางโดยใชชองทางที่สั้นที่สุด เร็วที่สุด ข้ันตอนถัดมาก็คือ ปรับปรุงวิธีการที่ขอมูลจะถูกสงขามไปมา

ระหวางเครื่องคอมพิวเตอรหรือที่รับรูกันในวงการวาเปน การกระโดด หรือ Hoping โดยทําใหกลุมเซลลขอมูลกระโดด

จากตนทางไปปลายทางทีเดียวทั้งชุดไปเลย (upshot) และน่ีเองที่ทําใหระบบ Packet switching แบบ ATM มี

ความเร็วสูงมากพอจะแสดงภาพและเสียงแบบเรียลไทมได สงผลใหประดาผูประกอบการดานเสนทางสื่อสารหลักตาง

พากันเรงติดตั้งอุปกรณเราเตอรในระบบ ATM ใหกับเครือขายของตนกันเปนการ

ใหญ

รูปที่ 3 ตารางเปรียบเทียบความเร็วระหวางชองทางนําสัญญาณระดับตางๆ ไลตั้งแตความเร็ว

ขนาดอนุบาลของโมเด็ม 28.8 kbps ไปจนดระท่ังถึงมาตรฐานเคเบิ้ลใยแกวนําแสง

OC-768 ซึ่งรองรับขอมูลไดดวยความเร็วระดับ 200 gpbs

"อินเทอรเน็ตโครงการ 2"

ในขณะที่บรรดาผูประกอบการดานการสื่อสารสหรัฐฯ ตางเรง

ปรับปรุงคุณภาพของตนกันเปนขนานใหญเพ่ือไมใหตองเสียสวนแบงตลาดใหกับคูแขง แวดวงวิชาการในมหาวิทยาลัย

และหนวยวิจัยของรัฐในสหรัฐฯ ก็กําลังรวมมือกันกอตั้งโครงการอภิมหาเครือขายการสื่อสารช่ือวา "อินเทอรเน็ต 2" ขึ้น

โดยอาศัยความชวยเหลือจากบริษัทผูประกอบการดานเสนทางสื่อสารหลัก 13 แหง (ไดแก ซิสโก, เอ็มซีไอ, และเควสต)

15

และใชเสนทางสื่อสารหลักความเร็วสูงสองสายเปนแกนกลาง สายแรกเรียกวา VBNS (Very High Speed Backbone

Network Service) ซ่ึงอยูภายใตการดูแลขององคกรสามประสาน อันไดแก บริษัทเอ็มซีไอ บริษัทเวิลดคอม และมูลนิธิ

วิทยาศาสตรแหงชาติ (National Science Foundation) สวนเสนทางสื่อสารหลักสายที่สองนั้นอยูภายใตการดูแลของ

บริษัทเควสท

เชื่อวาผลจากการกอต้ังเครือขายอินเทอรเน็ต 2 จะสงผลใหบรรดาสมาชิกซึ่งประกอบไปดวย

มหาวิทยาลัย และองคกรสําคัญๆ ของสหรัฐฯ สามารถแลกเปลี่ยนขอมูลกันดวยความเร็วสูงถึง 1 gbps (เลยทําใหบาง

คนเรียกโครงการอินเทอรเน็ต 2 นี้วาเปนโครงการ Gigapops) ซ่ึงแมวาโครงการอินเทอรเน็ต 2 น้ีจะถูกจํากัดการใช

งานอยูเฉพาะมหาวิทยาลัยและหนวยงานของรัฐ แตก็เชื่อวาจะสงผลดีใหกับเครือขายอินเทอรเน็ตทั้งระบบ เพราะอยาง

นอยก็จะบรรเทาความแออัดยัดเยียดของประชากรลงไปไดในระดับหน่ึง และยังสามารถใชเปนสถานที่ทดสอบผลงาน

การวิจัยใหมๆ กอนที่จะถูกนําออกมาทดลองใชงานจริงบนเครือขายอินเทอรเน็ตเดิมไดอีกตางหาก

ยกตัวอยางงานวิจัยบนอินเทอรเน็ต 2 ที่เร่ิมปรากฏใหเห็นบางแลว ไดแก การพยายามติดเครื่องหมาย

ใหกับสัญญาณเสียงพูด (Voice tagging) เพื่อกําหนดใหเสียงพูดเปนสัญญาณที่มีระดับความสําคัญสูงที่สุด (first

priority) ระหวางที่มันเคลื่อนผานไปมาบนอินเทอรเน็ต อีกโครงงานวิจัยที่นาสนใจพอๆ กันก็คือ โครงงาน

Photonics ซ่ึงพยายามเพ่ิมขีดความจุสัญญาณขอมูลของเสนไฟเบอรนําแสงในการสงขอมูลออกไปในแตละคร้ัง เพราะ

ตามปรกตินั้นสัญญาณขอมูลจะถูกแปลงใหอยูในรูปแสงเลเซอรซ่ึงถูกยิงผานไปในลําทอใยแกวนําแสง ทีนี้ถาเราสามารถ

สงแสงเลเซอรหลายๆ ยานความถ่ีออกไปในทีเดียว ปริมาณของขอมูลที่จะรองรับไดก็ยอมจะสูงข้ึนเปนจํานวนเทาของ

ยานความถ่ีดวยเชนกัน (เทคนิคการแบงแสงเลเซอรพาหะออกเปนหลายยานความถ่ีนี้เรียกวา Dense Wave Division

Multiplexing หรือเรียกยอๆ วา "DWDM")

ผลจากการประยุกตเอาเทคนิค DWDM มาใชกับการสงผานสัญญาณขอมูล ทําใหบริษัทสปรินทกลาว

อางวาทําใหเสนทางสื่อสารหลักเดิมของตนมีความเร็วเพ่ิมข้ึนเปน 32 เทาตัว และคาดหวังตอไปอีกดวยวานาจะสามารถ

เพ่ิมขีดสมรรถนะขึ้นไปถึงจุดสูงสุดที่ 100 เทา นอกจากน้ี ยังมีผูดําเนินธุรกิจดานศูนยบริการอินเทอรเน็ตรายอ่ืนๆ

16

ทยอยปรับเปลี่ยนมาใชระบบ DWDM ดวยเชนกัน ยกตัวอยางเชน บริษัท ISP@Home ซ่ึงเปนศูนยบริการอินเทอรเน็ต

ยอยรายหนึ่งของบริษัทเอทีแอนดที

อยางไรก็ตาม เทคนิคการเพ่ิมขีดความเร็วใหกับเสนทางสื่อสารหลักน้ันไมไดมีอยูแคระบบ DWDM

เทาน้ัน ยังมีระบบ Refractive Synchronization Communication (RSC) ของบริษัทซิลคโรดแหงซานดิเอโกให

เลือกใชไดอีกระบบ โดยบริษัทซิลคโรดไดกลาวอางวาระบบ RSC น้ันจะเพ่ิมขีดความเร็วในการสงผานสัญญาณขอมูล

ข้ึนไปไดสูงถึง 200 gbps และจะสามารถครอบคลุมพ้ืนที่ออกไปไดไกลกวา 200 ไมลล โดยไมจําเปนตองมีการขยาย

ความแรงของสัญญาณ และใชความยาวคลื่นแสงเดียวเทาน้ันในการทําหนาที่เปนพาหะของขอมูล (ออกจะทําความ

เขาใจไดยากหนอย คงตองไดเห็นระบบ RSC ของจริงในชวงฤดูรอนที่จะมาถึงของสหรัฐฯ เสียกอนถึงเชื่อถือได เพราะ

ขนาดความเร็วสูงสุดของเสนใยแกวนําแสงขณะนี้ยังคงอยูที่ 40 gbps เทานั้น)

"การจราจรคอขวด" ปญหาท่ีไมมีวันจบ

จากที่กลาวมาแตตน จะเห็นไดวามีความพยายามและเงินลงทุนจํานวนมหาศาลที่ถูกทุมเทลงไปในการ

แกไขปญหาความติดขัดของการสื่อสารขอมูล และผลสําเร็จของการแกไขก็ดูเหมือนวาจะปรากฏใหเห็นไดเปนระยะๆ

จนหลายคนอาจจะเริ่มฝนหวานวาในที่สุดเราคงจะไดโครงขายการสื่อสารที่สมบูรณแบบของโลกเสียที เพราะไหนจะ

อินเทอรเน็ตโครงการสอง ไหนจะเครือขายใยแกวนําแสงความเร็วสูง ไหนจะเทคโนโลยีเพิ่มขีดความเร็วแบบ DWDM

แบบ RSC และไหนจะระบบดาวเทียมขนาดเล็กที่มีกระจายครอบคลุมแทบจะทั่วพ้ืนผิวโลก ฯลฯ

อยางไรก็ตาม น่ันเปนเพียงความสําเร็จเฉพาะจุดเทาน้ัน และปญหาจราจรคอขวดของการสื่อสารขอมูล

ก็ยังคงปรากฏใหเห็นไดอยูตลอดเวลา เพียงแตมันจะเลื่อนตําแหนงไปเร่ือยๆ เชน เคยติดขัดอยูตรงเสนทางที่เขา/ออก

จากเครื่องคอมพิวเตอรแตละเครื่อง ก็เริ่มขยับไปอยูที่ศูนยบริการอินเทอรเน็ตแทนเมื่อเครื่องคอมพิวเตอรระดับต้ังโตะ

ไดรับการพัฒนาสมรรถนะสูงขึ้น และคงจะเคลื่อนตอไปที่เสนทางสื่อสารหลัก (backbone) ทันทีที่บรรดาศูนยบริการ

อินเทอรเน็ตสามารถแกไขปญหาการจราจรในสวนความรับผิดชอบของตนได (เหมือนวิธีการแกปญหาการจรของไทย

เรานั่นแหละ พอวิภาวดีไหลลื่นมากๆ เขาก็ชักจะไปติดขัดแถวรัชดาภิเษก พอรัชดาฯ คลองตัวก็ไปติดที่เพชรบุรีแทน)

ฉน้ัน ปญหาการจราจรคอขวดบนอินเทอรเน็ตจึงจะยังวนเวียนไปเรื่อยๆ แลวแตวาสวนไหนของวงจร

การสื่อสารทํางานชากวาสวนอ่ืนๆ ทางแกที่พอจะเปนไปไดจึงอยูที่ทุกสวนของวัฎจักรแหงอินเทอรเน็ตจะตองไดรับการ

ปรับปรุงไปในจังหวะยางกาวที่ใกลเคียงกัน และการแกปญหาจะตองเปนไปในลักษณะองครวม ไมใชเลือกแกแคจุดใด

จุดหน่ึง ซ่ึงวิธีการเชนนี้ดูเหมือนจะเปนแคความคิดฝนในเชิงอุดมคติ เปนไปไดยากมากทางปฏิบัติ เพราะจะตองอาศัย

ผูนําทางการเมืองการปกครองที่มีวิสัยทัศนและมีความรูดานอินเทอรเน็ตมากพอ นอกจากนั้น ยังตองมีการควบคุมการ

เติบโตของเครือขายการสื่อสารไมใหมีสวนหน่ึงสวนใดโตมากเกินไป ซ่ึงวิธีการที่วาน้ีเปนไปไดยากมากในระบบการ

ปกครองเสรี