นิติคอมพิวเตอร์

8
file : detect.doc page : 1 George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง "ไมปลอยคนชั่วลอยนวล" หลักการแหงนิติคอมพิวเตอร สุรพล ศรีบุญทรง บทความป 1998 ปจจุบัน แมวาเมืองไทยที่รักของเราจะตองซูบซีดลงไปอยางเฉียบพลัน จากมาตรการลดความอวนของ ไอเอ็มเอฟ แตภายใตวิกฤตเศรษฐกิจที่เลวรายนั้น ผูเขียนกลับมองเห็นวามีนิมิตหมายอันดีอยางหนึ่งเกิดขึ้นตามมา นั่นคือ เรากําลังเขาสูยุค "ไมปลอยคนชั่วลอยนวล" ดังจะเห็นไดจาการที่สื่อสารมวลชนและขาราชการสาธารณสุขรวมกันขับไล รัฐมนตรีพรรคอื้อฉาวพรรคหนึ่งออกไปจากกระทรวงเพราะไมยอมใหโจรใสสูทเหลานี้เขามาหากินกับความปวยไขของคน ไทย อยางไรก็ตาม กรณีของการทุจริตซื้อยานั้นถูกเปดโปงออกมาไดเพราะมันโจงแจงจนนาเกลียด หากแมน วาบรรดาทุจริตชน คนโกงเมืองทั้งหลายมีการเปลี่ยนแปลงไปใชเทคโนโลยีสมัยใหม อยางการโอนยายขอมูลดวย คอมพิวเตอร หรือใชเครือขายอินเทอรเน็ตเปนชองทางโกงกิน การตามเก็บหลักฐานรองรอยของคนโกงเหลานี้คงจะยิ่ง ยากเย็นแสนเข็ญขึ้นไปอีก ดังนั้น บรรดาผูพิทักษสันติราษฎรของไทยจึง ควรเรงพัฒนาขีดความสามารถดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรของตนใหเทา เทียมกับบรรดาอาชญากรไฮเทคเหลานี้ใหได ทีนีหากจะพัฒนาขีดความสามารถดานคอมพิวเตอรของ กระบวนการยุติธรรมใหไดผลรวดเร็วทันอกทันใจ ก็คงตองศึกษาจาก ประเทศที่เขาพัฒนาแลว และหนึ่งในประเทศที่มีชื่อเสียงในดานการ สืบสวนสอบสวนมากที่สุดก็เห็นจะไดแกประเทศอังกฤษ ดังจะเห็นไดจาก ชื่อเสียงอันเปนที่ยอมรับไปทั่วโลกของกรมตํารวจสกอตแลนดยารด และ หนวยสืบราชการลับเอ็มไอซิกซ (จนแมแตวงการนวนิยายหรือภาพยนตก็ยังยอมยกใหสายลับและนักสืบของอังกฤษเปน อันดับหนึ่งเลย ไมวาจะเปน เจมส บอนด 007, เชอรล็อคโฮลม หรือ เฮอรคูล ปวโรต) ดวยเหตุผลดังกลาว ผูเขียนจึง ถือโอกาสนําเอาเรื่องราวการประยุกตใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในกรมตํารวจอังกฤษ ในบทความชื่อ "Techie detectives" ซึ่งเรียบเรียงขึ้นโดย "จอรจ โคล" และลงตีพิมพอยูในนิตยสารเพอรซันนัล คอมพิวเตอร เวิลด ฉบับเดือน สิงหาคมที่ผานมา มาเลาสูกันฟง "พี เอ็น ซี" โครงการตั้งตน แนวคิดที่จะนําเอาระบบคอมพิวเตอรมาใชจัดการกับกระบวนการยุติธรรมของอังกฤษ เริ่มปรากฏเปน รูปรางขึ้นครั้งแรกเมื่อสามสิบสิบเอ็ดปที่แลว ภายใตชื่อโครงการ "ระบบคอมพิวเตอรเพื่องานตํารวจแหงชาติ (Police National Computer)" หรือเรียกขานกันสั้นๆ วา "โครงการ พี เอ็น ซี" โดยมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรม ขนาดมหึมารุน Burroghs/Unisys B6700 จํานวน 2 เครื่องไวที่ศูนยเฮนสัน เขตลอนดอนเหนือ และถึงแมวาเจายักษ ใหญสองเครื่องนี้จะมีขีดความจุฐานขอมูลรวมกันแค 5 กิกะไบท แตมันก็ชวยใหการสืบคนขอมูลอาชญากรรมของสหราช อาณาจักรรวดเร็วขึ้นกวาเดิมเปนพันเทาเลยทีเดียว คือ แทนที่จะตองรอการสงตอขอมูลหลักฐานเปนวันๆ ก็เหลือแคไมกีวินาทีเทานั้น

Transcript of นิติคอมพิวเตอร์

file : detect.doc page : 1

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

"ไมปลอยคนชั่วลอยนวล"

หลักการแหงนิติคอมพิวเตอร สุรพล ศรีบุญทรง

บทความป 1998 ปจจุบัน แมวาเมืองไทยที่รักของเราจะตองซูบซีดลงไปอยางเฉียบพลัน จากมาตรการลดความอวนของ

ไอเอ็มเอฟ แตภายใตวิกฤตเศรษฐกิจที่เลวรายน้ัน ผูเขียนกลับมองเห็นวามีนิมิตหมายอันดีอยางหน่ึงเกิดข้ึนตามมา น่ันคือ

เรากําลังเขาสูยุค "ไมปลอยคนช่ัวลอยนวล" ดังจะเห็นไดจาการที่สื่อสารมวลชนและขาราชการสาธารณสุขรวมกันขับไล

รัฐมนตรีพรรคอ้ือฉาวพรรคหน่ึงออกไปจากกระทรวงเพราะไมยอมใหโจรใสสูทเหลาน้ีเขามาหากินกับความปวยไขของคน

ไทย

อยางไรก็ตาม กรณีของการทุจริตซ้ือยาน้ันถูกเปดโปงออกมาไดเพราะมันโจงแจงจนนาเกลียด หากแมน

วาบรรดาทุจริตชน คนโกงเมืองทั้งหลายมีการเปลี่ยนแปลงไปใชเทคโนโลยีสมัยใหม อยางการโอนยายขอมูลดวย

คอมพิวเตอร หรือใชเครือขายอินเทอรเน็ตเปนชองทางโกงกิน การตามเก็บหลักฐานรองรอยของคนโกงเหลานี้คงจะย่ิง

ยากเย็นแสนเข็ญขึ้นไปอีก ดังน้ัน บรรดาผูพิทักษสันติราษฎรของไทยจึง

ควรเรงพัฒนาขีดความสามารถดานเทคโนโลยีคอมพิวเตอรของตนใหเทา

เทียมกับบรรดาอาชญากรไฮเทคเหลาน้ีใหได

ทีนี้ หากจะพัฒนาขีดความสามารถดานคอมพิวเตอรของ

กระบวนการยุติธรรมใหไดผลรวดเร็วทันอกทันใจ ก็คงตองศึกษาจาก

ประเทศที่เขาพัฒนาแลว และหนึ่งในประเทศที่มีช่ือเสียงในดานการ

สืบสวนสอบสวนมากที่สุดก็เห็นจะไดแกประเทศอังกฤษ ดังจะเห็นไดจาก

ช่ือเสียงอันเปนที่ยอมรับไปทั่วโลกของกรมตํารวจสกอตแลนดยารด และ

หนวยสืบราชการลับเอ็มไอซิกซ (จนแมแตวงการนวนิยายหรือภาพยนตก็ยังยอมยกใหสายลับและนักสืบของอังกฤษเปน

อันดับหนึ่งเลย ไมวาจะเปน เจมส บอนด 007, เชอรล็อคโฮลม หรือ เฮอรคูล ปวโรต) ดวยเหตุผลดังกลาว ผูเขียนจึง

ถือโอกาสนําเอาเรื่องราวการประยุกตใชเทคโนโลยีคอมพิวเตอรในกรมตํารวจอังกฤษ ในบทความช่ือ "Techie

detectives" ซ่ึงเรียบเรียงข้ึนโดย "จอรจ โคล" และลงตีพิมพอยูในนิตยสารเพอรซันนัล คอมพิวเตอร เวิลด ฉบับเดือน

สิงหาคมที่ผานมา มาเลาสูกันฟง

"พี เอ็น ซี" โครงการตั้งตน

แนวคิดที่จะนําเอาระบบคอมพิวเตอรมาใชจัดการกับกระบวนการยุติธรรมของอังกฤษ เริ่มปรากฏเปน

รูปรางข้ึนครั้งแรกเมื่อสามสิบสิบเอ็ดปที่แลว ภายใตชื่อโครงการ "ระบบคอมพิวเตอรเพ่ืองานตํารวจแหงชาติ (Police

National Computer)" หรือเรียกขานกันสั้นๆ วา "โครงการ พี เอ็น ซี" โดยมีการติดตั้งเครื่องคอมพิวเตอรเมนเฟรม

ขนาดมหึมารุน Burroghs/Unisys B6700 จํานวน 2 เครื่องไวที่ศูนยเฮนสัน เขตลอนดอนเหนือ และถึงแมวาเจายักษ

ใหญสองเครื่องน้ีจะมีขีดความจุฐานขอมูลรวมกันแค 5 กิกะไบท แตมันก็ชวยใหการสืบคนขอมูลอาชญากรรมของสหราช

อาณาจักรรวดเร็วขึ้นกวาเดิมเปนพันเทาเลยทีเดียว คือ แทนที่จะตองรอการสงตอขอมูลหลักฐานเปนวันๆ ก็เหลือแคไมก่ี

วินาทีเทาน้ัน

file : detect.doc page : 2

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

ในระยะแรก ขอมูลสวนใหญที่ถูกเก็บไวในฐานขอมูลของระบบพีเอ็นซีมักจะเนนไปที่เร่ืองขอมูลของ

รถยนตที่ถูกโจรกรรมไป ตอมาก็คอยๆ ขยับขยายไปสูขอมูลประเภทอ่ืนๆ อันไดแก ประวัติอาชญากร, ระบบวิเคราะห

ขอมูลอาชญากรรม, หลักฐานทางพันธุกรรม, บันทึกวาดวยการครอบครองอาวุธปน และขอมูลที่เก่ียวของ, ตลอดไป

จนถึงประวัติการใหประกันตัวของผูตองหา หรือเงื่อนไขการประกันตัว ฯลฯ กลาวโดยสรุปแลว วากันวา ระบบพีเอ็นซี

สามารถเก็บประวัติบุคคลไดถึง 5 ลานชื่อ และบันทึกคําใหการตางๆ อีกรวม 111 ลานสํานวน

แตถึงกระน้ัน ขีดความจุดังกลาวของระบบพีเอ็นซีก็

ยังคงไมเพียงพอที่จะรองรับกับขอมูลอาชญากรรมที่ทวีเพ่ิมชึ้นมาเรื่อย

ทุกปๆ อีกทั้งความนิยมเรียกคนขอมูลจากสถานีตํารวจตางๆ ที่มี

ปริมาณสูงข้ึนก็สงผลใหการบริการของระบบคอมพิวเตอรของพีเอ็นซีชัก

จะอืดอาดขึ้นทุกที ทําใหระบบพีเอ็นซีจําเปนตองไดรับการปรับปรุง

ประสิทธิภาพเพ่ิมข้ึนทุกปๆ จนลาสุดเม่ือปที่แลว ขาวแจงวากรม

ตํารวจอังกฤษไดเปลี่ยนสวนประมวลผลของระบบพีเอ็นซีไปเปน

CMOS/.390 ของซีเมนส ทําใหเพ่ิมขีดความเร็วในการประมวลคําสั่งข้ึนไปไดถึงระดับ 320 ลานคําสั่งตอวินาที (320

MIPS)

สําหรับโปรแกรมซอฟทแวรที่ใชบริหารฐานขอมูลในระบบพีเอ็นซีน้ัน กรมตํารวจอังกฤษเลือกใชระบบ

ฐานขอมูลแบบ Relational database อันประกอบไปดวยระบบวิเคราะหชั้นรองๆ ลงมาอีกหลายระบบ ยกตัวอยางเชน

ระบบ Comparative cases analysis ซ่ึงจะชวยวิเคราะหเปรียบเทียบหลักฐานในคดีอาชญากรรมหลายๆ ประเภท ไดแก

คดีฆาตกรรม, คดีขมขืน และคดีปลนชิงทรัพย เพ่ือดูวามีลักษณะกระบวนการกระทําผิดอะไรเกี่ยวของสัมพันธกันบาง ถา

มี เปนความสัมพันธในลักษณะใด ?

หรืออยางระบบ Vehicle Online Descriptive Search (VODS) น้ัน ก็จะชวยใหตํารวจสามารถจําแนก

ลักษณะของรถยนตตองสงสัยไดแมวาจะมีขอมูลเพียงเล็กนอย เชนถาไมรูเลขทะเบียนรถ แตรูวาเปนรถยี่หออะไร สีอะไร

กอเหตุที่ไหน ระบบ VODS ก็จะชวยคนหาและเปรียบเทียบขอมูลที่มีอยู จากน้ันก็จะสรุปเปนขอมูลออกมาไดเลยวารถ

รุนที่วานั้นนาจะมีเลขทะเบียนอะไร หรือเปนรถภายใตการครอบครองของใครบาง ซ่ึงก็จะทําใหตํารวจเจาของคดีสามารถ

จํากัดขอบเขตการสืบสวนไดแคบลง แทนที่จะตองไลดมกลิ่นผูรายไปอยางไรทิศทาง

นอกจากน้ี ภายในฐานขอมูลพีเอ็นซีก็ยังมีระบบ Quest ซ่ึงทํางานไดคลายๆ กับระบบ VODS เพียงแต

แทนที่จะเปนขอมูลยานพาหนะ ก็เปนขอมูลเก่ียวกับบุคคลแทน อยางขอมูลรูปพรรณสัณฐานประเภท ชายวัยกลางคน

รางสันทัด ผิวดําแดง ฯลฯ หรือการเปรียบเทียบหนาคนรายจากปากคําของพยานอะไรทํานองน้ี ซ่ึงผลจากการที่ระบบ

พีเอ็นซีสามารถวิเคราะหและตอบสนองตอความตองการของสถานีตํารวจตางๆ ไดอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็วเชนน้ี

ทําใหมีการประมาณการกันวาในชวงระยะเวลาแตละหานาทีน้ัน จะมีการปอนขาวสารอาชญากรรมจากศูนยพีเอ็นซี

ออกไปยังสถานีตํารวจตางๆ ไมนอยกวา 1 หม่ืนรายการ หรือถาจะดูจากบันทึกของกรมตํารวจอังกฤษปที่แลว ก็จะพบวา

ในป 1997 ที่ผานมาน้ัน ศูนยพีเอ็นซีมีการแลกเปลี่ยนขอมูลกับสถานีตํารวจยอยๆ ถึง 60 ลานครั้ง หรือคิดเปนจํานวน

รายการกต็กราวๆ 269 ลานรายการ

file : detect.doc page : 3

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

"ตํารวจอังกฤษยุคไฮเทค" ท้ิงปนมาถือโนตบุค

ถึงแมอังกฤษจะมีการติดต้ังระบบฐานขอมูลอาชญากรรมที่มีประสิทธิภาพสูงมากอยางระบบพีเอ็นซีมา

เน่ินนานกวาสามสิบปแลวก็ตาม แตเนื่องจากในอดีตน้ันเครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลและเครื่องคอมพิวเตอรโนตบุคยังมี

ราคาสูงมาก กรมตํารวจอังกฤษจึงไมสามารถแจกจายเครื่อง

คอมพิวเตอรใหกับสายตรวจที่ออกไปตระเวณตามสถานที่เกิดเหตุได

พวกสายสืบที่อยูนอกสถานีตํารวจจําเปนตองใชวิธีการโทรศัพทกลับมา

ยังศูนยขาวที่สถานี แลวรองขอใหทางสถานีสงคําสั่งเรียกคนขอมูลผาน

ไปยังศูนยพีเอ็นซีอีกทีหน่ึง ทําใหบางครั้งตํารวจไมสามารถจัดการกับ

ผูรายไดอยางทันทวงที

ดังนั้น หลังจากที่ราคาของอุปกรณคอมพิวเตอรพกพา

มีการปรับตัวลดลงไปเปนอยางมาก ทางกรมตํารวจอังกฤษจึงมีแผนจะ

ปรับปรุงระบบการสื่อสารขอมูลคอมพิวเตอรของตนเสียใหม โดยจะเปดโอกาสใหสายตรวจสามารถสืบคนขอมูลจาก

ยานพาหนะของตนไดโดยตรงเลย แทนที่จะตองสอบถามจากศูนยวิทยุที่สถานีของตนถึงสองสามทอดใหเสียเวลา และ

สําหรับอุปกรณคอมพิวเตอรติดรถสายตรวจหลักๆ น้ันก็จะประกอบไปดวยเครื่องคอมพิวเตอรชนิดพกพาขนาดกระทัดรัด

อยางพวก อุปกรณ PDAs หรือเคร่ืองโนตบุค ที่สายตรวจจะถือไปกับตัวได สวนที่ติดอยูกับรถสายตรวจก็จะเปนจอ

เทอรมินัลซึ่งออกแบบมาใหใชงานไดงายเปนพิเศษ (อยาลืมวาตํารวจพวกนี้มักจะไมไดมีพ้ืนฐานความรูดานคอมพิวเตอร

มากมายนัก ฉน้ัน เครื่องคอมพิวเตอรที่ใชในงานน้ีจึงตองออกแบบมาใหใชงานไดงายๆ ซึ่งสวนใหญก็คงหนีไมพนการ

ปอนคําสั่งผานทางจอสัมผัส)

อยางไรก็ตาม กรมตํารวจอังกฤษไมไดผลีผลามเปดประมูลจัดซ้ือจัดจางเพ่ือติดตั้งอุปกรณคอมพิวเตอร

ใหกับประดาสายตรวจเสียเลยในทีเดียวเหมือนที่นิยมทํากันในประเทศดอยพัฒนาทั้งหลาย (อาจจะเปนเพราะอังกฤษ

ไมไดมีนักการเมือง และผูบริหารที่ชาญฉลาดรอบรูไปหมดทุกเรื่องเหมือนบานเรา) ในระยะแรกๆ พวกเขาจะใชวิธีสุม

ทดสอบกับสถานีตํารวจสัก 8 - 9 แหงกอน เพ่ือสํารวจถึงจุดดอย และขอบกพรองตางๆ นาๆ ภายในแผนการกอนที่จะ

เริ่มดําเนินการอยางจริงๆ จังๆ ยกตัวอยางเชน การศึกษาคดีสยองขวัญแหงประวัติศาสตร "คดีนักเชือดแหงยอรคเชียร

(The Yorkshire Ripper)" น้ัน พวกเขาพบวาสาเหตุที่ทําใหฆาตกรสามารถตระเวณฆาคนไปไดเรื่อยๆ โดยไมถูกจับกุม

เปนเพราะหนวยงานตางๆ ภายในกรมตํารวจไมมีการสื่อสารแลกเปลี่ยนขอมูลกันมากเทาที่ควร

เพ่ือเพ่ิมประสิทธิภาพในการสื่อสารระหวางหนวยงาน กรมตํารวจอังกฤษจึงตัดสินใจติดตั้งระบบ

ฐานขอมูลสําหรับประสานงานระหวางหนวยงานตางๆ ภายในกรมตํารวจขึ้นมาเปนการเฉพาะ ภายใตชื่อโครงการ "โฮลม

(HOLMES, Home Office Large Major Equity System)" โดยเจาระบบโฮลมนี้แตเริ่มแรกยังคงเปนเครือขายเน็ต

เวิรกชนิดควบคุมจากสวนกลาง มีเครื่องเมนเฟรมขนาดยักษคอยสั่งการ และปอนขอมูลใหกับประดาเครื่องเทอรมินัลโงๆ

เซอๆ ที่อยูกระจายกันออกไปในแตละหนวยงาน มาชวงหลังๆ ถึงไดปรับเปลี่ยนไปเปนเครือขายเน็ตเวิรกชนิด ไคลเอนต/

เซิรฟเวอร ตลอดจนพวกโปรแกรมซอฟทแวรทั้งหลายภายในเน็ตเวิรกโฮลมก็ปไดรับการปรับเปลี่ยนไปใชโปรแกรมแบบ

วินโดวสเชนตามสมัยนิยม

file : detect.doc page : 4

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

หลากหลายรูปแบบของคอมพิวเตอรตํารวจ

นอกจาก ระบบฐานขอมูลโฮลมที่วามาน้ีแลว กรมตํารวจอังกฤษยังมีแผนการพัฒนาระบบคอมพิวเตอร

เพ่ือการวิเคราะหลายน้ิวมือเปนการเฉพาะ ชื่อโครงการ "NAFIS (the National Automated Fingerprint ID System)"

ข้ึนมาใชงานอีกภายใน 2 - 3 ปขางหนา ทราบขอมูลคราวๆ วาจะใชเครื่องคอมพิวเตอรของซันส และฮิวเล็ต-แพ็คการด

เปนอุปกรณฮารดแวรหลัก สวนโปรแกรมซอฟทแวรบริหารฐานขอมูลดานลายน้ิวมือนับจํานวนไดเปนหลายลานลายมือ

น้ัน ขาวแจงวาทางกรมตํารวจอังกฤษไดตกลงปลงใจวาจางบริษัทอินฟอรมิกซเปนคนดําเนินการไปเรียบรอยแลว

เหตุผลที่ทางการอังกฤษเลือกใชหนวยประมวลผล

กลางของซันสและฮิวเล็ต-แพ็คการด กับโครงการ NAFIS ก็ดวย

เหตุผลที่มันสามารถวิเคราะหลายน้ิวมือของผูตองสงสัยดวยการ

เปรียบเทียบกับประดาลายมือที่มีเก็บบันทึกไวไดดวยความเร็วสูงถึง 1

ลานลายน้ิวมือตอวินาที ซึ่งถาคิดตามจํานวนลายน้ิวมือที่มีเก็บอยูใน

กรมตํารวจจํานวน 6 ลานลายน้ิวมือในขณะน้ี ก็เทากับวาระบบ

NAFIS จะใชเวลาเพียง 6 วินาทีในการเปรียบเทียบลายนิ้วมือทั้งหมด

อยางไรก็ตาม ระบบ NAFIS ไมไดมีการทํางานจํากัดอยูแควิเคราะหเปรียบเทียบลายนิ้วมือเทานั้น มันยังถูกโยงไป

เก่ียวของสัมพันธกับประดาหลักฐานอื่นๆ ที่ตกอยูในที่เกิดเหตุอีกดวย เชน ขอมูลอาวุธสังหาร หรือ วิธีการที่ฆาตกรมักจะ

ใชกับเหยื่ออะไรทํานองน้ี ฯลฯ ที่สําคัญ ทางการอังกฤษยังมีแผนการเช่ือมโยงระบบ NAFIS เขากับฐานขอมูลของ เอฟ บี

ไอ และหนวยงานยุติธรรมอ่ืนๆ ในเครือสหภาพยุโรปอีกตางหาก

ประโยชนสําคัญที่ทางการอังกฤษจะไดรับจากการเช่ือมโยงขอมูลอาชญากรรมของตนกับองคกรตางชาติ

อยาง เอฟ บี ไอ ของสหรัฐฯ และหนวยงานตํารวจของสหภาพยุโรปน้ัน เห็นจะไดแกการปองกันการกอการรายขามชาติ

เพราะวิบากกรรรมที่บรรดากลุมประเทศผูนําเศรษฐกิจเหลาน้ีเคยกอไวใหกับอาณานิคมตางๆในอดีต ไดสงผลใหพวกนี้ตอง

ถูกตามจองลางจองผลาญจากบรรดานักกอการรายทั่วโลก โดยเฉพาะในกรุงลอนดอนน้ัน วากันวาหากมีใครไปเผลอลืม

กระเปาทิ้งไวตามสถานีรถไฟอาจจะกลายเปนเรื่องใหญขึ้นมาไดงายๆ

อยางพวกรถราทุกคันที่จะเดินทางเขาสูกรุงลอนดอนก็ยังตองไดรับการตรวจสอบจากระบบฐานขอมูล

"ANPR (Automatic Plate Recognition System)" อยางอัตโนมัติ โดยระบบ ANPR จะถูกเชื่อมตอกับกลองวิดีโอที่ติด

ต้ังอยูเหนือถนนทุกสายที่มุงเขาสูกรุงลอนดอน กลองวิดีโอจะเก็บบันทึกภาพของรูปพรรณสัณฐาน พรอมดวยหมายเลข

ทะเบียนของรถยนตแตละคัน จากนั้นก็แปลงสัญญาณภาพวิดีโอที่จับไดใหอยูในรูปสัญญาณดิจิตัล เพ่ือแปลงขอมูล

กราฟฟกไปเปนขอมูลอักษรเพ่ือตรวจสอบกลับไปที่ฐานขอมูลพีเอ็นซี ดูวารถยนตรุนยี่หอ และเลขทะเบียนดังกลาวมี

ประวัติถูกขโมย หรือเปนรถตองสงสัยหรือไม ?

"นิติคอมพิวเตอร" ศาสตรแหงโลกยุคใหม

ที่ผานมา เราไดแตพูดถึงการนําเอาคอมพิวเตอรมาประยุกตใชปองกัน และปราบปรามอาชญากรรม

แตในบางครั้งตัวเครื่องคอมพิวเตอรเองก็อาจจะถูกนํามาใชเปนเคร่ืองมือกระทําความผิดเสียเอง เชน อาจจะใชถายถอน

โอนเงินจากการกระทําความผิด, ใชโกงเงินผานการซ้ือขายในระบบอิเล็กทรอนิกส หรือการใชบัตรเครดิต ตลอดไป

file : detect.doc page : 5

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

จนกระทั่งถึงใชคอมพิวเตอรเปนชองทางในการแบล็คเมลลผูอ่ืน (เหมือนอาวุธปนนั่นแหละถาอยูในมือโจรก็ถูกนําไปปลน

แตพออยูในมือตํารวจก็กลายเปนเครื่องมือพิทักษสันติราษฎรแทน)

ย่ิงเทคโนโลยีคอมพิวเตอรมีการพัฒนาไปมากเพียงไร ย่ิงมีการใชงานแพรหลายออกไปมากเพียงใด

รูปแบบการประยุกตเอาคอมพิวเตอรไปใชในทางผิดๆ ก็ย่ิงไดรับการพลิกแพลงใหสลับซับซอนย่ิงขึ้นไปเปนเงาตามตัว

สงผลใหจําเปนตองมีการกอต้ังสาขาวิชาขึ้นมาเพ่ือศึกษาเฉพาะเรื่องอาชญากรรมที่เกี่ยวของกับคอมพิวเตอรเปนการ

เฉพาะ เรียกวา สาขาวิชา "Forensic Computers" ซึ่งผูเขียนอยากขอถือโอกาสเรียกเปนชื่อวิชาแบบไทยๆ วา "นิติ

คอมพิวเตอร" เสียเลย เพราะไหนๆ เราก็มีสาขาวิชาอยาง นิติเวช และ นิติจิตเวช ที่เปนการประยุกตเอาความรูดาน

การแพทย และดานจิตวิทยามาใชในเชิงกฏหมายกันมากอน

หนาน้ีแลว

ภายใตสาขาวิชานิติคอมพิวเตอรที่วาน้ี

นักศึกษาจะตองไดรับการอบรมสั่งสอนทั้งในดานนิติศาสตร

ความรูในการปองกันอาชญากรรม พรอมๆ ไปกับความรูใน

เรื่องคอมพิวเตอร โดยเฉพาะเร่ืองราววิธีการที่เคร่ือง

คอมพิวเตอรธรรมดาๆ จะถูกนําไปใชในกระบวนการทุจริต

เพ่ือที่พวกเขาจะสามารถตามแกะรอยหลักฐานตางๆ ที่

พอจะมีหลงเหลืออยูกลับไปหาผูกระทําความผิดได ตรงนี้

หลายคนมีความเชื่อผิดๆ วา การใชคอมพิวเตอรกระทํา

ความผิด จะทําใหปลอดจากหลักฐานเปนชิ้นเปนอันใหตาม

สืบได เพราะแคลบไฟลทิ้งก็เทากับเปนการทําลายหลักฐาน

ลงไปหมดแลว

แตในความเปนจริง การทุจริตโดยใช

คอมพิวเตอรมักจะมีการทิ้งรองรอยไวอยางเร่ียราดไปหมด อยางการลบไฟฟลทิ้งไปน้ัน ก็มิไดหมายความวาขอมูลจะถุก

ทําใหสูญหายไปในทันที นักคอมพิวเตอรที่เช่ียวๆ ยังคงสามารถใชโปรแกรมยูทิลิตี้อยางพวกนอรตันยูทิลิต้ีเรียกเอาขอมูล

ที่ถูกลบไปแลวน้ันกลับมาดูไดอีก, หรือถามีทุจริตชนแอบเขามาใชเครื่องคอมพิวเตอรในบริษัทพิมพใบสงของหรือใบเสร็จ

ไปแอบอางเก็บเงินจากลูกคา คนพวกนี้ก็มักจะคิดวาการลบไฟลลทิ้งหลังจากสั่งพิมพฮารดกอปปจะชวยใหตามสืบไมได

ทั้งที่ในโปรแกรมประยุกตรุนใหมๆ มักจะมีการสรางไฟลลสําเนาไวเปนการช่ัวคราว (Tempory files) เสมอ และไฟลลก

ลุมน้ีก็จะไมถูกลบทิ้งไปดวยโดยคําสั่งลบไฟลลธรรมดาๆ

กลาวโดยสรุปแลว การกระทําความผิดดวยเครื่องคอมพิวเตอรน้ันสวนใหญมักจะเปนคดีงายๆ ที่สามารถ

ปองกัน หรือติดตามตรวจสอบไดไมยาก และปญหาการกออาชญากรรมดวยเครื่องคอมพิวเตอรที่ทวีจํานวนมากขึ้น

เรื่อยๆ ในขณะน้ี โดยมากก็ไมไดเปนผลมาจากการที่ทุจริตชนมีความรูความชํานาญมากข้ึน แตสวนใหญมักจะเปนผลมา

จากความประมาทเลินเลอ หรือการดอยความรูของผูบริหารซึ่งรับผิดชอบดูแลระบบสารสนเทศขององคกรเองเปนหลัก

85 % เปนเรื่องของคนใน

file : detect.doc page : 6

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

ตัวอยางของการทุจริตดวยคอมพิวเตอรที่จัดเปนงานคลาสสิกและไดรับความนิยมมาเน่ินนานแลวก็คือ

เทคนิคที่มีช่ือเรียกวา "การเฉือนซาลามี่ (Salami slice)" ซึ่งผูมีหนาที่เกี่ยวของกับการโอนถายตัวเลขในบัญชีเปนจํานวน

มากๆ อาจจะแอบตอดเศษเงินเล็กๆ นอยๆ จากบัญชีของทุกๆ คนแลวโอนไปใสในบัญชีของตนเอง เพราะผูคนทั่วไป

มักจะไมคอยสนใจเศษเงินเล็กๆ นอยๆ เหลาน้ีอยูแลว ซ่ึงถาไดเศษเงินจากหลายๆ บัญชีมารวมๆ กันเขาก็ยอมจะ

กลายเปนตัวเงินกอนใหญในบัญชีของผูทุจริตไดไมยาก

เทคนิคการทุจริตประเภทถัดมา คือ การสรางบัญชี หรือตัวบุคคลหลอกๆ (Bogus identities) ขึ้นมา

เชนอาจจะเปดเปนบัญชีลูกคาใหม หรือเปดบัญชีเอเยนตที่ไมมีตัวตนอยูจริง จากน้ันก็ใชบัญชีหลอกที่เปดข้ึนมาน้ีเปนที่

ซ้ือ/ขายแลกเปลี่ยน ตลอดจนกระทั่งแอบโอนเงินออกจากแผนกการเงินของบริษัทไปใสไวในบัญชีกํามะลอดังกลาว

(พวกนี้มักจะไดตัวเงินไมมากนัก เพราะตองแอบทํากันแคไมกี่คน ไมเหมือนการสมคบกันระหวางอดีตผูบริหารระดับสูง

ธนาคารกรุงเทพพาณิชยการ กลุมโจรราเกซ สักเสนา และแกงคโจรการเมือง ใชเทคนิคเปดบริษัทหลอก และกวานซื้อ

ที่ไมมีโฉนดมาดูดเงินออกไปจากธนาคารฯไดเปนหมื่นลาน)

จากที่ยกตัวอยางมา จะเห็นไดวากระบวนการ

ทุจริตโดยใชเครือขายคอมพิวเตอรสวนใหญมักจะเปนเรื่องที่ถูก

กระทําขึ้นดวยคนในกันเอง มีการทุจริตประเภทที่เกิดจากการแอบ

เจาะรหัสเขามาโดยคนนอกนอยมากไมถึง 15 % พูดงายๆ คือ

"สาเหตุหลักของอาชญากรรมคอมพิวเตอร ยังคงเปนผลมาจาก

ความออนศีลธรรมในตัวเจาหนาที่เองมากกวาที่จะเปนมาจากขีด

ความสามารถในเชิงเทคโนโลยีของทุจริตชน" ดังน้ัน หากเรา

ปรับปรุงมาตรการรักษาความปลอดภัยในเครือขายคอมพิวเตอรใหมีความรัดกุมมากข้ึน ก็นาจะชวยลดปญหาการทุจริต

ลงไปไดบางไมมากก็นอย

นอกจากน้ัน ผูบริหารที่ดูแลระบบอาจจะตองผานการอบรมดานจิตวิทยาและการสังเกตุพฤติกรรมมนุษย

เพ่ิมเติมมาบางเล็กนอยดวย เพราะพนักงานที่กอการทุจริตนั้นมักจะสอแววออกอาการกอนดําเนินการเสมอ เชน

อาจจะชอบอยูเย็นกวาชาวบานทั้งๆ ที่ไมมีงานสลักสําคัญอะไรใหทํา หรือบางครั้งจะแสดงพฤติกรรมหลบๆ ซอนๆ ไม

คอยยอมใหใครเห็นวาตนเองกําลังทํางานอะไรอยู หรือบางทีอาจจะหวงงานที่ทําอยูมากเปนพิเศษไมคอยยอมจายงาน

ใหกับเพ่ือน เวลาจะลาพักรอนไปไหนก็ไมคอยยอมใหใครมาใชเคร่ืองคอมพิวเตอรของตน หรือที่หนักมากๆ ก็อาจจะไม

ยอมลาหยุดลาพักรอนไปจากเครื่องคอมพิวเตอรเลย

อยางไรก็ตาม การทุจริตในสํานักงานคอมพิวเตอรนั้นอาจจะเกิดข้ึนจากผูคนกลุมอ่ืนๆ อีกไดเหมือนกัน

นอกเหนือไปจากบรรดาพนักงานที่น่ังประจําโตะ ยกตัวอยางเชนพวกนักคนขยะ (Dumpster diver) ที่มีความพยายามสูง

มาก เที่ยวตระเวณไลคนหาเศษกระดาษที่ถูกทิ้งอยูตามถังขยะสํานักงาน เพ่ือสํารวจดูวามีขอมูล ประเภทรหัสผาน ขอมูล

สวนบุคคล หรือหมายเลขบัญชีอะไรพอจะนํามาใชประโยชนไดบางหรือไม ? หรืออาจจะมีพวกสายตาสอดแนม

(Shoulder surfer) ที่คอยแตลอบดูวาใครเขาปอนรหัสอะไรผานคียบอรดบาง ตัวอยางการทุจริตแบบสอดแนมที่เห็นได

ชัดที่สุด ไดแกกรณีที่มีคนเอากานไมจ้ิมฟนไปสอดติดไวในชองสอดบัตรของเครื่องเอทีเอ็มยานปลอดคน พอมีใครมากด

เงินก็จะแกลงไปตอคิวเพ่ือลอบสังเกตุดูรหัส จากน้ันเมื่อเครื่องขัดของไมยอมใหดึงบัตรคืน ทุจริตชนผูน้ันก็จะใชจังหวะที่

เจาของบัตรไปโทรศัพทหาธนาคาร แอบลอบกดเงินในบัญชีแทนอะไรทํานองนี้

file : detect.doc page : 7

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

"นักสืบคอมพิวเตอร" วิชาชีพใหมแหงทศวรรษท่ี 21

จากจํานวนคดีความผิดซึ่งมีคอมพิวเตอรเก่ียวของซึ่งทวีปริมาณมากข้ึนทุกวันๆ ทําใหมีบริษัท

คอมพิวเตอรหัวใสหลายรายเห็นชองทางดําเนินธุรกิจประเภทใหมลาสุดขึ้นมา นั่นคือ ธุรกิจนักสืบ และใหคําปรึกษา

เก่ียวกับกรณีทุจริตดวยเครื่องคอมพิวเตอร (Computer Fraud) ยกตัวอยางเชนบริษัท Computer Forensic

Investigations ของทิม อัลเลน ซ่ึงประสบความสําเร็จเปนอยางดีหลังจากถูกกอตั้งข้ึนมาไดเพียงไมนาน ทิมเลาใหฟง

คราวๆ วา เวลาที่มีลูกคาติดตอมาใหชวยตรวจสอบการทุจริตของนักคอมพิวเตอรภายในสํานักงาน เขาก็จะสงนักสืบไป

ตรวจสอบเคร่ืองคอมพิวเตอรของผูตองสงสัยในชวงนอกเวลาทํางาน

ขั้นตอนมาตรฐานอยางแรกที่มักจะทํากันก็คือ

กอปปขอมูลทั้งหมดจากฮารดดิสกของเครื่องคอมพิวเตอรตอง

สงสัยไปใสไวในเคร่ืองคอมพิวเตอรอีกเครื่องหน่ึงเพื่อทําการ

วิเคราะหหารองรอยการกระทําความผิดตอไป ซ่ึงการกอปป

ไฟลลจากฮารดดิสกตองสงสัยนี้มองดูเผินๆ อาจจะดูเหมือนงาย

แตความจริงแลวไมงายเลย เพราะตัวทิม อัลเลน ตั้งเงื่อนไขวา

การกอปปไฟลลน้ันจะตองไมกอใหเกิดการเปลี่ยนแปลงใดๆ ขึ้นกับเครื่องคอมพิวเตอรตองสงสัยเลย เพราะมันอาจจะทํา

ใหผูตองสงสัยไหวตัวทัน อีกทั้งยังอาจจุกลายเปนประเด็นในแงกฏหมายติดตามมาไดวาเปนความพยายามใสความกันหรือ

เปลา ?

ทีนี้ ตามปรกติแลวในยามที่เรากอปปไฟลล เครื่องคอมพิวเตอรก็จะจัดการสรางไฟลลใหมข้ึนมาเพ่ือเก็บ

บันทึกการเปลี่ยนแปลงดังกลาวไวบนฮารดดิสกอยางอัตโนมัติ ดังน้ัน บริษัท Computer Forensic Investigations จึง

ตองพัฒนาซอฟทแวร Dibs สําหรับการกอปปไฟลลโดยไมทิ้งรองรอยขึ้นมาเปนการเฉพาะ โดยไอเจาซอฟทแวร Dibs

ที่วานี้ ไมเพียงแตจะมีความสามารถในการกอปปไฟลลจากฮารดดิสกตองสงสัยไปเก็บไวในดิสก Optical cartridge

เทาน้ัน มันยังเที่ยวสํารวจลึกลงไปวามีไฟลลอะไรถูกเก็บซอนไว (hidden files) บาง มีการใสรหัสผาน (password)

ปองกันไวเปนพิเศษ หรือมีการใสรหัสลับ (encryption) ใหกับตัวขอมูลหรือไม ?

หลังจากกอปปขอมูลออกมาจากฮารดดิสกตองสงสัยไดแลว ก็มาถึงขั้นตอนวิเคราะหที่ย่ิงยุงยากหนัก

เขาไปอีก เพราะโดยที่รูๆ กันวา สมัยน้ีฮารดดิสกแตละตัวลวนมีขีดความจุใหญโตมโหฬารดวยกันทั้งนั้น อยางการ

วิเคราะหฮารดดิสกขนาด 500 เมกกะไบทนั้น หากเราตองพิมพเอกสารในไฟลลออกมาดูทุกๆ แผน หองประชุมขนาด

ยอมๆ ก็อาจจะตองลนทะลักไปดวยแผนกระดาษฮารดกอปปเหลาน้ันเปนแน ดังน้ัน จึงตองมีการพัฒนาซอฟทแวร

ข้ึนมาสํารวจวิเคราะหขอมูลอิเล็กทรอนิกสขึ้นมาเปนการเฉพาะ และโปรแกรมวิเคราะหที่มีช่ือเสียงยอมรับไปทั่วโลก

ขณะน้ีก็คือ โปรแกรม Analyst's Notebook ของบริษัท i2 (ประสิทธิภาพของโปรแกรม Analyst's Notebook น้ัน

เปนเร่ืองเช่ือถือไดอยางแทจริง เพราะมันไดถูกนําไปใชในกระบวนการยุติธรรมชั้นนําทั่วโลก ไลไปตั้งแตกรมตํารวจอังกฤษ

, หนวยงานสากล Interpol, Europol, เอฟบีไอ, ตลอดไปจนถึงหนวยงานปราบปรามยาเสพติดชื่อดังของสหรัฐฯ อยาง

DEA ก็ยังมีการติดต้ังระบบฐานขอมูล Analyst's Notebook ไวใช)

สําหรับวิธีการทํางานของโปรแกรม Analyst's Notebook น้ัน เริ่มดวยการจําแนกแยกยอยขอมูลที่มี

อยูทั้งหมดออกเปนประเภทตางๆ จากนั้นก็โยงใยขอมูลตางๆ เหลาน้ันเขามาไวดวยกันตามสภาพความสัมพันธของตัว

file : detect.doc page : 8

George Cole "Techie Detective" Personal Computer World, August 1998 สุรพล ศรีบุญทรง

ขอมูลเอง ไมจํากัดวาไฟลลขอมูลดังกลาวจะเปนตารางบัญชี ภาพถาย หรือเปนเอกสาร ฯลฯ ผูใชโปรแกรม Analyst's

Notebook สามารถสั่งใหระบบทําการวิเคราะหไดหลายๆ รูปแบบ เชน อาจจะโยงใยความสัมพันธระหวางรายชื่อ

บุคคล ลําดับช้ันสายงานบังคับบัญชา หรือติดตามการโอนเงินผานบัญชี ฯลฯ โดยผานระบบการทํางาน Link Analysis

หรือถาอยากจะวิเคราะหรูปแบบการใชแบบเน็ตเวิรกของผูตองสงสัย ก็อาจจะเลือกไปที่สวนการทํางาน Network

analysis ซ่ึงจะบอกใหผูตรวจสอบทราบไดอยางอัตโนมัติวาเครื่องคอมพิวเตอรตองสงสัยน้ันมีการโอนถายขอมูลไปที่ไหน

อยางไร ตลอดจนมีการแจงใหทราบเสร็จสรรพวามีการติดตอผูคนนอกสํานักงานผานเครือขายอินเทอรเน็ตก่ีคร้ังก่ีคราว

นอกเหนือจากบรรดาโปรแกรมตอตานอาชญากรรมที่ไดยกตัวอยางมาแลวน้ัน ก็ยังมีโปรแกรมอีกเปน

จํานวนมากซ่ึงกําลังอยูระหวางขั้นตอนการวิจัย และพัฒนา ยกตัวอยางเชน บริษัท Neural Technolo gies นั้นไปไกล

ถึงขนาดออกแบบซอฟทแวรข้ึนมาวิเคราะหพฤติกรรมของบรรดาพนักงานผูใชเครื่องคอมพิวเตอรเปนการเฉพาะเลย

ทีเดียว โดยทางบริษัทชี้แจงวาโปรแกรมดังกลาวจะมีประโยชนมากตองานอาชีพที่ใหความสําคัญกับตัวเลขในบัญชีมากๆ

อยางงานธนาคาร เพราะโปรแกรมจะเก็บบันทึกรูปแบบการใชงานคอมพิวเตอรในแตละวันไวเปนสถิติ มีการหาคา

มาตรฐานเฉลี่ยของวิธีการทํางานไว หากวันใดเจาของเครื่องมีการใชงานคอมพิวเตอรผิดแผกไปจากมาตรฐานเฉลี่ยมากๆ

ระบบ Neural software ก็จะแจงสัญญาณเตือนไปที่ศูนยควบคุมวาใหจับตามองพนักงานคนดังกลาวไวเปนการพิเศษ

อยางไรก็ตาม สําหรับตัวผูเขียนเองแลว ยังคงเช่ือม่ันในทรัพยากรมนุษยและ

จิตใจใฝดีของมนุษยมากกวาโปรแกรมทั้งหลายทั้งปวงที่ถูกคิดคนข้ึนมา และถาหากถึงขนาด

ตองคอยคิดหาซอฟทแวรมาจองจับผิดกันเหมือนอยางระบบ Neural Technologies แลว

ผูเขียนก็สมัครใจจะละทิ้งเทคโนโลยีมาใชรูปแบบการคาพ้ืนฐานงายๆ แบบด้ังเดิมดีกวา เพราะดู

เหมือนวาขอแลกเปลี่ยนในการไดรับความปลอดภัยของขอมูลนั้นชางยิ่งใหญเหลือเกิน มันเหมือนกับวาเราตองขายจิต

วิญญาณของเราออกไปเพ่ือแลกกับความสบายและความม่ังค่ังทางวัตถุอยางไรอยางน้ัน