หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ...

80
หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | คํานํา การวัดและประเมินผลในชั้นเรียนดวยแบบทดสอบแบบเขียนตอบตามแนวทางการทดสอบระดับ นานาชาติ นอกจากจะเปนการประเมินความรูความสามารถของผูเรียนตามกรอบมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 แลว ยังเปนการประเมินความสามารถในการเขียนสื่อความของ ผูเรียนอีกดวย ซึ่งในปจจุบันผูเรียนไมคอยมีความสามารถในเขียนสื่อความมากนัก ซึ่งดูจากผลการทดสอบในระดับ นานาชาติ (PISA) ของเด็กไทย ซึ่งครูผูสอนจะตองปลูกฝงความสามารถในการเขียนสื่อความโดยผานทางการวัดและ ประเมินผลในชั้นเรียน นอกจากนี้เปนการประเมินความรูความสามารถตามหลักสูตรแลว ยังเปนการเตรียมความพรอม ใหแกผูเรียนในการทดสอบในระดับนานาชาติอีกดวย ดังนั้น เอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศก ในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติที่สํานักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐานพัฒนาขึ้นนี้ จึงมีวัตถุประสงคเพื่อพัฒนาความรูความเขาใจเกี่ยวกับการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิแบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ ตั้งแตความรูความเขาใจเกี่ยวกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร หลักการออกแบบและวางแผนการวัดและประเมินผล หลักในการสรางขอสอบแบบเขียนตอบ หลักในการตรวจสอบ คุณภาพเครื่องมือในการวัดและประเมินผล รวมทั้งมีพัฒนาทักษะกระบวนการในการพัฒนาเครื่องมือในการวัดและ ประเมินผล ซึ่งไดแก การฝกปฏิบัติในการเขียนขอสอบ การเขียนเกณฑประเมินคุณภาพ(Rubric) การวิพากษขอสอบ จากผูเชี่ยวชาญที่มีความรูความสามารถในการเขียนขอสอบเปนอยางดี และการฝกวิเคราะหหาคาคุณภาพของขอสอบ รายขอ เปนตน สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพ ครูผูสอนและศึกษานิเทศกในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาตินี้ จะ เปนประโยชนในการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศกของหนวยงานตางๆไดเปนอยางดี สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน เมษายน 2557

description

คู่มือการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบสอดคล้องกับการวัดและประเมินผลในระดับชั้นเรียนตามกรอบมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

Transcript of หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ...

Page 1: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | ก

คํานํา

การวัดและประเมินผลในชั้นเรียนดวยแบบทดสอบแบบเขียนตอบตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ นอกจากจะเปนการประเมินความรูความสามารถของผูเรียนตามกรอบมาตรฐานและตัวชี้วัดของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 แลว ยังเปนการประเมินความสามารถในการเขียนสื่อความของผูเรียนอีกดวย ซ่ึงในปจจุบันผูเรียนไมคอยมีความสามารถในเขียนสื่อความมากนัก ซ่ึงดูจากผลการทดสอบในระดับนานาชาติ (PISA) ของเด็กไทย ซ่ึงครูผูสอนจะตองปลูกฝงความสามารถในการเขียนสื่อความโดยผานทางการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน นอกจากนี้เปนการประเมินความรูความสามารถตามหลักสูตรแลว ยังเปนการเตรียมความพรอมใหแกผูเรียนในการทดสอบในระดับนานาชาติอีกดวย ดังนั้น เอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศกในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติท่ีสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพัฒนาข้ึนนี้ จึงมีวัตถุประสงคเพ่ือพัฒนาความรูความเขาใจเก่ียวกับการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ ตั้งแตความรูความเขาใจเก่ียวกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตร หลักการออกแบบและวางแผนการวัดและประเมินผล หลักในการสรางขอสอบแบบเขียนตอบ หลักในการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือในการวัดและประเมินผล รวมท้ังมีพัฒนาทักษะกระบวนการในการพัฒนาเครื่องมือในการวัดและประเมินผล ซ่ึงไดแก การฝกปฏิบัติในการเขียนขอสอบ การเขียนเกณฑประเมินคุณภาพ(Rubric) การวิพากษขอสอบจากผูเชี่ยวชาญท่ีมีความรูความสามารถในการเขียนขอสอบเปนอยางดี และการฝกวิเคราะหหาคาคุณภาพของขอสอบรายขอ เปนตน

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน หวังเปนอยางยิ่งวาเอกสารคูมือการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศกในการสรางขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์แบบเขียนตอบตามแนวการทดสอบระดับนานาชาตินี้ จะเปนประโยชนในการพัฒนาศักยภาพครูผูสอนและศึกษานิเทศกของหนวยงานตางๆไดเปนอยางดี

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เมษายน 2557

Page 2: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ข | หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

สารบัญ รายการ หนา

คํานํา .................................................................................................................................................................. ก

สารบัญ ............................................................................................................................................................... ข

หนวยท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ...................................................................................................................................... 1

สาระสําคัญ ............................................................................................................................................................ 2

วัตถุประสงค .......................................................................................................................................................... 2

เวลา ...................................................................................................................................................................... 2

บทบาทของผูเขาอบรม .......................................................................................................................................... 2

กิจกรรม................................................................................................................................................................. 2

สื่อ ......................................................................................................................................................................... 2

วิธีการประเมิน ....................................................................................................................................................... 3

ใบความรูท่ี 1.1 ...................................................................................................................................................... 4

ใบงานท่ี 1.1 การตรวจสอบมโนทัศนเก่ียวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ............................... 7

ใบงานท่ี 1.2 กิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก) .............................................................................. 8

หนวยท่ี 2 แนวคิดทฤษฎีท่ีเกี่ยวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ............................... 9

สาระสําคัญ .......................................................................................................................................................... 10

วัตถุประสงค ........................................................................................................................................................ 10

เวลา .................................................................................................................................................................... 10

บทบาทผูเขาอบรม .............................................................................................................................................. 10

กิจกรรม............................................................................................................................................................... 10

สื่อ ....................................................................................................................................................................... 11

วิธีการประเมิน ..................................................................................................................................................... 11

ใบความรูท่ี 2.1 .................................................................................................................................................... 12

ใบงานท่ี 2.1 “ฉันอยูข้ันไหน”.............................................................................................................................. 16

ใบความรูท่ี 2.2 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ....................................................... 17

ใบงานท่ี 2.2 รูปแบบและลักษณะของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ................................................................................................................................................. 24

หนวยท่ี 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวช้ีวัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) .................................................................................................................. 25

สาระสําคัญ .......................................................................................................................................................... 26

วัตถุประสงค ........................................................................................................................................................ 26

เวลา .................................................................................................................................................................... 26

บทบาทผูเขาอบรม .............................................................................................................................................. 26

กิจกรรม............................................................................................................................................................... 26

Page 3: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | ค

สารบัญ รายการ หนา หนวยท่ี 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวช้ีวัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) (ตอ)

สื่อ ....................................................................................................................................................................... 27

การประเมินผล .................................................................................................................................................... 27

ใบความรูท่ี 3.1 .................................................................................................................................................... 28

ใบงานท่ี 3.1 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ................................................................................. 34

หนวยท่ี 4 การสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย .................................................................. 35

สาระสําคัญ .......................................................................................................................................................... 36

วัตถุประสงค ........................................................................................................................................................ 36

เวลา .................................................................................................................................................................... 36

บทบาทของผูเขารับการอบรม ............................................................................................................................. 36

กิจกรรม............................................................................................................................................................... 36

สื่อ ....................................................................................................................................................................... 37

วิธีการประเมิน ..................................................................................................................................................... 37

ใบความรูท่ี 4.1 .................................................................................................................................................... 38

ใบงานท่ี 4.1 การเขียนขอสอบอัตนัย ................................................................................................................... 43

ใบงานท่ี 4.2 วิพากษขอสอบอัตนัย ...................................................................................................................... 44

หนวยท่ี 5 การเขียนเกณฑการใหคะแนน .......................................................................................................... 45

สาระสําคัญ .......................................................................................................................................................... 46

วัตถุประสงค ........................................................................................................................................................ 46

เวลา .................................................................................................................................................................... 46

บทบาทของผูเขารับการอบรม ............................................................................................................................. 46

กิจกรรม............................................................................................................................................................... 46

สื่อ ....................................................................................................................................................................... 46

วิธีการประเมิน ..................................................................................................................................................... 47

ใบความรูท่ี 5 ....................................................................................................................................................... 48

ใบงานท่ี 5.1 ตรวจสอบความรู เรื่องเกณฑการใหคะแนน (Rubric) ..................................................................... 56

ใบงานท่ี 5.2 การวิพากษเครื่องมือ ....................................................................................................................... 57

หนวยท่ี 6 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ...................................... 58

สาระสําคัญ .......................................................................................................................................................... 59

วัตถุประสงค ........................................................................................................................................................ 59

เวลา .................................................................................................................................................................... 59

บทบาทของผูเขารับการอบรม ............................................................................................................................. 59

สื่อ ....................................................................................................................................................................... 59

วิธีการประเมิน ..................................................................................................................................................... 59

Page 4: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ง | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

สารบัญ รายการ หนา หนวยท่ี 6 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (ตอ)

ใบความรูท่ี 6 ....................................................................................................................................................... 60

ใบงานท่ี 6.1 การวิเคราะหหาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวชี้วัด ...................................................... 67

กิจกรรมท่ี 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และอํานาจจําแนก ................................................................... 69

ใบงานท่ี 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และคาอํานาจจําแนก .................................................................. 70

บรรณานุกรม .................................................................................................................................................... 72

คณะทํางาน ....................................................................................................................................................... 73

Page 5: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

1 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ

ระดับนานาชาติ (PISA)

กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ

การอบรม เวลา ส่ือ/ประกอบ

ตรวจสอบมโนทัศน ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมท่ี 1.1 - ใบงานท่ี 1.1

ปฏิบัติกิจกรรม สรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก)

ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมท่ี 1.2 - ใบงานท่ี 1.2

ฟงการบรรยาย ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

บรรยาย 30 นาที - ppt - ใบความรูท่ี 1.1

Page 6: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

2 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 1 ความหมายและความสําคัญของเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบ

ระดับนานาชาติ (PISA)

สาระสําคัญ แบบทดสอบแบบอัตนัย เปนแบบทดสอบท่ีผูสอบจะตองเรียบเรียงแนวความคิดและความรูท่ีไดเรียนมา

ตลอดจนเรียบเรียงภาษาและผูกเปนรูปประโยคใหเปนขอความท่ีชัดเจน แลวเขียนเปนคําตอบใหเหมาะสมกับความตองการของคําถาม ขอคําถามของแบบทดสอบแบบอัตนัยโดยท่ัวไปจะไมจํากัดเสรีภาพของผูตอบในการเรียบเรียงความรู ความคิด และขอเท็จจริงตาง ๆ อันเปนขอมูลของคําตอบ ซ่ึงลักษณะของแบบทดสอบแบบอัตนัยหรือเขียนตอบเปนแบบทดสอบท่ีมีเฉพาะคําถาม ผูสอบจะตองหาคําตอบเอง โดยการเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษ วิจารณเรื่องราวพฤติกรรมตาง ๆ จากความรูและประสบการณท่ีไดรับ ลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะเปนโจทยหรือคําถามท่ีกําหนดสถานการณหรือปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง

แบบทดสอบแบบอัตนัยสามารถประเมินความเขาใจและความคิดในเนื้อหานั้น ๆ รวมท้ังประเมินความสามารถในการเขียนของผูเรียน ดังนั้น การสรางแบบทดสอบแบบอัตนัยท่ีมีคุณภาพจะชวยวัดความสามารถของผูเรียนในดานการจัดระเบียบความคิดและการสังเคราะหความรูตาง ๆ ไดเปนอยางดี

วัตถุประสงค เพ่ือใหผูเขารับการอบรมเขาใจความหมายและตระหนักถึงความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)

เวลา ใชเวลา 60 นาที

บทบาทของผูเขาอบรม 1. ตรวจสอบมโนทัศน 2. ปฏิบัติกิจกรรม 3. ฟงการบรรยาย

กิจกรรม 1. ผูเขาอบรมตรวจสอบมโนทัศนและประเมินความรูเดิมเก่ียวกับความหมายและความสําคัญของ

เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (กิจกรรมท่ี 1) 2. ผูเขาอบรมปฏิบัติกิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก: กิจกรรมท่ี 2) 3. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ความหมายและความสําคัญของ

เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Power point, ใบความรูท่ี 1) 4. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็นและสรุปองคความรูเก่ียวกับความหมายและความสําคัญของ

เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

สื่อ 1. ใบกิจกรรม (1.1, 1.2) 2. แบบตรวจสอบมโนทัศน (กิจกรรมท่ี 1.1) 3. แบบฝกปฏิบัติกิจกรรมสรางความตระหนัก (กิจกรรมท่ี 1.2)

Page 7: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 3

4. เอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (ใบความรูท่ี 1)

5. Power Point เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

วิธีการประเมิน

รายการประเมิน เครื่องมือ ระดับคุณภาพ

พอใช ดี ดีมาก 1. การตรวจสอบมโนทัศน

เก่ียวกับความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (10 คะแนน)

แบบบันทึกกิจกรรมท่ี 1

1-3 คะแนน 4-7 คะแนน 8-10 คะแนน

2. การสรางความตระหนัก แบบบันทึกกิจกรรมท่ี 2

เขียนแสดงความคิดเห็นได

เขียนแสดงความคิดเห็นไดอยางสมเหตุสมผล ชัดเจน

เขียนแสดงความคิดเห็นไดอยางสมเหตุสมผล ชัดเจน มีขอมูลสนับสนุน

เกณฑการตัดสิน 1. ผลการประเมินเทากัน 2 รายการ ใหสรุปตามผลการประเมิน 2. ผลการประเมินไมเทากัน ใหสรุปตามผลการประเมินท่ีดีกวา

Page 8: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

4 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบความรูท่ี 1.1 ความหมายและความสําคัญของเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนแบบอัตนัย

ความหมายของแบบทดสอบแบบอัตนัย แบบทดสอบแบบอัตนัย หมายถึง แบบทดสอบแบบเขียนตอบท่ีผูสอบจะตองเรียบเรียงความคิดและ

ความรูใหสอดคลองกับคําถาม แลวเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษ วิจารณเรื่องราว พฤติกรรมตาง ๆ ตามความรูและประสบการณท่ีมีลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะเปนโจทยหรือคําถามท่ีกําหนดสถานการณหรือปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง โดยท่ัวไปจะไมจํากัดเสรีภาพของผูตอบในการเรียบเรียงความรู ความคิด และขอเท็จจริงตาง ๆ อันเปนขอมูลของคําตอบ

จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบแบบอัตนัย มีดังนี้ 1. ตองการใหผูเขาสอบแสดงความสามารถดานความคิดสรางสรรค (Creativity) และบรรยายความคิด

ออกมาไดอยางเปนอิสระและตองคํานึงถึงความสามารถทักษะการเขียนของนักเรียนดวย 2. ตองการเนนความรูข้ันลึกซ้ึง เชน ความสามารถในการสังเคราะหหรือตองการวัดความเขาใจใน

เนื้อหาท่ีเรียนมาท้ังหมด

ประเภทของแบบทดสอบอัตนัย แบบทดสอบอัตนัย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. แบบทดสอบแบบไมจํากัดความยาว (Unrestricted Response) เปนแบบทดสอบท่ีไมจํากัดคําตอบ

แตผูสอบจะตองจํากัดคําตอบใหเหมาะสมกับคําถามและเวลาโดยจะตองเรียบเรียงความรู ความคิดและจัดลําดับความสําคัญ แลวเรียบเรียงออกมาเปนคําตอบตามความคิดและเหตุผลของตน โดยใหมีความยาวท่ีเหมาะสมกับหลักและเหตุผลท่ีคําถามตองการ ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ สามารถใชวัดความสามารถระดับการวิเคราะห การสังเคราะหและการประเมินผลไดเปนอยางดี จึงมักใชกับผูเรียนในระดับชั้นสูง ลักษณะคําถามมักมีคําวา “จงอธิบาย อภิปราย เปรียบเทียบ วิเคราะห สรุปประเด็นสําคัญ แสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ประเมินผล แนวทางแกปญหา” เปนตน แตมักมีปญหาในการควบคุมทิศทางการตอบและการตรวจใหคะแนน

2. แบบทดสอบแบบจํากัดคําตอบหรือตอบแบบสั้น (Restricted Response or Shot Essay Item) เปนแบบทดสอบท่ีจํากัดกรอบของเนื้อหาหรือรูปแบบของแนวทางคําตอบ และกําหนดขอบเขตของประเด็นใหตอบในเนื้อหาท่ีแคบลงและสั้นกวาแบบทดสอบท่ีไมจํากัดความยาว ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ ใชวัดความรูความสามารถท่ีเฉพาะเจาะจงไดดีกวาแบบทดสอบแบบไมจํากัดความยาว ซ่ึงเหมาะท่ีจะวัดผลการเรียนท่ีสําคัญ โดยท่ีผูสอบจะตองเลือกความรูท่ีดีท่ีสุดสําหรับคําถามนั้น ๆ ลักษณะคําตอบมักอยูในรูป “จงอธิบายสั้น ๆ จงบอกประโยชน จงอธิบายสาเหตุหรือจงบอกข้ันตอน” แตแบบทดสอบนี้ไมไดเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความรู ความสามารถอยางเต็มท่ี

Page 9: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 5

ขอดีและขอจํากัดของแบบทดสอบแบบอัตนัย ขอดี ขอจํากัด

1. สามารถวัดพฤติกรรมตาง ๆ ไดทุกดานโดยเฉพาะกระบวนการคิดวิเคราะหและสังเคราะหจะวัดไดดี

2. ผูตอบมีโอกาสใชความรูแสดงความคิดเห็นและความสามารถในการใชภาษา

3. โอกาสในการเดาโดยไมมีความรูในเรื่องนั้น แลวไดคะแนน มีนอยมาก

4. สรางไดงายและประหยัดคาใชจาย

1. คําถามไมสามารถครอบคลุมเนื้ อหา ท่ี เ รียน เนื่องจากจํานวนขอมีจํากัด เปนการยากท่ีจะสุมเนื้อหาใหครอบคลุมความรู ท่ีตองการจะวัดไดครบถวน

2. การตรวจใหคะแนนไมคงท่ีแนนอน มักมีความคลาดเคลื่อนมาก และควบคุมใหเกิดความยุติธรรมไดยาก

3. ไมเหมาะท่ีจะใชกับผูสอบจํานวนมาก ๆ เพราะใชเวลาในการตรวจ

4. ลายมือของผูตอบและความสามารถในการเขียนบรรยายอาจจะมีผลตอคะแนน

5. มีความเชื่อม่ันต่ําและมักขาดความเท่ียงธรรม

Page 10: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

6 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

กิจกรรมท่ี 1.1 การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

ผูเขาอบรมแตละคนปฏิบัติกิจกรรมที่ 1.1 เรื่อง การตรวจสอบมโนทัศนเก่ียวกับเครื่องมือวัด

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย โดยบันทึกความคิดเห็นลงในใบงานที่ 1.1

Page 11: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 7

ใบงานท่ี 1.1 การตรวจสอบมโนทัศนเกี่ยวกับเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองท่ีตรงกับความคิดเห็นของทาน

ประเด็นคําถาม ความคิดเห็น ใช ไมใช

1. แบบทดสอบอัตนัยมีคุณสมบัติท่ีสําคัญ คือ ผูตอบตองเขียนบรรยายและมีสิทธิการตอบอยางเสรี

2. แบบทดสอบอัตนัยอาจจะมีคําตอบท่ีถูกตองหลายแนวทางมีความแตกตางท้ังดานคุณภาพ และความถูกตอง

3. ขอสอบแบบอัตนัยเนนเฉพาะแบบเติมคําใหสมบูรณและแบบตอบสั้น

4. แบบทดสอบแบบอัตนัยเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความคิดเห็นเหมาะสําหรับวัดความรูข้ันสูงกวาความจําและความเขาใจ

5. ขอสอบแบบอัตนัย แบงเปน 2 ประเภท คือแบบไมจํากัดคําตอบและแบบจํากัดคําตอบ 6. ขอสอบแบบอัตนัยเหมาะสําหรับวัดความรูระดับความจําและการประยุกตใช 7. ขอสอบอัตนัยแบบไมจํากัดคําตอบเนนใหนักเรียนอาศัยการสังเคราะหและการ

ประเมินผล

8. ขอสอบแบบจํากัดคําตอบสวนใหญมักจะไมกําหนดขอบเขตแบบฟอรมและเนื้อหาท่ีเฉพาะใหนักเรียนไดตอบ

9. จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบอัตนัยเนนคําตอบท่ีเปนการบรรยาย 10.จุดมุงหมายของการใชแบบทดสอบอัตนัยเนนความรูข้ันลึกซ้ึง เชน ความสามารถดาน

การสังเคราะหหรือตองการวัดความเขาใจในเนื้อหาท่ีเรียนมาท้ังหมด

Page 12: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

8 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบงานที่ 1.2 กิจกรรมสรางความตระหนัก (สะทอนความรูสึก)

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง 1. ผูเขาอบรมแบงกลุมปฏิบัติกิจกรรมท่ี 1.2 กลุมละ 3-5 คน 2. ผูเขาอบรมแตละคนเขียนแสดงความคิดเห็นของตนเองลงในใบงานท่ี 1.2 3. สมาชิกแตละกลุมชวยกันแสดงความคิดเห็น แลวสรุปบันทึกลงในใบงานท่ี 1.2 4. แตละกลุมนําเสนอผลการอภิปรายและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน

ทานมีความคิดเห็นตอคํากลาวนี้อยางไร จงใหเหตุผลประกอบ

“ขอสอบอัตนัยสามารถวัดความรูและ ความคิดระดับสูงไดดีจริงหรือ”

Page 13: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

9 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกบัการสรางเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนแบบอัตนัย

กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ

การอบรม เวลา ส่ือประกอบ

ฟงการบรรยาย - ทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised) - แนวคิดเก่ียวกับเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

บรรยาย 30 นาที - ppt - ใบความรูท่ี 2.1

ปฏิบัติกิจกรรมท่ี 2.1 ระดับพฤติกรรมตามทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised)

ปฏิบัติ 15 นาที - กิจกรรมท่ี 2.1 - ใบงานท่ี 2.1

ปฏิบัติกิจกรรมท่ี 2.2 รูปแบบและลักษณะของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)

ปฏิบัติ 20 นาที - กิจกรรมท่ี 2.2 - ใบงานท่ี 2.2

Page 14: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

10 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 2 แนวคิดทฤษฎีที่เกี่ยวกบัการสรางเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนแบบอัตนัย

สาระสําคัญ แนวคิดทฤษฎีท่ีเก่ียวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย ในการอบรมและ

พัฒนาครูผูสอนในครั้งนี้ คือ ทฤษฎีการเรียนรูของบลูม (Bloom’s Taxonomy Revised) ท่ีปรับแกใหมโดย Anderson and Krathwohl (2001) ท่ีไดแบงระดับความสามารถทางดานสมองของผูเรียนใหม ดังนี้ ระดับความจํา (remembering) ระดับความเข าใจ (Understanding) ระดับการนําไปใช (Applying) ระดับการวิ เคราะห (Analyzing) ระดับการประเมินคา (Evaluating) และระดับความคิดสรางสรรค (Creating) และรูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Essay) ท่ีกลาวถึงรายละเอียดรูปแบบและประเภทเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตาง ๆ ซ่ึงประกอบไปดวย แบบจํากัดคําตอบ (Restricted-answer essay) ซ่ึงแบงเปนแบบเติมคําใหสมบูรณ (Completion Item) กับแบบตอบสั้น (short-answer essay) และแบบไมจํากัดคําตอบ

(Extended-answer essay)

วัตถุประสงค 1. เ พ่ือใหผู เขาอบรมมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับแนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom’s

Taxonomy Revised) 2. เพ่ือใหผูเขาอบรมมีความรู ความเขาใจเก่ียวกับรูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ

อัตนัย (Essay) ตามแนวทางการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)

เวลา ใชเวลา 60 นาที

บทบาทผูเขาอบรม 1. ฟงการบรรยาย 2. ศึกษาเอกสาร 3. ปฏิบัติกิจกรรม

กิจกรรม 1. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม

(Bloom Taxonomy’s Revised) (Power point, ใบความรูท่ี 2.1, ใบความรูท่ี 2.2) 2. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูท่ี 2.1 และปฏิบัติกิจกรรม “ฉันอยูข้ันไหน” (กิจกรรมท่ี 2.1) 3. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูท่ี 2.2 และปฏิบัติกิจกรรม “ฉันคือใคร” (กิจกรรมท่ี 2.2) 4. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็นและสรุปองคความรูเก่ียวกับระดับพฤติกรรมของขอสอบ รูปแบบ

และลักษณะของขอสอบ

Page 15: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 11

สื่อ 1. กิจกรรม (2.1, 2.2) 2. ใบงาน (2.1, 2.2) 3. เอกสารประกอบการบรรยาย

ใบความรูท่ี 2.1 แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised) ใบความรูท่ี 2.2 รูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

4. Power Point เรื่อง ความหมายและความสําคัญของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย และรูปแบบของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

วิธีการประเมิน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

พอใช ดี ดีมาก ผลการปฏิบัติกิจกรรม มีผลงานตามเปาหมายท่ี

กําหนด ผลงานมีความเปนไปไดและเห็นแนวทางอยางเปนรูปธรรมสูการปฏิบัติ

ผลงานมีความเปนไปได มีความชัดเจน เนื้อหาสาระสมบูรณและเห็นแนวทางอยางเปนรูปธรรมสูการปฏิบัต ิ

Page 16: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

12 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบความรูท่ี 2.1 แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม (Bloom Taxonomy’s Revised)

แนวคิดทฤษฎีการเรียนรูของบลูม Bloom Taxonomy’s Revised ในป 1956, Benjamin Bloom นํากลุมนักจิตวิทยาการศึกษากลุมหนึ่งพัฒนาการจัดกลุมพฤติกรรมทาง

สมองท่ีสําคัญตอการเรียนรู ระหวาง ป 1990 มีนักจิตวิทยากลุมใหม นําโดย Anderson and Krathwohl (2001) ซ่ึงเปนลูกศิษยเกาของ Bloom ไดปรับปรุงกลุมพฤติกรรมข้ึนมาใหม และสะทอนผลงานในศตวรรษท่ี 21 เปนรูปภาพท่ีเปนตัวแทนของคํากริยาใหมท่ีมีความเก่ียวเนื่องกับ Bloom’s Taxonomy ท่ีเราคุนเคยมานาน บันทึกนี้เปลี่ยนจากนามเปนกริยาเพ่ืออธิบายระดับท่ีแตกตางกันของกลุมพฤติกรรรม ดังภาพประกอบ

ภาพประกอบ: พฤติกรรมทางสมองท่ีสําคัญตอการเรียนรูตามแนวคิด ทฤษฎี ความรูของบลูม ตามแนวคิดเดิม และท่ีปรับปรุงใหม

กระบวนการทางปญญา ดานพุทธิพิสัยของบลูม มีลําดับข้ัน 6 ข้ัน ซ่ึงสามารถอธิบายไดดังนี้ 1. จํา (Remembering) หมายถึง ความสามารถในการระลึกได แสดงรายการได บอกได ระบุชื่อได

การบอกชื่อ การบอกตําแหนง การใหสัญลักษณ ยกตัวอยาง บอกความสัมพันธ การจัดกลุม คัดเลือกได อธิบายใตรูปภาพ เรียงลําดับ จับคู บันทึกขอมูล

ตัวอยางของคําถามท่ีแสดงถึงพฤติกรรมระดับจํามีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม

รูจัก จําได พยัญชนะไทยแบงไดเปนก่ีหมู อะไรบาง จัดทํารายการ นักเรียนเขียนรายการอาหารท่ีมีประโยชนมา 3 ม้ือ/1 วัน อธิบาย นักเรียนอธิบายความหมายของสามเหลี่ยมดานเทา การระบุ นักเรียนระบุประเภทของใบเลี้ยงเดี่ยวและใบเลี้ยงคูมาท้ังหมด บอกความแตกตาง สัตวน้ําแตกตางกับสัตวบกอยางไรบาง

Page 17: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 13

2. เขาใจ (Understanding) หมายถึง ความสามารถในการแปลความหมาย ยกตัวอยาง สรุปอางอิง การเรียบเรียงใหม การจําแนกหมวดหมู สังเกต ทําเคาโครงเรื่อง ใหคําจํากัดความ แปลความหมาย ประมาณคา

ตัวอยางของคําถามท่ีแสดงถึงพฤติกรรมระดับเขาใจมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม

การสรุปความ จากขอความท่ีนักเรียนไดสรุปสาระสําคัญไดอยางไร การแปลความหมาย บทรอยกรองขางตนตรงกับสุภาษิตไทยคืออะไร การเปรียบเทียบ จงเปรียบเทียบสภาพภูมิอากาศของภาคเหนือกับภาคใต อธิบาย จงอธิบายสภาพทองถ่ินของนักเรียน บรรยาย จากภาพวงจรชีวิตของผีเสื้อใหนักเรียนบรรยายรายละเอียด

3. ประยุกตใช (Applying) หมายถึง ความสามารถในการนําไปใช ประยุกตใช แกไขปญหา ลงมือทํา แปลความหมาย ใชภาพประกอบ การคํานวณ เรียงลําดับ การแกปญหา ประยุกตใช คาดคะเน

ตัวอยางของคําถามท่ีแสดงถึงพฤติกรรมระดับประยุกตใชมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม

การนําไปปฏิบัติ นักเรียนสามารถใชความรูในการแกไขปญหาไดอยางไร การลงมือทํา ถาเราจะขึงลวดใหตึงเพ่ือทําราวตากผาจะตองทําอยางไร การใช จงยกอาหารท่ีมีคุณคาและราคาถูกในชีวิตประจําวันและอธิบายดวยวามีคุณคาตอรางกาย

อยางไร การจัดการ ถานักเรียนมีเงินรายรับเปนรายเดือน นักเรียนจัดระบบการใชจายเงินอยางไรถึงจะมีเงิน

ใชท้ังเดือน การแปลความหมาย “โคมสวรรคพราวพราย” โคมสวรรคหมายถึงสิ่งใด

4. วิเคราะห (Analyzing) หมายถึง ความสามารถในการเปรียบเทียบ อธิบายลักษณะ การจัดการทดลอง แยกกลุม คํานวณ วิพากษวิจารณ ลําดับเรื่อง ทําแผนผัง หาความสัมพันธ

ตัวอยางของคําถามท่ีแสดงถึงพฤติกรรมระดับ วิเคราะหมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม

การจัดระบบ เลขโดด 1-9 นํามาสรางจํานวนเต็ม 4 หลักแลวหารดวย 5 ลงตัวมีก่ีจํานวน การสืบเสาะ สืบสวน ขอใดบางกลาวถึงวิธีการโครงสรางภูมิคุมกันไขหวัดนก การใหเหตุผล การอางเหตุผล ลูกท่ีดีของพอแมควรมีพฤติกรรมอยางไรบางเพราะเหตุใด จําแนกความแตกตาง นักเรียนบอกความแตกตางระหวางกบกับกระตายมาตามเกณฑท่ีนักเรียนกําหนด การตีคา “วิชัยทําการบานสงครูทุกวัน” นักเรียนคิดวาวิชัยเปนคนอยางไรเพราะเหตุใด

Page 18: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

14 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

5. ประเมินคา (Evaluating) หมายถึง ความสามารถในการตรวจสอบ วิจารณ ตัดสิน ใหคะแนน ประมาณคา เปรียบเทียบผล ตีคา สรุป แนะนํา สืบคน ตัดสินใจ คัดเลือก วัด

ตัวอยางของคําถามท่ีแสดงถึงพฤติกรรมระดับประเมินคามีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม

การตรวจสอบ “รองเทากีฬาท่ีดีควรมีคุณสมบัติครบท้ัง 4 ประการ” คุณสมบัติเหลานั้นควรมีอะไรบาง ตั้งสมมติฐาน ถาทองฟามืดครึ้มแลวฝนจะตก นักเรียนคิดวาเปนเชนนั้นหรือไมเพราะเหตุใด วิพากษวิจารณ ทําไมในสินคาท่ีนักเรียนเลือกซ้ือตองมี”วันท่ีควรบริโภค”กํากับมาดวย ทดลอง นักเรียนคนหนึ่งทําการทดลอง ใสหินอานชิ้นเล็กๆในน้ําบริสุทธและน้ําอัดลมอยางละเทาๆกัน เพ่ือ

ทดลองเรื่องอะไร ตัดสิน นักเรียนสามารถตัดสินคุณคาของน้ําอัดลมและน้ําบริสุทธิ์ไดอยางไร

6. คิดสรางสรรค (Creating) หมายถึง ความสามารถในการออกแบบ (Design) วางแผน ผลิต ประดิษฐ พยากรณ ออกแบบ ทํานาย สรางสูตร วางแผน จินตนาการ ติดตั้ง

ตัวอยางของคําถามท่ีแสดงถึงพฤติกรรมระดับคิดสรางสรรคมีดังนี้ พฤติกรรม ตัวอยางคําถาม

ออกแบบ ใหนักเรียนออกแบบหองนอนท่ีนักเรียนคิดวาเหมาะสมและถูกสุขลักษณะ สราง ใหนักเรียนนําเสนอวิธีการสรางหุนยนตใหมท่ีแตกตางไปจากหุนยนตเดิม วางแผน นักเรียนชวยเขียนข้ันตอนการทํารายงาน”ทองถ่ินในฝนของขาพเจา” ปรับปรุง จงบอกวิธีปรับปรุงดินใหเหมาะกับการปลูกขาว พยากรณ จากขอมูลของกราฟเสนตรง นักเรียนคิดวาในป พ.ศ. 2557 จะเปนอยางไร

Page 19: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 15

กิจกรรมท่ี 2.1 “ฉันอยูข้ันไหน”

วัตถุประสงค

เพ่ือใหผูเขารับการอบรมสามารถระบุไดวาขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยสอดคลองกับแนวคิด ทฤษฎีความรูของบลูม ระดับใด

อุปกรณ 1. ใบความรูท่ี 2.1 เรื่อง แนวคิดทฤษฎีความรูของบลูม 2. ขอสอบอัตนัย จํานวน 3 ขอ

วิธีการ 1. ผูเขารับการอบรมแบงกลุม กลุมละ 5 คน 2. สมาชิกแตละกลุมศึกษาเอกสารใบความรูท่ี 2.1 3. เม่ือศึกษาใบความรูท่ี 2.1 แลวตัวแทนกลุมรับใบขอสอบ 4. สมาชิกแตละกลุมพิจารณาขอสอบแตละขอวาสอดคลองกับพฤติกรรมใดตามแนวคิดทฤษฎีของบลูม

พรอมท้ังบอกเหตุผล บันทึกผลงานการปฏิบัติลงในใบงานท่ี 2.1 5. นําเสนอผลงานโดยติดบนปายนิเทศเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู

เวลา ใชเวลา 20 นาที

การประเมิน ผลการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 2.1

ระดับคุณภาพ พอใช ดี ดีมาก

ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรูของบลูมพรอมบอกเหตุผลไดถูกตอง 1 ขอ

ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรูของบลูมพรอมบอกเหตุผลไดถูกตอง 2 ขอ

ระบุระดับตามแนวคิด ทฤษฎีความรูของบลูม พรอมบอกเหตุผลไดถูกตองทุกขอ

Page 20: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

16 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบงานท่ี 2.1 “ฉันอยูข้ันไหน”

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี คําช้ีแจง อานสถานการณและคําถามท่ีกําหนดใหแลวพิจารณาวาขอคําถามแตละขอสอดคลองกับทฤษฎี ความรูของบลูมในระดับใด

การแปรงฟนของคุณ

ฟนของเราสะอาดมากข้ึนและมากข้ึนเม่ือเราแปรงนานข้ึนและแรงข้ึนใชหรือไม? นักวิจัยชาวอังกฤษบอกวาไมใช เขาไดทดสอบหลาย ๆ ทางเลือก และทายท่ีสุดก็พบวิธีท่ีสมบูรณแบบ

ในการแปรงฟน การแปรงฟน 2 นาที โดยไมแปรงฟนแรงจนเกินไปใหผลท่ีดีท่ีสุด ถาคุณแปรงฟนแรงคุณกําลังทํารายเคลือบฟนและเหงือกโดยไมไดขจัดเศษอาหารหรือคราบหินปูน

เบนท ฮันเซน ผูเชี่ยวชาญเรื่องการแปรงฟน กลาววา วิธีจับแปรงสีฟนท่ีดีก็คือจับใหเหมือนจับปากกา “เริ่มจากมุมหนึ่ง และแปรงไปตามฟนจนหมดแถว” เธอบอกวา “อยาลืมลิ้นของคุณดวย มันสามารถสะสมแบคทีเรียไดมากทีเดียว ซ่ึงเปนสาเหตุของกลิ่นปาก

ขอคําถาม 1. จากบทความดังกลาวมีผูเชี่ยวชาญเสนอแนะวิธีการจับแปรงสีฟนท่ีดีอยางไร วัดพฤติกรรม ระดับ.......................................................................................... เพราะ...............................................................................................................................................................

2. จากบทความดังกลาวเก่ียวของกับเรื่องอะไร สอดคลองกับทฤษฎีความรูของบลูม ระดับ..................................................................................................... เพราะ............................................................................................................................................................... 3. ทําไมจึงควรแปรงลิ้นในขณะแปรงฟน สอดคลองกับทฤษฎีความรูของบลูม ระดับ..................................................................................................... เพราะ...............................................................................................................................................................

Page 21: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 17

ใบความรูท่ี 2.2 รูปแบบของเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยเปนการสรางขอสอบใหผูเขาสอบเขียนตอบโดยมีความเชื่อวาถาผูเขาสอบมีความรูในเรื่องนั้นดี ก็จะสามารถเขียนอธิบายไดอยางชัดเจน โดยรูปแบบของขอสอบอัตนัยโดยท่ัวไป กําหนดใหผูเขาสอบนําเสนอคําตอบใน 2 รูปแบบ คือ

1. แบบจํากัดคําตอบ (restriced-answer essay) เปนขอสอบท่ีผูตอบตองตอบใหตรงประเด็นท่ีตองการ ถาตอบเปนอยางอ่ืนจะไมไดคะแนน แบงเปน 2 แบบ ไดแก

1.1 แบบเติมคําใหสมบูรณ (Completion Item) มีลักษณะเปนขอคําถามท่ีเวนคําหรือวลีไวแลว ใหผูเขาสอบเติมคําหรือวลีท่ีเปนคําตอบท่ีถูกท่ีสุดเพียงคําตอบเดียว ท้ังนี้ Cocks และ Bormuth (1975) ไดเสนอแนะวาบางครั้งอาจจําเปนตองใหคะแนนสําหรับคําตอบท่ีคลายกันหรือขอความท่ีใชแทนกันดวยความเหมาะสม

1.2 แบบตอบสั้น (short-answer essay) ขอสอบแบบตอบสั้น มีเจตนาใหผูเขาสอบเสนอคําตอบออกมา ซ่ึงขอสอบแบบตอบสั้นนี้ ถูกเลือกใชในการเขียนขอสอบแบบอัตนัยบอยครั้งมากเพราะสามารถถามไดครอบคลุมและลึกกวาขอสอบแบบเติมคําใหสมบูรณ แตมีขอจํากัดเรื่องการตรวจใหคะแนนโดยตองใหความสําคัญกับเกณฑการใหคะแนนท่ีชัดเจนเพ่ือลดความคลาดเคลื่อนในการใหคะแนน

2. แบบไมจํากัดคําตอบ (Extended-answer essay) เปนขอสอบท่ีมีวัตถุประสงคในการตรวจสอบความเขาใจท้ังหมดในเรื่องท่ีเรียนรู โดยผูเขาสอบจะตองเขียนคําตอบไดอยางรวบรัดและชัดเจน ผูออกขอสอบตองกําหนดรูปแบบคําตอบ/ขอบเขตของการตอบเปนเกณฑในการใหคะแนนอยางชัดเจน จึงสามารถตรวจ ใหคะแนนไดตรงกัน

การเขียนขอสอบแบบอัตนัย อาจสรางไดงายกวาขอสอบแบบเลือกตอบ (Multiple-choice) เพราะมีเพียงขอคําถามไมตองมีตัวเลือกใหกับผูเขาสอบ ผูเขาสอบเปนผูเขียนตอบเอง แตขอสอบลักษณะนี้หากไมมีเกณฑการใหคะแนนท่ีชัดเจน จะทําใหเกิดความคลาดเคลื่อนในการใหคะแนนได

สําหรับการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ใชขอสอบอัตนัยเปนเครื่องมือสําคัญในการวัดผลสัมฤทธิ์ โดยลักษณะเดนของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนว (PISA) จักมีสถานการณท่ีใชเปนขอมูลในการตอบคําถามใหและมีคําถามใหผูเขาสอบพิจารณา และนําเสนอคําตอบใน 3 แบบ ไดแก

1. แบบสรางคําตอบแบบปด มีลักษณะเปนขอสอบท่ีมีขอคําถามแลวใหผูเขาสอบเขียนคําตอบท่ีเปนคําตอบถูกตองท่ีมีลักษณะเฉพาะและชัดเจน เชน คําถาม บริษัทท่ีทําขนมปงกรอบชื่อบริษัทอะไร ........................................................................................................................ ................

2. แบบเขียนตอบสั้น ๆ มีลักษณะเปนขอสอบท่ีมีขอคําถาม และใหผูเขาสอบเขียนคําตอบสั้น ๆ ในท่ีวางท่ีเตรียมไวในแบบทดสอบ ซ่ึงอาจเขียนคําตอบเปนตัวหนังสือ วาดภาพ และ/หรือเขียนตัวเลข เชน คําถาม ถานักเรียนตองการหาเสนทางสั้นท่ีสุดเพ่ือเดินทางดวยรถไฟใตดินจากสถานีซาโตไปยังสถานีปาไม จงเขียนเสนทางท่ีนักเรียนจะใชเดินทางลงในแผนท่ี

Page 22: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

18 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

3. แบบสรางคําตอบแบบอิสระ มีลักษณะเปนขอสอบท่ีมีขอคําถามแลวใหผูเขาสอบอธิบายคําตอบหรือใหเหตุผลประกอบคําตอบท่ีแสดงความเขาใจท่ีมีตอคําถาม ผูเขาสอบควรเขียนคําตอบในเสนบรรทัดท่ีกําหนดไวให จํานวนเสนบรรทัดจะเปนตัวบอกความยาวอยางคราว ๆ ท่ีควรเขียนตอบ คําถาม ลักษณะอยางใดของภาพยนตร ท่ีทําใหคนในเมืองมาซอนโดโกรธแคน .......................................................................................................................................... ..........................................................................................................................................

สําหรับเกณฑการใหคะแนนในการวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตามแนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) กําหนดมีเกณฑการใหคะแนนท่ีชัดเจน โดยเกณฑใหคะแนนแบงไดเปน 2 ประเภท ดังนี้

1. แบบใหคะแนนเปน 2 คา กลาวคือ ตอบถูกได 1 คะแนน ตอบผิดได 0 คะแนน ซ่ึงจะกําหนดขอบเขตในการตอบของผูเขาสอบ กรณีไดคะแนนและไมไดคะแนน เชน คําถาม บริษัทท่ีทําขนมปงกรอบชื่อบริษัทอะไร ............................................................................................................................. ................................ การใหคะแนน คะแนนเต็ม รหัส 1 : ระบุชื่อผูผลิตไดอยางถูกตอง ไฟนฟูดส หรือบริษัท ไฟนฟูดส จํากัด ไมไดคะแนน รหัส 0: ใหคําตอบท่ีไมเพียงพอหรือกวางเกิน ผูผลิต ใครก็ไดบางคน บริษัท แสดงความเขาใจเนื้อเรื่องท่ีคลาดเคลื่อนหรือใหคําตอบทีเปนไปไมไดหรือไมเก่ียวของ ครีมมะนาว ซุปเปอรมาเก็ต คนทําขนมปง รหัส 9: ไมตอบ

2. ใหคะแนนมากกวา 2 คา ซ่ึงจะกําหนดขอบเขตในการตอบของผูเขาสอบท่ีไดคะแนนในแตละระดับ เชน คําถาม ลักษณะอยางใดของภาพยนตร ท่ีทําใหคนในเมืองมาซอนโดโกรธแคน .......................................................................................................................................... การใหคะแนน คะแนนเต็ม รหัส 2: อางถึง ความเปนนิยายของภาพยนตร หรือ โดยเฉพาะตัวนักแสดงท่ีตายแลวจะปรากฎตัวข้ึนมาใหมอีก อาจคัดลอกประโยคท่ีสามจากเนื้อเรื่องมาโดยตรง (“...เพราะวาตัวละครท่ีตายและถูกฝงแลวในเรื่องหนึ่ง ซ่ึงพวกเขาไดเศราโศกและเสียน้ําตาไปอยางมาก กลับมีชีวิตข้ึนมาและกลายเปนชาวอาหรับในเรื่องใหม...”) หรือในขอความสุดทาย (“สิ่งท่ีมีเปนเพียงภาพในจินตนาการเทานั้น”) คนท่ีพวกเขาคิดวาตายไปแลวกลับมามีชีวิตอีก พวกเขาคิดวาภาพยนตรเปนเรื่องจริงแตกลับไมใช พวกเขาคิดวาคนในภาพยนตรแกลงตาย และพวกเขาถูกหลอกเหมือนคนโง ตัวละครท่ีตายและถูกฝงแลวในภาพยนตรเรื่องหนึ่ง กลับมีชีวิตข้ึนมาอีกในภาพยนตรเรื่องตอมา

Page 23: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 19

ไดคะแนนบางสวน รหัส 1: อางถึง ความหลอกลวงหรือเลหเหลี่ยมหรือความคาดหวังของผูดูท่ีถูกทําลายลง อาจอางคําวา “สิ่งหลอกลวง” หรือ “เหยื่อของธุรกิจหนังเร” โดยตรง

ไมไดคะแนน รหัส 0: ใหคําตอบท่ีไมเพียงพอหรือไมตรงประเด็น พวกเขาโกรธ บรูโน เครสป พวกเขาไมชอบภาพยนตรท่ีนํามาฉาย พวกเขาตองการเงินคืน พวกเขาคิดวาพวกเขาตกเปนเหยื่อ พวกเขาเปนคนรุนแรง พวกเขาโง พวกเขาแสดงความรูสึกของตนเอง เพราะพวกเขาจายเงินสองเซ็นตาโวแตไมไดสิ่งท่ีตองการ (คําวา “สิ่งท่ีตองการ” กวางเกินไป) หรือ แสดงถึง ความไมเขาใจ ในเนื้อหาท่ีอาน หรือใหคําตอบท่ีไมมีเหตุผลหรือท่ีไมเก่ียวของ พวกเขารูสึกวาไมควรยุงกับปญหาผูอ่ืน (ผิด คนเราตองกายุงกับปญหาจริง ๆ ของคนอ่ืน) เปนวิธีท่ีพวกเขาประทวงการเสียเงินโดยเปลาประโยชน พวกเขาโกรธท่ีตองมาดูคนตายและถูกฝง (อางประโยคท่ีทําใหคิดวา “พวกเขาไมชอบเห็นคนตายในภาพยนตร”...เปนการแปลความท่ีไมถูก) รหัส 9: ไมตอบ

อยางไรก็ตาม ผูออกขอสอบตองตรวจสอบคุณภาพของเกณฑการใหคะแนน โดยเกณฑการใหคะแนนท่ีมีประสิทธิภาพจะทําใหผูตรวจขอสอบใหคะแนนจากการตรวจผลงานของผูเขาสอบไดตรงกัน

Page 24: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

20 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

กิจกรรมท่ี 2.2 “ฉันคือใคร”

จุดประสงค เพ่ือใหผูเขาอบรมสามารถระบุรูปแบบของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการ

ทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ได

อุปกรณ 1. ใบงานท่ี 2.2 2. ปากกาหรือดินสอสี 3. ตัวอยางขอสอบจํานวน 4 ขอ

วิธีการ 1. ผูเขารับการอบรมแบงกลุม กลุมละ 5 คน 2. สมาชิกแตละกลุมศึกษาตัวอยางขอสอบท่ีใชในการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) ท่ีกําหนดให

จํานวน 4 ขอ 3. สมาชิกแตละกลุมรวมกันระดมสมอง โดยสรุปรูปแบบและลักษณะของขอสอบแตละรูปแบบท่ีใชใน

การทดสอบระดับนานาชาติ (PISA) 4. นําเสนอผลงานลงในแบบบันทึกกิจกรรมท่ี 2.2 และติดผลงานบนปายนิเทศเพ่ือแลกเปลี่ยนเรียนรู

เวลา ใชเวลา 20 นาที

การประเมิน ผลการปฏิบัติกิจกรรมท่ี 2.2

ระดับคุณภาพ พอใช ดี ดีมาก

- ระบุรูปแบบของขอสอบเปน 1 รูปแบบ และ/หรือ - ระบุลักษณะของขอสอบได 1 รูปแบบ

- ระบุรูปแบบของขอสอบเปน 2 หรือ 3 รูปแบบ - ระบุลักษณะของรูปแบบแตละรูปแบบโดยระบุคําสําคัญได 2-3 รูปแบบ

- ระบุรูปแบบของขอสอบไดเปน 3 รูปแบบ - ระบุลักษณะของแตละรูปแบบโดยระบุคําสําคัญไดดังนี้ รูปแบบท่ี 1 ระบุวามีขอคําถามใหตอบคําถามโดยแบบระบุคําตอบท่ีเฉพาะเจาะจง รูปแบบท่ี 2 ระบุวามีขอคําถามใหตอบคําถามโดยใหเขียนคําตอบสั้น ๆ รูปแบบท่ี 3 ระบุวามีขอคําถามใหตอบคําถามโดยใหเขียนตอบแบบอิสระ

Page 25: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 21

ตัวอยางขอสอบ PISA

ขอ 1 มาซอนโด

มาซอนโด ดวยความละลานตาของสิ่งประดิษฐท่ีนาพิศวง ชาวเมืองมาซอนโดไมรูดวยซํ้าวา ความมหัศจรรยนั้น

เริ่มตนจากตรงไหน พวกเขายอมอดหลับอดนอนท้ังคืนเพ่ือจองดูหลอดไฟสีนวล ท่ีมีกระแสไฟปอนมาจากเครื่องปนไฟท่ี ออรเรเลียโน ทริสเต บรรทุกมากับรถไฟเท่ียวท่ีสอง และพยายามทนเพ่ือใหคุนกับเสียง ตูม ตูม ของเครื่องประหลาดนั่น ตอมาพวกเขาก็เริ่มไมพอใจกับการชมภาพยนตร ท่ีเคลื่อนไหวเหมือนมีชีวิตท่ี ดอน บรูโน เครสป พอคาผูร่ํารวยนํามาฉายในโรงฉายท่ีมีชองขายตั๋วทําเปนหัวสิงโตเพราะวาตัวละครท่ีตายและถูกฝงแลวในเรื่องหนึ่ง ซ่ึงพวกเขาไดเศราโศกและเสียน้ําตาไปอยางมาก กลับมีชีวิตข้ึนมาและกลายเปนชาวอาหรับในเรื่องใหม ผูชมตองจายเงินสองเซ็นตาโวเปนคาตั๋วเขาชม เพ่ือรวมเสียใจกับความทุกขยากของตัวละคร พวกเขาไมยอมถูกหลอกใหดูของไมจริงอีกตอไป จึงแสดงความโกรธดวยการทุบทําลายเกาอ้ี ดอน บรูโน เครสป ไดขอรองใหนายกเทศมนตรีชวยประกาศวาภาพยนตรเปนเพียงภาพลวงตา ไมควรนํามาเปนอารมณ และไมมีคาควรแกการท่ีผูชมจะระเบิดความโกรธแคน จากคําชี้แจงท่ีเตือนสตินี้เองทําใหหลายคนรูสึกวาตนตกเปนเหยื่อของธุรกิจหนังเรจึงตัดสินใจ ไมดูภาพยนตรอีก เพราะคิดวาตัวเองก็มีความทุกขยากมากเกินกวาท่ีจะไปรองไหกับสิ่งท่ีเปนเพียงภาพลวงตาเหลานั้น

คําถาม: มาซอนโด นักเรียนเห็นดวยหรือไมกับการตัดสินใจของชาวเมืองมาซอนโด เก่ียวกับคุณคาของภาพยนตร จงอธิบายคําตอบโดยเปรียบเทียบความรูสึกของนักเรียนกับของชาวเมืองมาซอนโดท่ีมีตอภาพยนตร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................

ขอ 2 ปายประกาศในซุปเปอรมารเก็ต

การแจงเตือนการแพถั่วลิสง ขนมปงกรอบไสครีมมะนาว

วันท่ีแจงเตือน: 4 กุมภาพันธ ช่ือผูผลิต: บริษัท ไฟนฟูดส จํากัด ขอมูลผลิตภัณฑ: ขนมปงกรองไสครีมมะนาว 125 กรัม (ควรบริโภคกอน 18 มิถุนายน และ ควรบริโภคกอน 1 กรกฎาคม) รายละเอียด: ขนมปงกรอบบางอยางในรุนการผลิตเหลานี้ อาจมีชิ้นสวนของถ่ัวลิสงผสมอยู แตไมแจงไวใน

รายการสวนผสม คนท่ีแพถ่ัวไมควรรับประทานขนมปงกรอบนี้ การปฏิบัติของผูบริโภค: ถาทานซ้ือขนมปงกรองนี้ไป ทานสามารถนํามาคืน ณ ท่ีท่ีทานซ้ือ เพ่ือรับเงินคืน

ไดเต็มจํานวนหรือโทรสอบถามขอมูลเพ่ิมเติมไดท่ี 1800 034 241

คําถาม: ปายประกาศในซุปเปอรมารเก็ต บริษัทท่ีทําขนมปงกรองชื่อบริษัทอะไร ............................................................................................................................................................................ ............................................................................................................................................................................

Page 26: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

22 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ขอ 3 รถไฟใตดิน

คําถาม: รถไฟใตดิน นักเรียนจะหาขอมูลเก่ียวกับระบบรถไฟใตดินเพ่ิมเติมจากท่ีแสดงไวในหนารถไฟใตดินไดอยางไร ………………………………………………………………………………………………………................................................ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

Page 27: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 23

ขอ 4 ปลายทางท่ีบัวโนส ไอเรส

ปลายทางท่ีบัวโนส ไอเรส และแลวเครื่องบินขนสงไปรษณียภัณฑสามลําจากปาตาโกเนีย1 ชิลี และปารากวัย ไดเดินทางกลับมา

จากทางใต ตะวันตก และเหนือสูบัวโนส ไอเรส ซ่ึงท่ีนั่นกําลังรอคอยสินคาจากเครื่องบินเหลานั้น เพ่ือเครื่องบินท่ีจะเดินทางไปยุโรปสามารถออกเดินทางประมาณเท่ียงคืนได

นักบินสามคนท่ีอยูเบื้องหลังแผงควบคุมท่ีใหญราวกับเรือบรรทุกสินคาตกอยูในความมืด และ จดจออยูกับเท่ียวบินของเขาท่ีกําลังเคลื่อนตัวเขาสูเมืองใหญ ซ่ึงจะตองลดความสูงลงอยางชา ๆ เพ่ือออกจากทองฟาท่ีมีพายุหรือเงียบสงบ ราวกับคนประหลาดกําลังลงมาจากภูเขา

รีวิแอร ผูรับผิดชอบการปฏิบัติการท้ังหมด เดินไปมาในท่ีลงจอดของบัวโนส ไอเรส เขายังคงเงียบจนกวาเครื่องบินท้ังสามลําจะมาถึง ตลอดท้ังวันเขารูสึกเหมือนมีลางราย เวลาผานไปนาทีแลวนาทีเลาจนกระท่ังมีโทรเลขมาถึง รีวิแอรรูสึกวาเขาไดชวงชิงบางสิ่งจากโชคชะตาซ่ึงคอย ๆ ลดสิ่งท่ีเขาไมรูลงทีละนอย และดึงลูกเรือของเขาใหพนจากความมืดมาสูฝง

ลูกเรือคนหนึ่งติดตอกับรีวิแอรดวยขอความทางวิทยุ ไปรษณียภัณฑจากชิลีรายงานวาเขาสามารถมองเห็นแสงสวางจากบัวโนส ไอเรสแลว เยี่ยมมาก ไมนานนัก รีวิแอรก็ไดยินเสียงเครื่องบิน ความมือไดยอมปลอยหนึ่งในนั้นออกมาแลว ดั่งทะเลท่ีมี

คลื่นข้ึน ๆ ลง ๆ และสิ่งลี้ลับตองยอมคืนสมบัติท่ีมันโยนเลนไปมาเปนเวลานานใหกับชายหาด ในไมชามันคงจะคืนอีกสองคนท่ีเหลือกลับมา

ในวันนี้การทํางานก็จบสิ้นลง เจาหนาท่ีภาคพ้ืนดินท่ีเหนื่อยลาคงจะกลับไปนอนและมีเจาหนาท่ีชุดใหมท่ีสดชื่นมาทําหนาท่ีแทน มีเพียงแตรีวิแอรเทานั้นท่ีไมไดพัก จากนั้นก็มาถึงคราวของไปรษณียภัณฑจากยุโรปท่ีจะเขามาเพ่ิมความวิตกใหเขาอีก และมันจะเปนอยางนี้ไปตลอด และตลอดไป

คําถาม: ปลายทางท่ีบัวโนส ไอเรส “ปลายทางท่ีบัวโนส ไอเรส” ถูกเขียนข้ึนในป ค.ศ. 1931 นักเรียนคิดวาปจจุบันนี้ ความกังวลของรีวิแอร ยังเปนเหมือนเดิมใชหรือไม ใหเหตุผลอธิบายคําตอบของนักเรียน ............................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................

Page 28: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

24 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบงานท่ี 2.2 รูปแบบและลักษณะของขอสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตามแนวการทดสอบระดับ

นานาชาติ (PISA)

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

รูปแบบของขอสอบ ลักษณะของขอสอบ (อธิบาย) ขอ 1 สรางคําตอบแบบปด

เขียนตอบสั้น ๆ

สรางคําตอบแบบอิสระ ขอ 2 สรางคําตอบแบบปด

เขียนตอบสั้นๆ

สรางคําตอบแบบอิสระ ขอ 3 สรางคําตอบแบบปด

เขียนตอบสั้นๆ

สรางคําตอบแบบอิสระ ขอ 4 สรางคําตอบแบบปด

เขียนตอบสั้นๆ

สรางคําตอบแบบอิสระ

Page 29: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

25 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวช้ีวัดในการสรางเคร่ืองมือวัดผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตาม

แนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)

กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ

การอบรม เวลา ส่ือประกอบ

ฟงการบรรยาย - ความสําคัญของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด - ตัวอยางการวิเคราะหมาตรฐาน 5 กลุมสาระหลัก

บรรยาย 30 นาที - ppt - ใบความรูท่ี 3.1

ปฏิบัติกิจกรรม - วิเคราะหคําสําคัญ - กําหนดเครื่องมือวัดตามมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

ปฏิบัติ 60 นาที - กิจกรรมท่ี 3.1 - ใบงานท่ี 3.1

Page 30: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

26 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 3 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวช้ีวัดในการสรางเคร่ืองมือวัดผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยตาม

แนวการทดสอบระดับนานาชาติ (PISA)

สาระสําคัญ มาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด เปนตัวกําหนดคุณภาพของผูเรียน บงบอกสิ่งท่ีผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได

ระบุคุณธรรมจริยธรรม และคานิยมท่ีพึงประสงคเม่ือจบการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ดังนั้น เพ่ือเปนการตรวจสอบคุณภาพของผูเรียนตามเปาหมายท่ีกําหนดไว จําเปนตองเลือกวิธีการและเครื่องมือประเมินท่ีเหมาะสม สอดคลองกับมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด ซ่ึงวิธีการและเครื่องมือการประเมินตองสอดคลองสัมพันธกับการวัดคุณภาพแตละดาน และมีความหลากหลาย เชน การทดสอบ การสังเกต การสัมภาษณ การตรวจผลงาน ฯลฯ

เพ่ือใหการเลือกชนิดของคําถามมาใชในการประเมินมีความเหมาะสม จําเปนตองพิจารณาผลการเรียนรูท่ีตองการประเมินวาคืออะไร ผลการเรียนรูท่ีกลาวถึงนี้ ไดแก คํากริยาท่ีแสดงการปฏิบัติหรือกระบวนการคิดของผูเรียนท่ีตองการใหเกิดข้ึนดังทฤษฎีของบลูม เชน อธิบาย ระบุ จําแนก เปรียบเทียบ วิเคราะห ตีความ เปนตน ซ่ึงคํากริยาหรือผลการเรียนรูเหลานี้ถูกกําหนดไวในมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนั้น การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดเพ่ือคนหาคําสําคัญท่ีเปนเปาหมายการเรียนรูท่ีตองการ จะชวยใหผูสอนสามารถออกแบบวิธีการประเมินและเครื่องมือไดอยางเหมาะสม

วัตถุประสงค 1. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมมีความรูและเขาใจถึงความสําคัญของมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดตาม

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 2. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมสามารถวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด เพ่ือนําไปสรางเครื่องมือ

วัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยได

เวลา ใชเวลา 1 ชั่วโมง 30 นาที

บทบาทผูเขาอบรม 1. ฟงการบรรยาย 2. ศึกษาเอกสาร 3. ปฏิบัติกิจกรรม

กิจกรรม 1. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การวิเคราะหมาตรฐานและ

ตัวชี้วัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย (Power point, ใบความรูท่ี 3.1) 2. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูท่ี 3.1 และปฏิบัติกิจกรรมท่ี 3.1 3. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็น สรุปองคความรูเก่ียวกับการวิเคราะหคําสําคัญ วิธีการ/เครื่องมือ

วัดผล

Page 31: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 27

สื่อ 1. กิจกรรม (3.1) 2. ใบงาน (3.1) 3. เอกสารประกอบการบรรยาย

- ใบความรูท่ี 3.1 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

4. Power Point เรื่อง การวิเคราะหมาตรฐานและตัวชี้วัดในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

การประเมินผล

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

พอใช ดี ดีมาก ผลการวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัด

ระบุคําสําคัญและเครื่องมือไดถูกตอง นอยกวารอยละ 60

ระบุคําสําคัญและเครื่องมือไดถูกตอง รอยละ 60-79

ระบุคําสําคัญและเครื่องมือไดถูกตอง รอยละ 80 ข้ึนไป

Page 32: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

28 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบความรูท่ี 3.1 การวิเคราะหมาตรฐานและตัวช้ีวัดในการสรางเคร่ืองมือวัดผลสมัฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

เพ่ือท่ีจะประเมินการเรียนรูของผูเรียนใหถูกตอง สามารถสะทอนผลสัมฤทธิ์ของผูเรียนตามผลการเรียนรูท่ีตองการ จําเปนตองเลือกใชขอคําถามใหมใหเหมาะสมสําหรับทดสอบโดยท่ัวไป ขอคําถามแบบอัตนัย (เขียนตอบ) จะเหมาะกับการประเมินเพ่ือดูความเขาใจในเนื้อหาของผูเรียน และประเมินความสามารถในการใหเหตุผลโดยใชความรูท่ีมีในวิชานั้น ๆ ซ่ึงมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดจะประกอบดวยคํากริยาท่ีจะใหทิศทางสําหรับการเลือกใชวิธีการประเมิน บอกทิศทางการตอบสนองของผูเรียน เชน สรางสรรค อธิบาย จะบงบอกวาผูเรียนตอง “สรางคําตอบ” มากกวา “การเลือกตอบ” ขณะท่ี “การระบุ” บงชี้ใหการเลือกตอบ อยางไรก็ตามมีคํากริยาบางคํา เชน “ตีความ” ท่ีอาจใชการประเมินแบบเขียนตอบ หรือเลือกคําตอบก็ได เนื่องจากไมบงบอกวาจะใชรูปแบบใด กรณีนี้ผูออกแบบเครื่องมือท่ีจะใชในการประเมินจําเปนตองตัดสินใจวา จะเลือกใชขอคําถามรูปแบบใดจึงจะเหมาะสม อาจตองพิจารณาวามีทักษะในการเขียนขอคําถามชนิดเลือกตอบเพียงใด มีเวลา/ทรัพยากรในการตรวจใหคะแนนเพียงใด

กรณี มีทักษะในการเขียนขอคําถามแบบเลือกตอบนอย และมีเวลา/ทรัพยากรในการตรวจใหคะแนนเพียงพอ ควรเลือกขอคําถามแบบอัตนัย (เขียนตอบ)

กรณี มีทักษะในการเขียนขอคําถามแบบเลือกตอบมาก และมีเวลา/ทรัพยากรในการตรวจใหคะแนนจํากัด ควรเลือกขอคําถามแบบปรนัย (เลือกตอบ)

ท้ังนี้ ในการวิเคราะหคําสําคัญของแตละมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด ใหพิจารณาระดับพฤติกรรมการวัดของคํานั้น ๆ จากบริบทท่ีเก่ียวของดวย

ความรูเกี่ยวกับ KAP สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน ไดกําหนดกรอบการวิเคราะหเปนแนวทางเชื่อมโยงและ

ความสอดคลอง จากการวิเคราะหตัวชี้วัดตามมาตรฐานการเรียนรูของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน พุทธศักราช 2551 เพ่ือระบุสัดสวนพฤติกรรมการเรียนรูท่ีเปนเปาหมายการจัดการเรียนรูแบบอิงมาตรฐาน (Standard based learning) โดยบูรณาการทฤษฎีการเรียนรูตามทฤษฎีของบลูม (Bloom’s Taxonomy, 1956) และ Bloom’s Revised Taxonomy, 2001 แอนเดออสันและแครธโวล (Anderson & Krathwolh, 2001)

พฤติกรรมการเรียนรูท่ีปรากฏในมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด แบงเปน 3 ดาน ไดแก ดานความรู (Knowledge: K) ดานคุณลักษณะ (Attribute: A) และดานกระบวนการและทักษะ (Process and Skill: P) ดังนี้

1. ดานความรู (Knowledge: K) แบงความรูเปน 4 ประเภท ดังนี้ 1.1 ความรูท่ีเปนขอเท็จจริง (Factual Knowledge) เปนขอเท็จจริงพ้ืนฐาน นิยามศัพท หรือ

รายละเอียดของวิชา/สาขา/เนื้อหาท่ีศึกษา ความรูในขอเท็จจริงนี้ แบงเปน 2 ประเภทยอย คือ - ความรูเก่ียวกับนิยามศัพท (Knowledge of terminology) - ความรูในรายละเอียดและองคประกอบ (Knowledge of details and elements)

1.2 ความรูท่ีเปนความคิดรวบยอด (Conceptual Knowledge) เปนความรูเก่ียวกับวิธีในการจําแนกประเภทแนวคิดหรือสิ่งของ การจัดกลุมแนวคิดหรือสิ่งของ หรือพัฒนาใหเปนหลักการ รูปแบบ หรือทฤษฎี หรือเปนความรูในความสัมพันธของสิ่งของ หรือความคิดรวบยอด เชน จัดประเภทวัตถุในระบบสุริยะเปนดาวนพเคราะห ดวงจันทร ดาวเคราะห และดาวหาง หรือจัดประเภทความรูท่ีเปนหลักการทางวิทยาศาสตร เชน ผลกระทบของแรงโนมถวงของดวงจันทรท่ีมีตอกระแสน้ําในมหาสมุทรหรือเก่ียวกับทฤษฎี เชน ทฤษฎีสัมพันธภาพ ความรูท่ีเปนความคิดรวบยอด แบงเปน 3 ประเภทยอย คือ

- การจําแนกประเภทและจัดเขากลุม (Classifications and Categories)

Page 33: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 29

- หลักการและการสรุปเปนกฎ (Principle and Generalizations) - ทฤษฎ ีรูปแบบ และโครงสราง (Theories Model and Structures)

1.3 ความรูท่ีเปนกระบวนการ (Procedural Knowledge) เปนกระบวนการหรือข้ันตอนในการปฏิบัติกิจกรรม วิธีการ ทักษะเฉพาะตาง ๆ เชน ความรูในวิธีการเขียนรายงาน ความรูในดานนี้แบงเปน 3 ประเภทยอย คือ

- ทักษะเฉพาะของวิชา (Subject specific skills) - วิธีการเฉพาะของวิชา (Subject specific techniques) - ความรูวาจะใชกระบวนการ/วิธีการท่ีเหมาะสมเม่ือใด (Knowledge of when to use

appropriate procedures) 1.4 ความรูท่ีเปนอภิปญญา (Meta-cognitive Knowledge) เปนความรูเก่ียวกับทักษะการคิดและ

กระบวนการคิดของตนเอง ควมรูเก่ียวกับยุทธวิธีการจํา ยุทธวิธีการแสวงหาความรู และความรูเก่ียวกับการสํารวจตนเอง ซ่ึงจะชวยในการเรียนรู เชน ตระหนักรูในเปาหมาย ความสามารถและความสนใจของตนเอง แบงออกเปน 3 ประภทยอย คือ

- ความรูท่ีเปนยุทธวิธี - การรูเหมาะรูควร - การรูจักตนเอง

2. ดานคุณลักษณะ (Attribute: A) หมายถึง ลักษณะท่ีตองการใหเกิดกับผูเรียนอันเปนคุณลักษณะท่ีสังคมตองการในดานคุณธรรม จริยธรรม คานิยม จิตสํานึก สามารถอยูรวมกับสังคมไดอยางมีความสุข ซ่ึงคุณลักษณะท่ีดีคือใหผูเรียนเปนคนดี คนเกง และคนมีความสุข

คนดี คือ คนท่ีดําเนินชีวิตอยางมีคุณภาพ มีจิตใจท่ีดีงาม มีคุณธรรมจริยธรรม มีคุณลักษณะท่ีพึงประสงคท้ังดานจิตใจและพฤติกรรมท่ีแสดงออก เชน มีวินัย มีความเอ้ือเฟอเผื่อแผ มีเหตุผล รูหนาท่ี ซ่ือสัตย พากเพียร ขยัน ประหยัด มีจิตใจเปนประชาธิปไตย เคารพความคิดเห็นและสิทธิของผูอ่ืน มีความเสียสละ รักษาสิ่งแวดลอม สามารถอยูรวมกับผูอ่ืนไดอยางสันติสุข

คนเกง คือ คนท่ีมีสมรรถภาพสูงในการดําเนินชีวิต โดยมีความสามารถดานใดดานหนึ่งหรือรอบดานหรือมีความสามารถพิเศษรอบดาน เชน ความสามารถทางดานคณิตศาสตร มีความคิดสรางสรรค มีความสามารถดานภาษา ดนตรี กีฬา มีภาวะผูนํา รูจักตนเอง ควบคุมตนเองได เปนคนทันสมัย ทันเหตุการณ ทันโลก ทันเทคโนโลยี มีความเปนไทย สามารถพัฒนาตนเองไดอยางเต็มศักยภาพ และทําประโยชนใหเกิดแกตนเอง สังคม และประเทศชาติได

คนมีความสุข คือ คนท่ีมีสุขภาพกายและสุขภาพจิตดี เปนคนราเริงแจมใส รางกายแข็งแรง จิตใจเขมแข็ง มีมนุษยสัมพันธท่ีดี มีความรักตอทุกสรรพสิ่ง มีความปลอดภัยจากอบายมุข และสามารถดํารงชีวิตไดอยางพอเพียงตามอัตภาพ

3. ดานกระบวนการและทักษะ (Process and Skill: P) ไดจําแนกดังนี้ 3.1 ทักษะการสื่อสาร ไดแก ทักษะการฟง การพูด การอาน และการเขียน 3.2 ทักษะและกระบวนการทํางาน

- ทักษะและกระบวนการคณิตศาสตร ไดแก ความสมารถในการแกปญหา ความสารถในการใหเหตุผล ความสามารถในการสื่อสาร สื่อความหมายทางคณิตศาสตรและนําเสนอ ความสามารถในการเชื่อมโยงความรู และการคิดริเริ่มสรางสรรค เปนตน

- กระบวนการทางวิทยาศาสตร ไดแก ทักษะการกําหนดและควบคุมตัวแปร ทักษะ การคํานวณ ทักษะการจัดทําและสื่อความหมายขอมูล ทักษะการจําแนกประเภท ทักษะการตั้งสมมติฐาน ทักษะ

Page 34: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

30 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

การตีความหมายขอมูล ทักษะการทดลอง ทักษะการกําหนดนิยามเชิงปฏิบัติการ ทักษะการพยากรณ ทักษะการลงความเห็นขอมูล ทักษะการวัด ทักษะการสังเกต ทักษะการหาความสัมพันธระหวางมิติกับมิติและมิติกับเวลา เปนตน

- กระบวนการวิธีการทางประวัติศาสตร ไดแก การตั้งประเด็นท่ีจะศึกษา สืบคนและรวบรวมขอมูล การวิเคราะหและตีความขอมูลทางประวัติศาสตร การคัดเลือกและประเมินขอมูล การเรียบเรียงรายงานขอเท็จจริงทางประวัติศาสตร เปนตน

- กระบวนการคิดแกปญหา ไดแก ทําความเขาใจปญหา วางแผนออกแบบแกปญหา ดําเนินการตามแผน สรุปและตรวจสอบการแกปญหา เปนตน

- ทักษะการใชเทคโนโลย ีไดแก เขาใจและใชระบบเทคโนโลยี เลือกและใชโปรแกรมประยุกตอยางเหมาะสม เรียนรูโปรแกรมใหม ๆ ผานเทคโนโลยี ใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรค เปนตน

- ทักษะการปฏิบัติงาน ไดแก วิเคราะหงาน วางแผนการทํางาน ลงมือทํางาน ประเมินผลการทํางาน การทํางานเปนทีม เปนตน

ตัวอยางการวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด

กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 สาระท่ี 1 ส่ิงมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต มาตรฐาน ว 1.1: เขาใจหนวยพ้ืนฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาท่ีของระบบตาง ๆ ของ

สิ่งมีชีวิตท่ีทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความ รู สื่อสารสิ่งท่ีเรียนรู และนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต

ตัวชี้วัด คําสําคัญ เคร่ืองมือ

ความรู (K)

คุณลกัษณะ (A)

ทักษะ (P)

แบบทดสอบ อ่ืนๆ (ระบุ) ปรนัย อัตนัย

1. อธิบายการเจรญิเตบิโตของมนุษย จากวัยแรกเกิดจนถึงวัยผูใหญ

อธิบาย - - -

2. อธิบายการทํางานท่ีสัมพันธกันของระบบยอยอาหาร ระบบหายใจและระบบหมนุเวียนเลือดของมนุษย

อธิบาย - - -

3. วิเคราะหสารอาหารและอภิปรายความจําเปนท่ีรางกายตองไดรับสาร อาหารในสดัสวนท่ีเหมาะสมกับเพศและวัย

- วิเคราะห - อภิปราย

- -

-

Page 35: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 31

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 สาระท่ี 1 จํานวนและการดําเนินการ มาตรฐาน ค 1.1: เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง

ตัวชี้วัด คําสําคัญ วิธีการ/เคร่ืองมือ

ความรู (K)

คุณลักษณะ (A)

ทักษะ (P)

ทดสอบ อ่ืนๆ (ระบุ) ปรนัย อัตนัย

1. เขียนและอานทศนิยมไมเกินสามตําแหนง เขียนและอาน - - - 2. เปรียบเทียบและเรียงลาํดับเศษสวนและทศนิยมไมเกินสามตําแหนง

เปรียบเทียบและเรียงลําดับ

- - -

3. เขียนทศนิยมในรูปเศษสวนและเขียนเศษสวนในรูปทศนิยม

เขียน - - -

สาระท่ี 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 มาตรฐาน ค 5.1: เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล

ตัวชี้วัด คําสําคัญ วิธีการ/เคร่ืองมือ

ความรู (K)

คุณลักษณะ (A)

ทักษะ (P)

ทดสอบ อ่ืนๆ (ระบุ) ปรนัย อัตนัย

1. อานขอมูลจากกราฟเสนและแผนภูมริูปวงกลม

อานขอมูล - - -

2. เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน เขียนแผนภมู ิ - - แบบบันทึกผลงานเขียน

กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 สาระท่ี 1 ภาษาเพ่ือการส่ือสาร มาตรฐาน ต 1.1: เขาใจและตีความเรื่องท่ีฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล

ตัวชี้วัด คําสําคัญ เคร่ืองมือ

ความรู (K)

คุณลักษณะ (A)

ทักษะ (P)

แบบทดสอบ อ่ืนๆ (ระบุ) ปรนัย อัตนัย

1. ปฏิบัติตามคําสั่ง คําขอรองและคําแนะนําท่ีฟงและอาน

- - ปฏิบัติตามคําสั่ง - -

2. อานออกเสียงขอความ นิทานและบทกลอนสั้น ๆ ถูกตองตามหลักการอาน

- - อานออกเสียง - - แบบบันทึก

3. เลือก/ระบุประโยคหรือขอความสั้น ๆ ตรงตามภาพ สัญลักษณหรือเครื่องหมายท่ีอาน

เลือก/ระบุ - - - -

4. บอกใจความสําคัญและตอบคําถามจากการฟงและอานบทสนทนา นิทาน

งาย ๆ และเรื่องเลา

- บอก - ตอบคําถาม

- - -

Page 36: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

32 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 สาระท่ี 1 การอาน มาตรฐาน ท 1.1: ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิด เพ่ือนําไปใชตัดสินใจ แกปญหาในการดําเนินชีวิต

และมีนิสัยรักการอาน

ตัวชี้วัด คําสําคัญ วิธีการ/เคร่ืองมือ

ความรู (K)

คุณลักษณะ (A)

ทักษะ (P)

ทดสอบ อ่ืนๆ (ระบุ) ปรนัย อัตนัย

1. อานออกเสียงบทรอยแกวและบทรอยกรองไดถูกตอง

- - อานออกเสียง - - แบบบันทึก

2. อธิบายความหมายของคํา ประโยคและขอความท่ีเปนโวหาร

อธิบาย - - -

3. อานเรื่องสั้น ๆ อยางหลากหลาย โดยจับเวลาแลวถามเก่ียวกับเรื่องท่ีอาน

ตั้งคําถาม - อาน -

4. แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็นจากเรื่องท่ีอาน แยกขอเท็จจริงและขอคิดเห็น

- - -

5. อธิบายการนําความรูและความคิดจากเรื่องท่ีอานไปตัดสินใจแกปญหาในการดาํเนินชีวิต

อธิบาย - - -

6. อานงานเขียนเชิงอธิบาย คําสั่ง ขอแนะนํา และปฏิบัติตาม

- - อานและปฏิบัติตาม

แบบบันทึก

7. อธิบายความหมายของขอมูลจากการอานแผนผัง แผนท่ี แผนภูมิและกราฟ

อธิบาย - -

8. อานหนังสือตามความสนใจและอธิบายคุณคาท่ีไดรับ

อธิบาย - อาน - แบบบันทึก

9. มีมารยาทในการอาน - มมีารยาท - - -

Page 37: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 33

กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 สาระท่ี 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส 1.1: รูและเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาท่ีตนนับถือและ

ศาสนาอ่ืน มีศรัทธาท่ีถูกตอง ยึดม่ัน และปฏิบัติตามหลักธรรม เพ่ืออยูรวมกันอยางสันติสุข

ตัวชี้วัด คําสําคัญ เคร่ืองมือ

ความรู (K)

คุณลักษณะ (A)

ทักษะ (P)

แบบทดสอบ อ่ืนๆ (ระบุ) ปรนัย อัตนัย

1. วิเคราะหความสําคญัของพระพุทธศาสนาในฐานะเปนศาสนาประจําชาติ หรือความสําคัญของศาสนาท่ีตนนับถือ

วิเคราะห - - -

2. สรุปพุทธประวัตติั้งแตปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนียสถานหรือประวัติศาสดาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด

สรุป - - -

3. เห็นคุณคาและประพฤติตนตามแบบอยางการดําเนินชีวิต และขอคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเลา และ ศาสนิกชน ตัวอยางตามท่ีกําหนด

- การเห็นคุณคา

การประพฤติตน

- - แบบสังเกต

4. วิเคราะหความสําคญัและเคารพพระรัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขาและหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนาหรือหลักธรรมของศาสนาท่ีตนนับถือตามท่ีกําหนด

วิเคราะห - - เคารพ - ปฏิบัติตน

-

5. ช่ืนชมการทําความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนาพรอมท้ังบอกแนวปฏิบัติในการดําเนินชีวิต

- ช่ืนชม (สังเกต) (เขียน)

- - - แบบสังเกต

Page 38: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

34 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบงานท่ี 3.1 การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวช้ีวัด

1. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

2. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

3. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

4. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

5. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง 1. แบงกลุมปฏิบัติกิจกรรม กลุมละ 3-5 คน 2. สมาชิกแตละกลุมชวยกันเลือกมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดในกลุมสาระการเรียนรูท่ีรับผิดชอบ

อยางนอย 5 ตัวชี้วัด 3. สมาชิกรวมกันวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดท่ีเลือก เพ่ือคนหาคําสําคัญและระบุ

เครื่องมือวัดผล แลวบันทึกลงในแบบบันทึกกิจกรรม 4. ใหแตละกลุมนําเสนอผลการวิเคราะหและแลกเปลี่ยนเรียนรูรวมกัน

มาตรฐานการเรียนรู/ตัวช้ีวัด คําสําคัญ วิธีการ/เครื่องมือ

ความรู (K)

คุณลักษณะ (A)

ทักษะ (P)

แบบทดสอบ อ่ืนๆ (ระบุ) ปรนัย อัตนัย

Page 39: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

35 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 4 การสรางเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ

การอบรม เวลา ส่ือ/ประกอบ

รับฟงการบรรยาย การสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

บรรยาย 1 ชั่วโมง - ppt: การสรางเครื่องมือ - ใบความรูท่ี 4.1 การสรางเครื่องมือ

เรียนรูจากตัวอยาง เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

ศึกษาใบความรู 30 นาที - ใบความรูท่ี 4.2 ตัวอยางเครื่องมือ

ปฏิบัติกิจกรรม สรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

ปฏิบัติ 3 ชั่วโมง - ใบงานท่ี 4.1

วิพากษเครื่องมือ ลักษณะเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยท่ีดี

ปฏิบัติ 1 ชั่วโมง 30 นาที

- เครื่องมือท่ีผูเขารับการอบรมสราง - ใบงานท่ี 4.2

Page 40: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

36 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 4 การสรางเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

สาระสําคัญ แบบทดสอบแบบอัตนัยหรือเขียนตอบ เปนแบบทดสอบท่ีมีลักษณะเปนโจทยหรือคําถามท่ีอาจกําหนด

เปนสถานการณหรือปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง ผูตอบจะตองสรางคําตอบดวยตนเอง โดยใชความสามารถ 2 สวน คือ ความสามารถดานการบูรณาการองคความรู ความคิด ประสบการณท่ีมีอยู และความสามารถดานการใชภาษาในการเรียบเรียงใหเปนภาษาเขียนท่ีถูกตอง ชัดเจน ครอบคลุม และตรงประเด็น แบบทดสอบอัตนัยท่ีมีคุณภาพจะชวยวัดความสามารถของผูเรียนในดานการจัดระเบียบความคิดและการสังเคราะหความรูตาง ๆ ไดเปนอยางดี จึงเหมาะสําหรับการวัดทักษะการคิดข้ันสูง

วัตถุประสงค 1. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมมีความรูความเขาใจในการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบ

อัตนัย 2. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมสามารถสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยได 3. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมสามารถวิพากษเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยได

เวลา ใชเวลา 6 ชั่วโมง

บทบาทของผูเขารับการอบรม 1. ฟงการบรรยาย 2. ศึกษาใบความรู 3. ปฏิบัติกิจกรรม 4. เรียนรูจากตัวอยาง 5. วิพากษผลงาน

กิจกรรม 1. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง การสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนแบบอัตนัย (Power Point, ใบความรูท่ี 4.1, ใบความรูท่ี 4.2) 2. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูท่ี 4.1, 4,2 และปฏิบัติกิจกรรม “การเขียนขอสอบอัตนัย” (กิจกรรมท่ี

4.1) 3. ผูเขาอบรมปฏิบัติกิจกรรม “วิพากษขอสอบอัตนัย” (กิจกรรมท่ี 4.2) 4. ผูเขาอบรมรวมแสดงความคิดเห็นและสรุปองคความรูเก่ียวกับการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์

ทางการเรียนแบบอัตนัย

Page 41: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 37

สื่อ 1. กิจกรรม (4.1, 4.2) 2. ใบงาน (4.1, 4.2) 3. เอกสารประกอบการบรรยาย

- ใบความรูท่ี 4.1 การสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย - ใบความรูท่ี 4.2 ตัวอยางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

4. power point เรื่อง การสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย 5. ผลการปฏิบัติงาน: เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

วิธีการประเมิน

รายการประเมิน ระดับคุณภาพ

พอใช ดี ดีมาก ผลการปฏิบัติกิจกรรมสรางขอสอบ

สรางขอสอบไดตามเปาหมายท่ีกําหนด

สรางขอสอบไดสอดคลองกับตัวชี้วัด เนื้อหา/สาระแกนกลาง

สรางขอสอบไดสอดคลองกับตัวชี้วัด เนื้อหา/สาระแกนกลาง ระดับพฤติกรรมท่ีกําหนด สถานการณชัดเจน

การวิพากษ มีสวนรวมในการแสดงออก การวิพากษ แลกเปลี่ยนเรียนรู

มีการแสดงออก รวมวิพากษ แลกเปลี่ยนเรียนรู

มีการแสดงออก รวมวิพากษ แลกเปลี่ยนเรียนรู ใหขอคิดเห็นและขอเสนอแนะ

Page 42: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

38 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบความรูท่ี 4.1 การสรางเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

แบบทดสอบแบบอัตนัยหรือเขียนตอบ เปนแบบทดสอบท่ีมีเฉพาะคําถาม ผูสอบจะตองสรางคําตอบดวยตนเอง โดยการเขียนบรรยายหรือแสดงความคิดเห็น วิพากษวิจารณเรื่องราว พฤติกรรมตาง ๆ จากความรูและประสบการณท่ีไดรับมา ผูตอบมีอิสระในการสรางคําตอบดวยตนเอง โดยใชความสามารถในการสังเคราะหขอความ ผูตอบจึงไมใชแตความรูความเขาใจเทานั้น เขาจะตองมีความสามารถในการจัดระเบียบความรู และนําความรูเหลานั้นมาใชอยางเหมาะสม สื่อสารใหผูอ่ืนเขาใจได ลักษณะของแบบทดสอบอัตนัยอาจจะเปนโจทยหรือคําถามท่ีกําหนดสถานการณหรือปญหาอยางกวาง ๆ หรือเฉพาะเจาะจง ซ่ึงโดยท่ัวไปจะไมจํากัดเสรีภาพของผูตอบในการเรียบเรียงความคิด หรือขอเท็จจริงท่ีเก่ียวของกับคําตอบ การสรางแบบแบบทดสอบอัตนัยท่ีมีคุณภาพ จะชวยวัความสามารถของผูเรียนในดานการจัดระเบียบความคิดและการสังเคราะหความรูตาง ๆ ไดเปนอยางดี จึงเหมาะสําหรับการวัดทักษะการคิดข้ันสูง (Higher–order thinking)

รูปแบบของแบบทดสอบอัตนัย แบบทดสอบอัตนัย แบงออกเปน 2 ประเภท คือ 1. แบบไมจํากัดคําตอบหรือแบบขยายความ (Unrestricted Response or extended

Response) เปนแบบทดสอบท่ีไมจํากัดคําตอบ แตผูสอบจะตองจํากัดคําตอบใหเหมาะสมกับคําถามและเวลา โดยจะตองเรียบเรียงความรู ความคิดและจัดลําดับความรูท่ีสําคัญ แลวเรียบเรียงออกมาเปนคําตอบตามความคิดและเหตุผลของตน โดยใหมีความยาวท่ีเหมาะสมกับหลักและเหตุผลท่ีคําถามตองการ ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ สามารถใชวัดความสามารถระดับการวิเคราะห การสังเคราะหและการประเมินผลไดเปนอยางดี จึงมักใชกับผูเรียนในระดับชั้นสูง ลักษณะคําถามมักมีคาวา “จงอธิบาย อภิปราย เปรียบเทียบ วิเคราะห สรุปประเด็นสําคัญ แสดงความคิดเห็น ขอเสนอแนะ ประเมินผล แนวทางแกปญหา” เปนตน แตมักมีปญหาในการควบคุมทิศทางการตอบและการตรวจใหคะแนน

2. แบบจํากัดคําตอบหรือตอบแบบส้ัน (Restricted Response or Shot Essay Item) เปนแบบทดสอบท่ีจํากัดกรอบของเนื้อหาหรือรูปแบบของแนวทางคําตอบ และกําหนดขอบเขตของประเด็นใหตอบในเนื้อหาท่ีแคบและสั้นกวาแบบทดสอบท่ีไมจากัดความยาว ขอดีของแบบทดสอบประเภทนี้ คือ ใชวัดความรูความสามารถท่ีเฉพาะเจาะจงไดดีกวาแบบทดสอบแบบไมจํากัดความยาว ซ่ึงเหมาะท่ีจะวัดผลการเรียนรูท่ีสําคัญ โดยท่ีผูสอบจะตองเลือกความรูท่ีดีท่ีสุดสําหรับคําถามนั้น ๆ ลักษณะคําถามมักอยูในรูป “จงอธิบายสั้น ๆ จงบอกประโยชน จงอธิบายสาเหตุหรือจงบอกข้ันตอน” แตแบบทดสอบนี้ไมไดเปดโอกาสใหผูตอบไดแสดงความรู ความสามารถอยางเต็มท่ี

หลักในการสรางแบบทดสอบ 1. เขียนคําชี้แจงเก่ียวกับวิธีการตอบใหชัดเจน ระบุจํานวนขอคําถาม เวลาที่ใชสอบและคะแนนเต็มของแตละ

ขอ เพื่อใหผูตอบสามารถวางแผนการตอบไดถูกตอง 2. ขอคําถามตองพิจารณาใหเหมาะสมกับพื้นความรูของผูตอบ 3. ควรถามเฉพาะเร่ืองที่สําคัญและเปนเร่ืองที่แบบทดสอบปรนัยวัดไดไมดีเทา เนื่องจากไมสามารถถามไดทุก

เนื้อหาที่เรียน ควรถามเก่ียวกับการนําไปใช การวิเคราะห การสังเคราะห ความคิดสรางสรรค การแสดงความคิดเห็น การวิพากษวิจารณ เปนตน

4. กําหนดขอบเขตของคําถาม เพื่อใหผูตอบทราบถึงจุดมุงหมายในการวัด สามารถตอบไดตรงประเด็น

Page 43: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 39

5. การกําหนดเวลาในการสอบ จะตองสอดคลองกับความยาวและลักษณะคาตอบที่ตองการ ระดับความยากงายและจานวนขอสอบ

6. ไมควรมีขอสอบไวใหเลือกตอบเปนบางขอ เพราะอาจมีการไดเปรียบเสียเปรียบกัน เนื่องจากแตละขอคําถามจะมีความยากงายไมเทากันและวัดเนื้อหาแตกตางกัน รวมทั้งจะไมยุติธรรมกับผูที่สามารถตอบไดทุกขอ ซึ่งมีโอกาสไดคะแนนเทากับผูที่ตอบไดเพียงบางขอ

7. หลีกเลี่ยงคําถามที่วัดความรูความจํา หรือถามเร่ืองที่ผูเรียนเคยทํา หรือเคยอภิปรายมากอน หรือถามเร่ืองที่มีคําตอบในหนังสือ เพราะจะเปนการวัดความจํา ควรถามในเร่ืองที่ผูเรียนตองนําความรูไปใชในสถานการณใหม

8. พยายามเขียนคําถามใหมีจํานวนมากขอ โดยจํากัดใหตอบสั้น ๆ เพื่อจะไดวัดไดครอบคลุมเนื้อหา ซึ่งจะทําใหแบบทดสอบมีความเชื่อมั่นสูง

9. ควรเตรียมเฉลยคําตอบและกําหนดเกณฑการใหคะแนนตามข้ันตอนและน้ําหนักที่ตองการเนนไวดวย 10. ถาแบบทดสอบมีหลายขอ ควรเรียงลําดับจากของายไปหายาก

ลักษณะคําถามของแบบทดสอบอัตนัย

ขอสอบอัตนัยอาจเขียนคําถามไดหลากหลายแตกตางกันดังนี้ 1. ถามใหนิยามหรืออธิบายความหมาย 2. ถามใหจัดลําดับเร่ืองราวหรือลําดับเหตุการณ 3. ถามใหจัดหรือแยกประเภทสิ่งของหรือเร่ืองราวตาง ๆ 4. ถามใหอธิบายเหตุการณหรือกระบวนการ 5. ถามใหเปรียบเทียบเหตุการณ ความคลายคลึงและความแตกตาง 6. ถามใหออกแบบ เขียนเคาโครงหรือวางแผนการดําเนนิงานตาง ๆ 7. ถามใหอธิบายเหตุผลยอ ๆ ในการสนบัสนนุหรือคัดคาน 8. ถามใหวิเคราะหเร่ืองราวหรือวิเคราะหความสัมพนัธ 9. ถามใหชี้แจงหลักการหรือจุดประสงค 10. ถามใหอภิปรายแสดงความคิดเห็น วิพากษวิจารณอยางกวางขวาง 11. ถามใหนําหลักการไปใชในการแกปญหาในสถานการณตาง ๆ

หลักการตรวจใหคะแนน 1. เขียนแนวเฉลยไวกอน และระบุคะแนนวา ประเด็นใด ตอนใด ควรไดก่ีคะแนน 2. ไมควรดูชื่อผูสอบ เพ่ือปองกันไมใหเกิดอคติในการใหคะแนน 3. การตรวจใหคะแนนควรตรวจทีละขอของทุก ๆ คนจนครบหมดทุกขอแลวจึงตรวจขอใหม เพ่ือจะได

เปรียบเทียบระหวางคําตอบของแตละคน เชน ตรวจขอท่ี 1 ของทุกคน แลวจึงคอยตรวจขอตอไป เปนตน 4. การตรวจใหคะแนน ควรยึดในสวนท่ีเปนความรูท่ีตองการวัดมาเปนสวนสําคัญในการพิจารณาให

คะแนน ไมควรใหคะแนนความถูกตองในการสะกดคาหรือการใชไวยากรณ 5. เกณฑในการตรวจใหคะแนน ควรใชท้ังเกณฑดานเนื้อหา เกณฑดานการจัดลําดับความคิด–

การเรียบเรียงเรื่อง และเกณฑดานกระบวนการทางสมอง นอกจากนี้ตองพิจารณาในเรื่อง - ความถูกตองตรงประเด็นท่ีถาม - ความสมบูรณครบถวนของประเด็นท่ีถาม - ความสมเหตุสมผลของคาตอบ

Page 44: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

40 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ข้ันตอนการสรางเครื่องมือแบบอัตนัย 1. วิเคราะหตัวชี้วัด เพ่ือหาคําสําคัญท่ีเปนเปาหมายในการเรียนรู 2. กําหนดพฤติกรรมท่ีตองการวัดใหชัดเจน ควรวัดพฤติกรรมตั้งแตระดับนําไปใชข้ึนไป 3. เลือกรูปแบบของขอสอบ คือ แบบจํากัดคําตอบหรือแบบไมจํากัดคําตอบ 4. เขียนคําถามใหชัดเจนวาตองการใหผูตอบทําอะไร อยางไร เชน อธิบาย วิเคราะห ฯลฯ โดยใช

สถานการณใหมใหตางจากท่ีเคยเรียนหรือท่ีอยูในตํารา 5. ถามเฉพาะสิ่งท่ีเปนประเด็นสําคัญของเรื่อง 6. กําหนดความซับซอนและความยากใหเหมาะกับวัยของผูตอบ 7. ควรเฉลยคําตอบไปพรอมๆ กับการเขียนขอสอบ 8. ไมควรใหมีการเลือกตอบบางขอ

จะสรางขอสอบแบบอัตนัยท่ีดีไดอยางไร เรามักไดยินคํากลาวเก่ียวกับขอสอบแบบอัตนัยวา มีขอดีตรงท่ีเปนวิธีการท่ีมีประสิทธิภาพในการ

ประเมินผลการเรียนรูท่ีมีความซับซอน ไดแก ทักษะการคิด และการใหเหตุผล นอกจากนี้ ยังสรางงายกวาขอคําถามชนิดเลือกตอบ เนื่องจากไมตองสรางตัวเลือกท่ีมีประสิทธิภาพ คํากลาวนี้อาจเปนความเขาใจท่ีไมถูกตองนัก เพราะการสรางข้ัอสอบแบบอัตนัยท่ีดีมีประสิทธิภาพ ตองมีหลักการ เง่ือนไขในการสรางเชนกัน จึงขอใหพิจารณาจากกรณีตอไปนี้

ขอคําถามแบบอัตนัย ไมสามารถประเมินทักษะการคิดระดับสูงไดโดยอัตโนมัติ โดยท่ัวไปขอคําถามแบบอัตนัยจะวัดเพียงระดับการระลึกได (Recall) ท่ีไมใชการคิดระดับสูง และมีการตรวจใหคะแนนโดยสรุปวา คะแนนนั้นสะทอนความคิดระดับสูง ซ่ึงเปนการสรุปท่ีไมถูกตอง ดังตัวอยางขอคําถามตามกรณีตอไปนี้

ตัวอยาง ก

อะไรเปนขอดี และขอจํากัดท่ีสําคัญของขอคําถามแบบอัตนัย?

ตัวอยาง ข

ใหแสดงขอดี และขอจํากัดของขอคําถามแบบอัตนัยในการประเมินความสามารถในการสรางทางเลือกในการแกปญหา โดยคําตอบจะตองอธิบายขอดีและขอจํากัดของขอคําถามแบบอัตนัยอยางยอ พรอมแสดงเหตุผล อธิบายเหตุผล สนับสนุน หรือโตแยงดวย

ตัวอยาง ก ประเมินเพียงความรูเก่ียวกับขอเท็จจริง ขณะท่ีตัวอยาง ข ไมเพียงใหผูตอบแสดงขอเท็จจริงเทานั้น แตใหประเมินตัดสินดวยการอธิบายเหตุผลในการพิจารณาประกอบ ตัวอยาง ข จึงเปนขอคําถามท่ีตองการใหผูตอบไดแสดงความคิดท่ีซับซอนมากกวาตัวอยาง ก

ฉะนั้น ขอใหระลึกไวเสมอวา การสรางขอคําถามแบบอัตนัยท่ีดีมีประสิทธิภาพ จําเปนตองมีหลักการในการสรางโดย “ตองชี้ใหผูตอบเห็นวา จะตองใชการคิดชนิดใด เนื้อหาท่ีจะตองในการตอบคําถามคืออะไร” นั่นก็คือ ตองมีการกําหนดภาระงานท่ีชัดเจน เพ่ือคําตอบท่ีไดมีความเท่ียงตรง ทําใหไดขอมูลหลักฐาน สะทอนความรูความสามารถของผูตอบไดอยางถูกตอง นอกจากนี้ การเขียนขอคําถามท่ีมีกรอบโครงสรางภาระงานท่ีชัดเจนจะชวยปองกันปญหาการตบตาและความยุงยากในการตรวจใหคะแนน ซ่ึงเปนปญหาท่ีมักจะเกิดข้ึนกับขอสอบแบบอัตนัย

Page 45: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 41

ตัวอยางการสรางขอสอบอัตนัย

กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ช้ันประถมศึกษาปท่ี 6 สาระท่ี 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐาน ค 5.1 เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ตัวช้ีวัด 1. อานขอมูลจากกราฟเสนและแผนภูมิรูปวงกลม 2. เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน

การวิเคราะหตัวช้ีวัด กําหนดพฤติกรรม และเลือกรูปแบบของขอสอบ ตัวช้ีวัด คําสําคัญ ระดับพฤติกรรมท่ีตองการ

วัด รูปแบบของขอสอบ

1. อานขอมูลจากกราฟเสนและแผนภูมิรูปวงกลม

อานขอมูล วิเคราะห แบบจํากัดคําตอบ

2. เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน

เขียนแผนภูมิ วิเคราะห แบบไมจํากัดคําตอบ

เขียนคําถามโดยใชสถานการณใหมใหตางจากท่ีเคยเรียน

ตัวช้ีวัดท่ี 1 อานขอมูลจากกราฟเสนและแผนภูมิรูปวงกลม ขอ 1) ผลการสํารวจชนิดน้ําผลไมท่ีนักเรียนชอบดื่ม จากนักเรียน 200 คน แสดงเปนแผนภูมิไดดังนี้ คําถาม: จํานวนนักเรียนท่ีชอบดื่มน้ําผลไมชนิดใดรวมกัน เทากับจํานวนนักเรียนท่ีชอบดื่มน้ําสม แนวคําตอบ: น้ําแอปเปลรวมกับน้ําองุน

จํานวน (คน)

ชนิด 0

10

20

30

40

50

60

70

80

น้ําสม น้ําฝรั่ง น้ําแอปเปล น้ําองุน น้ําสับปะรด

Page 46: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

42 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ขอ 2) สถิติการขายหนังสือของรานคาแหงหนึ่ง แสดงไดดังนี้ คําถาม: ถารานนี้ขายหนังสือไปท้ังหมด 300 เลม อยากทราบวาขายหนังสือนิยายไปจํานวนเทาไร แนวคําตอบ: ขายหนังสือนิยาย 36 เลม

ตัวช้ีวัดท่ี 2 เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน คะแนนเฉลี่ยผลการสอบของนักเรียน 2 หอง ดังนี้

หองเรียน วิชา / คะแนน

ภาษาไทย คณิตศาสตร วิทยาศาสตร ภาษาอังกฤษ สังคมศึกษา หอง 1 65 73 68 70 82 หอง 2 69 78 66 59 79

คําถาม: ขอ 1) จงเขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบผลการสอบของนักเรียน ขอ 2) จงเขียนกราฟเสนแสดงผลการสอบของนักเรียน แนวคําตอบ: 1. เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบใหมีองคประกอบครบถวน ถูกตอง 2. เขียนกราฟเสนใหมีองคประกอบครบถวน ถูกตอง

----------------------------------------------

การตูน

40%

นิทาน

20%

นิยาย

12%

เรื่องสั้น

28%

Page 47: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 43

ใบงานท่ี 4.1 การเขียนขอสอบอัตนัย

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง 1. ใหผูเขาอบรมนําตัวชี้วัดท่ีวิเคราะหคําสําคัญไวแลวในหนวยท่ี 3 มาสรางขอสอบอัตนัยโดยพิจารณา

เนื้อหา/สาระแกนกลางท่ีกําหนดไวในหลักสูตรตามระดับชั้น 2. เลือกรูปแบบขอสอบ ระบุพฤติกรรมท่ีตองการวัด 3. เขียนโจทยหรือคําถามใหเหมาะสม/สอดคลองกับรูปแบบขอสอบและพฤติกรรมท่ีเลือก 4. กําหนดแนวคําตอบและเกณฑการใหคะแนน 5. บันทึกผลงานท้ังหมดลงในใบงานท่ี 4.1

มาตรฐานท่ี/ตัวช้ีวัด เนื้อหา/สาระแกนกลาง

รูปแบบขอสอบ จํากัดคําตอบ (Restricted Response) ไมจํากัดคําตอบ (Unrestricted Response) ระดับพฤติกรรมท่ีวัด ความจํา ความเขาใจ การนําไปใช

การวิเคราะห การประเมินคา การสรางสรรค โจทยหรือคําถาม

……………………………………………………………………………………….………………………………………………………….………

………………………………………………………………………………………………………………….………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………….…………………………………………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….…

…………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….……

แนวคําตอบ (เฉลย) …………………………………………………………………………………………………………………………………………..….……..……

…………………………………………………………………………………………………………………………………………..….………..…

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………….….…

……………………………………………………………………………………………………………………………………………….……….…

……………………………………………………………………………………………………………………………………………..……………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………

เกณฑการตรวจใหคะแนน Holistic Rubric Analytic Rubric

……………………………………………………………………………………………………………………………………………………..……

………………………………………………………………………………………………………………………………………………….………. ……………………………………………………………………………………………………………………………………………….…………. …………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

………………………………………………………………………………………………………………………………………………..…………

…………………………………………………………………………………………………………………………………………………..………

Page 48: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

44 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบงานท่ี 4.2 วิพากษขอสอบอัตนัย

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง 1. ใหผูเขาอบรมนําขอสอบท่ีสรางเสร็จแลว มารวมกันพิจารณา/วิพากษตามประเด็นท่ีกําหนด 2. บันทึกผลการพิจารณา/วิพากษแตละประเด็นลงในใบงานท่ี 4.2

ผลการพิจารณาขอสอบ ขอท่ี .....................

1. สถานการณมีขอมูลเพียงพอและจําเปนตอการตอบคําถามหรือไม เพียงพอ ไมเพียงพอ เหตุผล/ขอเสนอแนะ ...........................................................................................................................................

2. สถานการณมีความชัดเจนหรือไม ชัดเจน ไมชัดเจน เหตุผล/ขอเสนอแนะ ...........................................................................................................................................

3. สถานการณเหมาะสมกับระดับผูเรียนหรือไม เหมาะสม ไมเหมาะสม เหตุผล/ขอเสนอแนะ ...........................................................................................................................................

4. คําถามสอดคลองกับสถานการณหรือไม สอดคลอง ไมสอดคลอง เหตุผล/ขอเสนอแนะ ...........................................................................................................................................

5. คําถามชัดเจนหรือไม ชัดเจน ไมชัดเจน เหตุผล/ขอเสนอแนะ ...........................................................................................................................................

6. คําถามสอดคลองกับตัวชี้วัดหรือไม สอดคลอง ไมสอดคลอง เหตุผล/ขอเสนอแนะ ...........................................................................................................................................

7. คําถามเปดโอกาสใหอธิบายวิธีคิด แสดงวิธีทํา หรือใหเหตุผลหรือไม ใช ไมใช เหตุผล/ขอเสนอแนะ ...........................................................................................................................................

ขอเสนอแนะอ่ืน ๆ …………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..

ลงชื่อ ....................................................... ผูวิพากษ

Page 49: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

45 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 5 การเขียนเกณฑการใหคะแนน

กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ

การอบรม เวลา ส่ือ/ประกอบ

รับฟงการบรรยาย การเขียนเกณฑการใหคะแนน บรรยาย 1 ชั่วโมง - ppt: การเขียนเกณฑการประเมิน (Rubric)

ปฏิบัติกิจกรรม ตรวจสอบความรูเรื่อง เกณฑการใหคะแนน (Rubric)

ศึกษาใบความรู ปฏิบัติ

15 นาที - ใบความรูท่ี 5 เรื่องเกณฑการใหคะแนน (Rubric) - กิจกรรมท่ี 5.1 - ใบความรูท่ี 5.1

สรางเกณฑการใหคะแนน ปฏิบัติ 1 ชั่วโมง 15 นาที

- ใบกิจกรรมท่ี 5.2

วิพากษผลงาน ผลการปฏิบัติงาน “เกณฑการใหคะแนน”

ปฏิบัติ 30 นาที - เกณฑการใหคะแนนตามกิจกรรมท่ี 5.2

Page 50: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

46 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 5 การเขียนเกณฑการใหคะแนน

สาระสําคัญ เกณฑการใหคะแนน (Scoring Rubrics) เปนเครื่องมือท่ีใชในการประเมินการปฏิบัติงานหรือผลงาน

ของผูเรียน เนื่องจากความสําเร็จของการปฏิบัติงานหรือผลงานจะตองตัดสินท่ีคุณภาพ โดยมีเกณฑหรือประเด็นการประเมินเปนองคประกอบในการพิจารณา ซ่ึงเกณฑการใหคะแนนจะตองมีองคประกอบสําคัญ คือ เกณฑหรือประเด็นท่ีจะประเมิน (criteria) ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ (Performance Level) และการบรรยายคุณภาพของแตละระดับความสามารถ (Quality Description)

วัตถุประสงค 1. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมมีความรู ความเขาใจในความหมายและความสําคัญของเกณฑการให

คะแนนได 2. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมสามารถเขียนเกณฑการใหคะแนนของขอสอบอัตนัยแบบเขียนตอบได 3. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมสามารถวิพากษและใหขอเสนอแนะในการปรับปรุงเกณฑการใหคะแนน

ของขอสอบอัตนัยแบบเขียนตอบได

เวลา ใชเวลา 3 ชั่วโมง

บทบาทของผูเขารับการอบรม 1. ฟงการบรรยาย 2. ศึกษาใบความรู 3. ปฏิบัติกิจกรรม 4. วิพากษผลงาน

กิจกรรม 1. วิทยากรบรรยายใหความรูตามเอกสารประกอบการบรรยาย เรื่อง เกณฑการประเมิน (Rubric)

(Power Point, ใบความรูท่ี 5) 2. ผูเขาอบรมศึกษาใบความรูท่ี 5 และปฏิบัติกิจกรรม “ตรวจสอบความรูเรื่อง เกณฑการใหคะแนน

(Rubric)” (กิจกรรมท่ี 5.1) 3. ผูเขาอบรมปฏิบัติกิจกรรม “สรางเกณฑการใหคะแนน” (กิจกรรมท่ี 5.2) 4. ผูเขาอบรมรวมกันพิจารณา วิพากษ และปรับปรุงแกไขเกณฑการใหคะแนนของกลุม

สื่อ 1. กิจกรรม (5.1, 5.2) 2. ใบงาน (5.1) 3. เอกสารประกอบการบรรยาย 4. ใบความรูท่ี 5 เกณฑการประเมิน (Rubric)

- power point เรื่อง เกณฑการประเมิน (Rubric) 5. ผลการปฏิบัติงาน: เกณฑการใหคะแนน

Page 51: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 47

วิธีการประเมิน 1. ตรวจแบบทดสอบความรู เรื่องเกณฑการประเมิน (Rubric) 2. ประเมินผลงานการสรางเกณฑการประเมิน (Rubric) 3. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของผูเขารับการอบรม

Page 52: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

48 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบความรูท่ี 5 เกณฑการประเมิน (Rubric)

เกณฑการประเมิน (Rubric) คืออะไร เกณฑการประเมิน (Rubric) คือ แนวการใหคะแนนเพ่ือประเมินผลงานหรือประเมินการปฏิบัติงานของ

ผูเรียน หรืออาจกลาวไดวา Rubric เปนเครื่องมือใหคะแนนชนิดหนึ่ง ใชในการประเมินการปฏิบัติงานหรือผลงานของผูเรียน

องคประกอบของเกณฑการประเมิน (Rubric) เกณฑการประเมิน (Rubric) มีองคประกอบ 3 สวน คือ 1. เกณฑหรือประเด็นท่ีจะประเมิน (criteria) เปนการพิจารณาวาการปฏิบัติงานหรือผลงานนั้น

ประกอบดวยคุณภาพอะไรบาง 2. ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ (Performance Level) เปนการกําหนดจํานวนระดับของ

เกณฑ (criteria) วาจะกําหนดก่ีระดับ สวนมากจะกําหนดข้ึน 3-6 ระดับ 3. การบรรยายคุณภาพของแตละระดับความสามารถ (Quality Description) เปนการเขียนคําอธิบาย

ความสามารถใหเห็นถึงความแตกตางอยางชัดเจนในแตละระดับ ซ่ึงจะทําใหงายตอการตรวจใหคะแนน

ชนิดของเกณฑการประเมิน (Rubric) เกณฑการประเมิน (Rubric) มี 2 ชนิด คือ เกณฑการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric) และ

เกณฑการประเมินแบบแยกสวน (Analytic Rubric) เกณฑการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric) เปนการประเมินภาพรวมของการปฏิบัติงานหรือ

ผลงาน โดยดูคุณภาพโดยรวมมากกวาดูขอบกพรองสวนยอย การประเมินแบบนี้เหมาะกับการปฏิบัติท่ีตองการใหนักเรียนสรางสรรคงานท่ีไมมีคําตอบท่ีถูกตองชัดเจนแนนอน ผูประเมินตองอานหรือพิจารณา ผลงานใหละเอียด สวนใหญ มักกําหนดระดับคุณภาพอยูท่ี 3-6 ระดับ

เกณฑการประเมินแบบแยกสวน (Analytic Rubric) เปนการประเมินท่ีตองการเนนการตอบสนองท่ีมีลักษณะเฉพาะ ไมเนนความคิดสรางสรรค ผลลัพธข้ันตนจะมีคะแนนหลายตัว ตามดวยคะแนนรวม ใชเปนตัวแทนของการประเมินหลายมิติ เกณฑการประเมินแบบนี้จะไดผลสะทอนกลับคอนขางสมบูรณ เปนประโยชนสําหรับผูเรียนและผูสอนมาก ผูสอนท่ีใชเกณฑการประเมินแบบแยกสวนนี้ จะสามารถสรางเสนภาพ (Profile) จุดเดน-จุดดอย ของผูเรียนแตละคนได

ประโยชนของเกณฑการประเมิน (Rubric) 1. ชวยใหความคาดหวังของครูท่ีมีตอผลงานของผูเรียน บรรลุความสําเร็จได 2. ชวยใหครูเกิดความกระจางชัดยิ่งข้ึน วาตองการใหผูเรียนเกิดการเรียนรูหรือมีพัฒนาการอะไรบาง 3. ผูเรียนจะเกิดความเขาใจและสามารถใชเกณฑการประเมินตัดสินคุณภาพผลงานของตนเองและของ

คนอ่ืนอยางมีเหตุผล 4. ชวยใหผูเรียนระบุคุณลักษณะจากงานท่ีเปนตัวอยางไดโดยใชเกณฑการประเมินตรวจสอบ 5. ชวยใหผูเรียนสามารถควบคุมตนเองในการปฏิบัติงานเพ่ือไปสูความสําเร็จได 6. เปนเครื่องมือในการเชื่อมโยงความสัมพันธระหวางกิจกรรมการปฏิบัติงานตาง ๆ ของผูเรียนไดเปน

อยางดี 7. ชวยลดเวลาของครูผูสอนในการประเมินงานของผูเรียน

Page 53: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 49

8. ชวยเพ่ิมคุณภาพผลงานของผูเรียน 9. สามารถยืดหยุนตามสภาพของผูเรียน 10. ทําใหบุคลากรท่ีเก่ียวของ เชน ผูปกครอง ศึกษานิเทศก หรืออ่ืน ๆ เขาใจในเกณฑการตัดสินผลงาน

ของผูเรียนท่ีครูใชชวยในการใหเหตุผลประกอบการใหระดับคุณภาพได

ข้ันตอนการสรางเกณฑการประเมิน (Rubric) ปจจุบันมีการจัดพิมพรูบริคในหนังสือตาง ๆ ครูอาจนํามาปรับใชใหเหมาะสมกับหลักสูตรและการสอน

ของตนเองได เพ่ือชวยยกระดับการเรียนโดยเพ่ิมอิทธิพลของรูบริคก็สามารถทําได กระบวนการสรางรูบริค มีหนวยงานทางการศึกษาและนักวิชาการหลายทาน ไดเสนอแนวทางการสรางไวหลากหลาย มีท้ังใหนักเรียนมีสวนรวมและผูสอนสรางเอง ในท่ีนี้ขอเสนอ 3 แนวทาง ดังนี้

สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน เสนอแนวทางการสรางเกณฑการประเมิน ดังนี้

ข้ันท่ี 1 วิเคราะหและระบุตัวชี้วัดท่ีใชเกณฑการประเมินเปนเครื่องมือในการวัดและประเมินผล ข้ันท่ี 2 อธิบายคุณลักษณะ ทักษะ หรือพฤติกรรมท่ีผูสอนตองการเห็น รวมท้ังขอผิดพลาดท่ัว ๆ ไปท่ีไม

ตองการใหเกิด ข้ันท่ี 3 อธิบายลักษณะการปฏิบัติท่ีสูงกวาระดับคาเฉลี่ย ระดับคาเฉลี่ย และต่ํากวาระดับคาเฉลี่ย

สําหรับแตละคุณลักษณะท่ีสังเกตจากข้ันท่ี 2 ข้ันท่ี 4 สําหรับเกณฑการประเมินแบบภาพรวม เขียนคําบรรยายลักษณะงานท่ีดีและงานท่ีไมดี โดยรวม

ทุกเกณฑหรือทุกคุณลักษณะเขาดวยกันเปนขอความเดียว สําหรับเกณฑการประเมินแบบแยกสวน เขียนคําบรรยายลักษณะงานท่ีดีและงานท่ีไมดี โดยแยกแตละเกณฑหรือแตละคุณลักษณะ

ข้ันท่ี 5 สําหรับเกณฑการประเมินแบบภาพรวม เขียนรายละเอียดการปฏิบัติท่ีอยูระหวางกลางของระดับสูงกวาคาเฉลี่ย ระดับคาเฉลี่ย และระดับตํ่ากวาคาเฉลี่ย เพ่ือใหเกณฑการประเมินสมบูรณ สําหรับเกณฑการประเมินแบบแยกสวน เขียนรายละเอียดสําหรับการปฏิบัติท่ีอยูระหวางกลางของทุกเกณฑหรือทุกคุณลักษณะ

ข้ันท่ี 6 รวบรวมตัวอยางผลงานของผูเรียนซ่ึงเปนตัวแทนของแตละระดับ ซ่ึงจะชวยการใหคะแนนในอนาคตของครู

ข้ันท่ี 7 ทบทวนเกณฑการประเมินท่ีทําแลว การสรางเกณฑการประเมิน จะตองศึกษาและพิจารณาจากตัวอยางงานหรือผลการปฏิบัติหลาย ๆ

ตัวอยางท่ีมีระดับความแตกตางกันตั้งแตดีท่ีสุดถึงแยท่ีสุด 1. เขียนอธิบายคุณภาพของงานโดยใชถอยคําท่ีบอกถึงคุณภาพท่ีสูงกวา หรือสิ่งท่ีขาดหายไปจากงาน

นั้นเพ่ือใหสามารถแยกแยะความเหมือนหรือความแตกตางของแตละระดับคุณภาพ โดยพยายามหลีกเลี่ยงคําขยายเชิงเปรียบเทียบท่ีเปนนามธรรม

2. กําหนดระดับของการประเมินใหพอเหมาะกับความสามารถท่ีจะกําหนดความแตกตางตามระดับคุณภาพไดอยางพอเพียง ไมมากเกินไป โดยท่ัวไปจะอยู ใน 6 ระดับ หรือ 12 ระดับ คําอธิบายระดับคุณภาพ กําหนดใหเหมะสมกับวัยของผูเรียนเพ่ือท่ีเขาจะสามารถประเมินตนเองได และปรับปรุงตัวเองไดตามระดับคุณภาพนั้น ในกรณีนี้มีขอแนะนําคือในแตละระดับควรมีตัวอยางงานท่ีไดรับการประเมินในระดับนั้น ๆ ใหเห็นชัดเจน สามารถเปรียบเทียบไดและเปนรูปธรรม

3. เกณฑการประเมินตองเนนใหเห็นถึงผลกระทบอันเนื่องมาจากการปฏิบัติงานนั้น ผลประโยชนท่ีเกิดข้ึนจากการท่ีผูเรียนไดสรางผลงานนั้นโดยเนนกระบวนการและความพยายามในการปฏิบัติงานนั้น

Page 54: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

50 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

เทคนิควิธีการกําหนดเกณฑการประเมิน สิ่งท่ีจําเปนจะตองกําหนดหรือระบุไวในการพิจารณาคุณสมบัติของเกณฑการประเมินมีดังนี้ 1. ความตอเนื่อง

ความแตกตางระหวางระดับคุณภาพในมาตรวัดจะตองตอเนื่อง และมีขนาดเทากัน เชน ความแตกตางระหวางระดับ 5 กับ 4 จะตองมีขนาดเทากับความแตกตางระหวาง 2 กับ 1 ซ่ึงเปนคุณสมบัติของตัวเลขในมาตราอันตรภาค (interval scale) ท้ังนี้ คุณภาพของสิ่งท่ีประเมินจะมีคุณสมบัติตอเนื่อง (continuous variable)

2. ความคูขนาน คําอธิบายในแตละระดับคุณภาพจะตองใชคําหรือภาษาท่ีคูขนานกันตลอดทุกชวงของมาตรวัด

3. ยึดสมรรถภาพท่ีตองการประเมิน เกณฑการประเมินจะตองเนนท่ีตัวสมรรถภาพท่ีตองการประเมินสมรรถภาพเดียวกัน คําอธิบายใน

แตละระดับจะแตกตางกันเฉพาะในคุณภาพของงานหรือการปฏิบัตินั้น ของสมรรถภาพท่ีใชเปนหลักเฉพาะในเกณฑการประเมินท่ีพิจารณานั้น

4. กําหนดน้ําหนักของเกณฑการประเมิน เม่ือมีหลายเกณฑการประเมิน การกําหนดน้ําหนักความสําคัญของเกณฑจึงมีความจําเปนตามจุดเนน

หนักเบาของผลงาน หรือสมรรถภาพท่ีไดรับของการประเมินนั้น ๆ 5. ความเท่ียงตรง

เกณฑการประเมินจะตองมีหลักฐานแสดงใหเห็นถึงความเท่ียงตรงของการพิจารณาผลงานออกมาในรูปของระดับคะแนนท่ีเปนตัวแทนของพฤติกรรมใหเปนรูปธรรมท่ีปกติไมสามารถมองเห็นไดงาย ดังนั้น การใหระดับคุณภาพท่ีตางกันจะตอง

5.1 สะทอนใหเห็นถึงการวิเคราะหผลงานตามตัวอยางในระดับความสามารถตาง ๆ กัน 5.2 อธิบายคุณภาพของการปฏิบัติงานไมใชปริมาณงาน 5.3 เกณฑการประเมินจะตองไมพิจารณาเก่ียวของอ่ืนๆแตจะเนนเกณฑการแสดงออกตามสภาพ

จริง ดังตัวอยาง ในการพูด ผูเสนอหลายคน ใชบันทึกยอในการพูด แตเกณฑการประเมินไมพิจารณาการใชหรือไมใชบันทึกยอ แตจะพิจารณาประสิทธิภาพของการพูด ดังนั้นเกณฑการประเมินจะพิจารณาพฤติกรรมการนําเสนอและการเรียบเรียงขอสนเทศท่ีนําเสนอ

6. ความเชื่อม่ัน เกณฑการประเมินจะตองมีความคงเสนคงวาในการตัดสินใจใหระดับคุณภาพ ไมวาใครจะเปน

ผูประเมินหรือไมวาจะประเมินเวลาใด เกณฑการประเมินท่ีใชคําประเภทการลงความเห็นเชิงสรุป (เชน ดีมาก ใชไมได) และคําประเภทเปรียบเทียบ (เชน ดีกวา แยกวา) นั้น ควรใชคําท่ีเปนการอธิบาย หรือบรรยายลักษณะงาน หรือการกระทําจะชวยใหเกณฑการประเมินมีความเชื่อม่ันมากข้ึน

กิ่งกาญจน สิรสุคนธ เสนอแนวทางการสรางเกณฑการประเมิน ดังนี้ 1. ดูรูปแบบหรือดูตัวอยาง ใหนักเรียนดูตัวอยางงานท่ีดีและงานท่ีไมดี แลวใหบอกลักษณะท่ีทําใหงานดี

หรือไมดี 2. ทํารายการเกณฑ ใหอภิปรายตัวอยางงานเพ่ือเริ่มทํารายการเกณฑท่ีจะใชพิจารณาคุณภาพของงาน 3. ทําระดับคุณภาพใหชัดเจน อธิบายลักษณะคุณภาพดีท่ีสุดและแยท่ีสุด แลวจึงอธิบายคุณภาพของ

งานระดับกลาง โดยใชพ้ืนฐานความรูเก่ียวกับปญหาท่ัวไปและการอภิปรายเก่ียวกับงานท่ีคุณภาพไมคอยดี 4. ฝกใหนักเรียนใชรูบริคท่ีสรางข้ึนกับงาน ตัวอยาง โดยใหประเมินงานตัวอยางท่ีใหดูในข้ันท่ี 1

Page 55: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 51

5. กําหนดงานใหนักเรียนทําและใหประเมินโดยตนเองและโดยกลุม ในขณะท่ีนักเรียนทํางานก็ใหมี การประเมินตนเองและประเมินโดยกลุมเปนระยะ ๆ

6. ทบทวน ใหเวลานักเรียนทบทวนงาน โดยใชขอติชมโดยข้ันตอนท่ี 5 7. ใหครูประเมินของนักเรียนโดยใชรูบริคเดียวกับท่ีนักเรียนใชข้ันตอนท่ี 1 อาจจําเปนตองทํา หากงาน

ท่ีใหนักเรียนทํานั้น เปนงานท่ีนักเรียนไมคุนเคย ข้ันตอนท่ี 3 และข้ันตอนท่ี 4 มีประโยชนแตตองเสียเวลา ครูสามารถทําเองได โดยเฉพาะเม่ือใชรูบริคนั้นระยะหนึ่ง การใหนักเรียนมีประสบการณการประเมินโดยใชรูบริค อาจเริ่มตั้งแตการท่ีครูกําหนดระดับคุณภาพ กําหนดรายการเกณฑ ตรวจสอบกับนักเรียน ทบทวนและใชรูบริคนั้นประเมินตนเองประเมินกับกลุม และครูประเมิน ซ่ึงเปนข้ันตอนท่ี 5-7

ดร.ชัยวัฒน สุทธิรัตน. คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร ไดเสนอแนวการสรางเกณฑการประเมิน ดังนี้

การสรางรูบริคตองใหผูเรียนมีสวนรวม เพ่ือใหผูเรียนมีประสบการณในการใชรูบริคในการประเมินและชวยพัฒนา ปรับปรุง เปลี่ยนแปลงรูบริคใหเหมาะสมยิ่งข้ึน ซ่ึงข้ันตอนการสรางรูบริคมีดังนี้

ข้ันท่ี 1 ศึกษาตัวอยางช้ินงาน โดยใหผูเรียนไดเห็นตัวอยางชิ้นงานท่ีดีและไมดี ระบุคุณลักษณะท่ีทําใหชิ้นงานดีและลักษณะท่ีทําใหชิ้นงานไมดี ซ่ึงข้ันนี้มีความจําเปนในกรณีท่ีครูใหผูเรียนทํางานท่ีผูเรียนยังไมคุนเคยหรือเปนงานใหม

ข้ันท่ี 2 ระบุรายการท่ีเปนเกณฑ โดยการใหผูเรียนไดอภิปรายชิ้นงาน แลวนําความเห็นมาลงสรุปเปนเกณฑท่ีบอกวาชิ้นงานท่ีดีเปนอยางไร

ข้ันท่ี 3 ระบุระดับของคุณภาพ โดยการบรรยายลักษณะของชิ้นงานท่ีถือวามีคุณภาพท่ีดีท่ีสุดและบรรยายลักษณะชิ้นงานท่ีมีคุณภาพต่ําสุด จากนั้นบรรยายลักษณะ ท่ีอยูระหวางกลาง

ข้ันท่ี 4 ฝกใชเกณฑ โดยใหผูเรียนฝกใชรูบริคท่ีสรางข้ึนในการประเมินชิ้นงานท่ีนาเสนอเปนตัวอยางในข้ันท่ี 1

ข้ันท่ี 5 ประเมินตนเองและเพ่ือน โดยใหผูเรียนผลิตชิ้นงาน ขณะทางานใหหยุดบางชวงเพ่ือใหผูเรียนใชรูบริคประเมินชิ้นงานของตนเองและของเพ่ือน

ข้ันท่ี 6 แกไข ปรับปรุง โดยการเปดโอกาสใหผูเรียนแกไข ปรับปรุงชิ้นงานของตนเองจากขอเสนอแนะท่ีไดจากข้ันท่ี 5

ข้ันท่ี 7 ประเมินผลงาน โดยผูสอนใชรูบริคท่ีผูเรียนพัฒนาข้ึนในการประเมิน โดยนํารูบริคท่ีผูเรียนพัฒนาข้ึนและเคยใชแลวประเมินชิ้นงานของผูเรียน

Page 56: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

52 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ตัวอยาง เกณฑการใหคะแนน

จากกิจกรรมในหนวยท่ี 4 วิชาคณิตศาสตร ชั้น ป.6 ตัวชี้วัดท่ี 2 เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน ไดนําเสนอตัวอยางการออกขอสอบ และแนวทางการตอบมาแลว ดังนั้นในหนวยนี้จึงไดเสนอแนวทางการสรางเกณฑการใหคะแนน ดังนี้ เกณฑการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rubric) สาระท่ี 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐาน ค 5.1 เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ตัวช้ีวัด ค 5.1 ป.6/2 เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน

ปรับปรุง (1 คะแนน)

พอใช (2 คะแนน)

ดี (3 คะแนน)

แผนภูมมิีขอผิดพลาดมากกวา 1 รายการ แผนภูมมิีขอผิดพลาด 1 รายการ แผนภูมมิีความถูกตองครบทุกรายการ ไดแก 1. องคประกอบสําคัญของแผนภมูิครบถวน 2. การเปรียบเทียบความแตกตางของขอมูลชัดเจน 3. แทงแผนภูมิท่ีนําเสนอถูกตองทุกรายการ 4. ขนาดของแทงแผนภูมิและระยะหางเทากันท้ังหมด

เกณฑการประเมินแบบแยกสวน (Analytic Rubrics) สาระท่ี 5 การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน มาตรฐาน ค 5.1 เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล ตัวช้ีวัด ค 5.1 ป.6/1 เขียนแผนภูมิแทงเปรียบเทียบและกราฟเสน

คะแนน ประเด็น

ปรับปรุง (1 คะแนน)

พอใช (2 คะแนน)

ดี (3 คะแนน)

น้ําหนัก

1. องคประกอบของแผนภูม ิ

ขาดองคประกอบสําคัญของแผนภูมิ มากกวา 1 รายการ

ขาดองคประกอบสําคัญของแผนภูม ิจํานวน 1 รายการ

มีองคประกอบสําคัญของแผนภูมิครบถวน ไดแก ช่ือแผนภูม ิมาตราสวน ช่ือแกนนอน ช่ือแกนตั้ง

2

2. การเปรียบเทียบความแตกตางของแทงแผนภูม ิ

แทงแผนภูมิแสดงความแตกตางไมชัดเจน และกําหนดสญัลักษณแทนขอมูลแตละชุดไมตรงกับแทงแผนภูม ิ

แทงแผนภูมิแสดงใหเห็นความแตกตางชัดเจน แตการกําหนดสญัลักษณแทนขอมูลแตละชุดไมตรงกับแทงแผนภูม ิ

- แทงแผนภมูิแสดงใหเห็นความแตกตางชัดเจน - มีการกําหนดสัญลักษณแทนขอมูลแตละชุดตรงกับแทงแผนภูม ิ

3. ความครบถวนและถูกตองของขอมูล

แผนภูมิท่ีนําเสนอไมครบถวนหรือผิดพลาดท้ัง 2 รายการ

แผนภูมิท่ีนําเสนอครบถวน แตผิดพลาด 1 รายการ

แผนภูมิท่ีนําเสนอครบถวนและถูกตองทุกรายการ

4

4. ขนาดและระยะหางของแทงแผนภูม ิ

ขนาดและระยะหางของแทงแผนภูมไิมเทากัน มากกวา 1 แหง

ขนาดและระยะหางของแทงแผนภูมไิมเทากัน 1 แหง

ขนาดและระยะหางของแทงแผนภูมเิทากันท้ังหมด

2

Page 57: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 53

ตัวอยาง เกณฑการใหคะแนนการเขียนเรียงความ กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปท่ี 2 (LAS) ของสํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน คะแนน

ประเด็น 5 4 3 2 1

จุดเนนของเร่ืองท่ีนําเสนอ

- กําหนดจุดมุงหมายในบทนําดวยวิธีการท่ีเหมาะสม เชน การใชเกร็ดความรูอางคําพูดของคนอ่ืน - เขียนเรื่องไดสอดคลองกับประเด็นท่ีโจทยกําหนดตลอดเรื่อง - ยอหนาสุดทายเสนอภาพสรุปรวมท่ีสําคัญของเรื่อง - เขียนประเด็นท่ีตองการนําเสนอไดชัดเจน

- เขียนภาพรวมของเรื่องครบตามประเด็นท่ีนําเสนอในบทนํา - นําเสนอประโยคท่ีเปนใจความสาํคัญของเรื่องในบทนําของเรื่อง - เขียนเรื่องสวนใหญไดสอดคลองกับประเด็นท่ีโจทยกําหนด - ยอหนาสุดทายสอดคลองกับบทนําและเน้ือเรื่อง

- นําเสนอภาพรวมของเรื่องเกินหรือนอยกวาประเด็นท่ีนําเสนอในบทนํา - มีการระบุประเด็นสําคัญของเรื่องไวในบทนํา - เขียนเรื่องซ้ําไปซ้าํมา และไมจบสมบูรณ - เขียนเรื่องเปนไปตามโจทยท่ีกําหนดแตมีการเขียนออกนอกประเด็นเปนบางจุด - จบการเขียนเรื่องดวยประโยคสั้น ๆ

- เขียนเรื่องสอดคลองกับบางสวนของประเด็นท่ีกําหนด - เขียนเรื่องราวซ้ําไปซ้ํามา - ลักษณะการเขียนไมใชการเชิญชวน - ไมมีขอความท่ีแสดงการจบเรื่อง - ประเด็นท่ีนําเสนอไมชัดเจน

- เรื่องท่ีเขียนเปนการเลาเรื่องไปเรื่อย ๆ ไมแสดงจุดเนนของเรื่อง - เรื่องท่ีเขียนไมเปน ไปตามโจทยท่ีกําหนด

รายละเอียดเนื้อหาสาระท่ีนําเสนอ

- การเขียนรายละเอียดเพ่ือขยายความทุกประเด็นของเรื่องดวย ขอมูลท่ีถูกตองและมีความสมดุล - มีการใชคําหรือวลีท่ีนาสนใจในการเขียนขยายความประเด็นสําคัญของเรื่อง - สํานวนการเขียนมีความเหมาะสมกับช่ือเรื่อง จุดมุงหมาย และผูอาน

- มีการเขียนรายละเอียดเพ่ือขยายความประเด็น สวนใหญของเรื่องดวยขอมูลท่ีสอดคลองกัน - ปริมาณขอมลูท่ีใชขยายแตละประเด็นไมสมดลุกัน - มีการใชคําหรือวลีท่ีดึงดูดความสนใจผูอาน - สํานวนการเขียนนาสนใจ แตขาดความคงเสนคงวา

- มีการเขียนรายละเอียดเพ่ือขยายใจความสําคัญและรายละเอียด มีใจความสมบูรณ - รายละเอียดท่ีนํามาขยายใจความสําคัญยังขาดความลึกซึ้ง - ใชคํางายหรือซ้ํา ๆ - สํานวนการเขียนไมเหมาะสมกับเรื่องและผูอาน

- มีการเขียนรายละเอียดเพ่ือขยายใจความสําคัญบางประเด็นและมีรายละเอียดนอยหรือมีใจความไมสมบูรณ - เขียนรายละเอียดท่ัว ๆ ไปไมตรงประเด็นท่ีกําหนดหรือเขียนซ้ําไปซ้ํามา

- เขียนขอความเปนประเด็น ๆ โดยไมมีรายละเอียดขยาย - มีการเขียนรายละเอียดในบางประเด็น แตมีความสับสนวกวน - เน้ือหาสาระท่ีเขียนต่ํากวาหน่ึงหนากระดาษ

การจัดองค ประกอบของ เร่ืองท่ีนําเสนอ

- การเรียบเรียงสาระท่ีนําเสนอเหมาะสม และประเด็นท่ีนํา เสนอมีความสมเหตุสมผล - เรื่องท่ีเขียนนํา เสนอบทนํา เน้ือหา

- การจัดเรยีงเน้ือหาสาระแตละยอหนา มีความเหมาะสม ท้ังในสวนของบทนํา เน้ือหาและบทสรุป - สาระท่ีนําเสนอสวนใหญมีความ

- การนําเสนอเรื่อง ราวมีการแบงยอหนา ไดเหมาะสม แตโครงสรางของเรื่องยังไมปรากฏสวนนํา เน้ือหาและสวนสรุป อยางชัดเจน

- การนําเสนอเน้ือหาแบงยอหนาไม เหมาะสม - การนําเสนอเรื่องไมลื่นไหลประเด็นท่ีนําเสนอในแตละตอนไมเช่ือมโยงกัน

- การเรียบเรียงเน้ือหาสับสนหรือไมปรากฏ หลักฐานวามีการวางแผนกอนการเขียนเรื่อง - การดําเนินเรื่องราว

Page 58: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

54 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

คะแนน ประเด็น

5 4 3 2 1

และบทสรุปอยางชัดเจนและเสนอความคิดเปนลําดบั - ขอความในทุกยอหนามีประโยคท่ีเปนใจความสําคญัและมีการสรุปในตอนทายของยอหนา - นําเสนอโครงสรางของประโยคและสํานวนท่ีหลากหลาย - การเรียบเรียงเรื่องราวในแตละยอหนามีการรอยรดักันดี

สมเหตุสมผล - สาระท่ีนําเสนอสวนใหญมีความเช่ือมโยงระหวางประเด็น - ขอความในแตละยอหนาสวนใหญมีประโยคท่ีเปนใจความสําคญั - การเรียบเรียงประโยคและขอ ความในแตละยอหนามีความเหมาะ สมเขาใจงาย แตยัง ใชซ้ํา ๆ กันหลายจุด

- การเช่ือมโยงเรื่อง ราวในแตละยอหนา สรางความสับสนหรือเสนอซ้ํา ๆ - การเรียบเรียงประโยคไมสอดคลองกับประโยคท่ีเปนใจความสําคญั

- การเรียงประโยคยังไมมีจดุมุงหมายท่ีแนนอน

ไมจบอยางสมบูรณตามหลักการเขียนเรียงความ

ความสอดคลอง และเชื่อมโยง ของเร่ือง

- มีการวางโครงสรางรูปแบบการเขียนชัดเจนและใชรูปแบบการเขียนเรียงความเพ่ือเชิญชวน - เรื่องท่ีเขียนมีความยากเหมาะสมกับระดับช้ันท่ีเรยีน - งานเขียนมีการระบุรายละเอียดสําคญัมากและสมดุลชวยใหผูอานเขาใจเรื่องราวอยางชัดเจน - การเรียบเรียงประโยคและเรื่องราวมีความกลมกลืน

- มีการวางโครงสรางรูปแบบการเขียนชัดเจนและใชรูปแบบการเขียนเรียงความเพ่ือเชิญชวน - เรื่องท่ีเขียนมีความยากเหมาะสมกับระดับช้ันท่ีเรยีน - เรื่องท่ีเขียนใชโครงสรางท่ีงายและเหมาะสม - งานท่ีเขียนมีการระบุรายละเอียดท่ีชวยใหผูอานเขาใจเรื่องราวได

- มีการวางโครงสรางรูปแบบการเขียนชัดเจนและใชรูปแบบการเขียนเรียงความเพ่ือเชิญชวน - เรื่องท่ีเขียนมีความยากเหมาะสมกับระดับช้ันท่ีเรยีน - ผูอานจําเปนตองอาศัยการนึกภาพเพ่ิมเตมิเพ่ือทําความเขาใจเรื่องท่ีผูเขียนนําเสนอเน่ืองจากมีบางสวนเขียนไมสมบูรณ

- งานเขียนปรากฏหลักฐานการใชรูปแบบการเขียนเรียงความเพ่ือเชิญชวน - เรื่องท่ีเขียนยังมีความสับสนวกวน

- เขียนเรื่องวกวนสับสนตลอดเรื่อง - ความเช่ือมโยงของเรื่องขาดเปนตอน ๆ

Page 59: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 55

คะแนน ประเด็น

3 2 1

หลักภาษา - ใชประโยคท่ีมีโครงสรางท่ีหลากหลาย และไมมีขอผิดพลาด หรือมีความผดิบางในสวนท่ีไมสําคัญ - มีการสะกดผดินอยกวารอยละ 20 - ใชคําไดเหมาะสมกับความหมาย หนาท่ี และบริบทของเรื่อง

- ใชประโยคท่ีมีโครงสรางท่ีหลากหลาย และมีขอผิดพลาดบาง แตไมทําใหผูอาน มีความสับสน - มีการสะกดผดิรอยละ 20-50 - ใชคําไดเหมาะสมกับความหมาย หนาท่ี และบริบทของเรื่อง

- ใชประโยคท่ีงาย ๆ และมีขอผิดพลาดมากทําใหผูอาน มีความสับสน - สะกดคําผิดมากกวารอยละ 50 - ใชคําไมเหมาะสมกับความหมาย หนาท่ี และบริบทของเรื่อง

เกณฑการตัดสินใหคะแนน ไดคะแนนระหวาง 0-3 คิดเปน 1 คะแนน ไดคะแนนระหวาง 4-8 คิดเปน 2 คะแนน ไดคะแนนระหวาง 9-13 คิดเปน 3 คะแนน ไดคะแนนระหวาง 14-18 คิดเปน 4 คะแนน ไดคะแนนระหวาง 19-23 คิดเปน 5 คะแนน

Page 60: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

56 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบงานท่ี 5.1 ตรวจสอบความรู เร่ืองเกณฑการใหคะแนน (Rubric)

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง ใหผูเขารับการอบรมปฏิบัติตามข้ันตอนตอไปนี้ 1. ศึกษาใบความรูท่ี 5 เกณฑการใหคะแนน (Rubric) 2. ทําแบบทดสอบ เรื่อง เกณฑการใหคะแนน (Rubric) และตรวจคําตอบ โดยเติมเครื่องหมาย หนา

ขอท่ีเห็นวาถูกตอง และเติมเครื่องหมาย × หนาขอท่ีเห็นวาไมถูกตอง 3. สรางความเขาใจรวมกันระหวางสมาชิกในกลุม เก่ียวกับการสรางเกณฑการใหคะแนน (Rubric)

………1. Rubrics เปนเครื่องมือชนิดหนึ่งท่ีใชในการประเมินผลงานของผูเรียน ………2. องคประกอบท่ีสําคัญในการเขียน Rubrics ไดแกเกณฑการใหคะแนน ระดับคุณภาพและคําอธิบายระดับ

คุณภาพ ………3. Rubrics แบบภาพรวม ( Holistic Rubrics) เหมาะกับการปฏิบัติท่ีตองการใหนักเรียนสรางสรรค ไมมีคําตอบ

ท่ีถูกตองชัดเจน ………4. กระบวนการใหคะแนนเร็ว ครูตองอาน พิจารณาโดยตลอด นักเรียนไดรับผลสะทอนกลับนอยมาก เปนรูบริค

แบบแยกสวน (Analytic Rubrics) ………5. เกณฑการประเมินแบบแยกสวน เหมาะสําหรับการประเมินเพ่ือพัฒนาเพราะใหขอมูลยอนกลับไดดี ………6. การเขียนคําอธิบายในแตละระดับคุณภาพ จะเขียนใหแตกตางกันเฉพาะคุณภาพของงาน ………7. การกําหนดน้ําหนักของเกณฑการประเมินข้ึนอยูกับความจําเปนตามจุดเนนของผลงาน ………8. การเขียนเกณฑการประเมินผลงาน การกําหนดจํานวนระดับคุณภาพข้ึนอยูกับผูสอน ………9. จํานวนเกณฑหรือประเด็นการประเมิน ข้ึนอยูกับตัวชี้วัดท่ีตองการประเมิน ………10. ตัวชี้วัดทุกตัวในหลักสูตร สามารถวัดโดยใชเกณฑการประเมิน (Rubric) ………11. รูบริคเปนเครื่องมือการเรียนของนักเรียน ชวยปรับปรุงพัฒนาการการปฏิบัติและการแสดงออกของนักเรียน ………12. เกณฑหรือประเด็นท่ีจะประเมิน (Criteria) เปนการพิจารณาวาภาระงานหรือชิ้นงานนั้น ๆ ประกอบดวย

คุณภาพก่ีดาน อะไรบาง ………13. ระดับความสามารถหรือระดับคุณภาพ (Performance Level) เปนการกําหนดจํานวนระดับของเกณฑหรือ

ประเด็นท่ีจะประเมิน ………14. การบรรยายคุณภาพของแตละระดับความสามารถ (Quality Description) เปนการเขียนคําอธิบาย

ความสามารถใหเห็นถึงความแตกตางอยางชัดเจนในแตละระดับ ………15. เกณฑการประเมินท่ีดี เม่ือนําไปใชโดยครู นักเรียน ผูปกครองแลวผลการประเมินจะไมแตกตางกัน

.............................................................................

Page 61: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 57

ใบงานท่ี 5.2 การวิพากษเครื่องมือ

1. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

2. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

3. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

4. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

5. ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง ใหผูเขารับการอบรมแตละกลุมปฏิบัติตามข้ันตอนตอไปนี้ 1. ใหผูเขาอบรมทําขอสอบตามใบงานท่ี 4.1 2. สมาชิกแตละคนเปลี่ยนกันตรวจขอสอบ โดยใชเกณฑการใหคะแนนจากใบงานท่ี 4.1 3. สมาชิกในกลุมแลกเปลี่ยนแนวคิดเก่ียวกับปญหาท่ีพบ และแนวทางการแกไข/ปรับปรุง การใชเกณฑ

การตรวจใหคะแนน 4. รวมกันพิจารณาเลือกขอสอบท่ีปฏิบัติตามคําชี้แจงขอ 1-3 แลว จํานวน 1 ขอ สรุปตามประเด็นท่ี

กําหนดตอไปนี้ ขอสอบ/เกณฑ ปญหา แนวทางแกไข/ปรับปรุง

ขอสอบ

เกณฑการใหคะแนน

Page 62: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

58 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หนวยท่ี 6 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนแบบอัตนัย

กิจกรรม เนื้อหา รูปแบบ

การอบรม เวลา ส่ือ/ประกอบ

รับฟงการบรรยาย การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

บรรยาย 1 ชั่วโมง - ppt: การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ - ใบความรูท่ี 6 การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือ

ปฏิบัติกิจกรรม หาคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

ปฏิบัติ 1 ชั่วโมง 30 นาที

- กิจกรรมท่ี 6.1 – 6.3 - ใบงานท่ี 6.1–6.3

Page 63: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 59

หนวยที่ 6 การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิท์างการเรียนแบบอัตนัย

สาระสําคัญ การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย เปนสิ่งสําคัญในการพัฒนา

เครื่องมือใหมีประสิทธิภาพกอนนําไปใช โดยในลําดับแรกผูออกขอสอบตองประเมินวาผูสอบมีความรูในเนื้อหาและทักษะเพียงพอในการตอบคําถามขอนั้นหรือไม รวมท้ังการใชภาษาในการสื่อความตามวัยของผูสอบ แลวจึงดําเนินการตรวจสอบคาความเท่ียงตรง (Validity) โดยการพิจารณาความสอดคลองของขอคําถามกับตัวชี้วัดโดยผูเชี่ยวชาญ (IOC) หาคุณภาพของขอคําถามรายขอ ไดแก คาความยาก (Difficulty) คาอํานาจจําแนก (Discrimination power) และหาคุณภาพรายฉบับไดแก คาความเชื่อม่ัน (Reliability)

วัตถุประสงค 1. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมมีความรูความเขาใจเก่ียวกับการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย 2. เพ่ือใหผูเขารับการอบรมสามารถหาคาความเท่ียงตรง คาความยากงายและคาอํานาจจําแนกของ

เครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

เวลา ใชเวลา 2 ชั่วโมง 30 นาที

บทบาทของผูเขารับการอบรม 1. ฟงการบรรยาย

2. ศึกษาใบความรู 3. ปฏิบัติกิจกรรม

สื่อ 1. ใบกิจกรรม (6.1–6.3) 2. แบบบันทึกกิจกรรม (6.1–6.3) 3. เอกสารประกอบการบรรยาย

- ใบความรูท่ี 6 การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย 4. power point เรื่อง การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

วิธีการประเมิน 1. ตรวจและประเมินผลงานตามใบกิจกรรมท่ี 6.1-6.3 เรื่อง การตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือวัดผล

สัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย 2. สังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติงานของผูเขารับการอบรม

Page 64: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

60 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบความรูท่ี 6 เร่ือง การตรวจสอบคุณภาพของเคร่ืองมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัย

แบบทดสอบแบบอัตนัย (Essay) เปนขอสอบท่ีใหผูสอบเขียนตอบตามความคิดของตนเอง แมวาโดยท่ัวไปจะมีการนําไปใชนอย แตก็เปนเครื่องมือท่ีจําเปนในการวัดผล โดยเฉพาะในการวัดเก่ียวกับการสังเคราะห (Synthesis) ความสามารถในการอธิบายใหคนอ่ืนเขาใจ และความสามารถในการบูรณาการความรู การวัดในลักษณะเหลานี้ขอสอบแบบอัตนัยจะวัดไดดีมาก เนื่องจากการท่ีจะตอบขอสอบชนิดนี้ไดตองอาศัยความรอบรู ประสบการณ และความสามารถในการบูรณาการความรู

การตรวจสอบคุณภาพของแบบทดสอบแบบอัตนัย มีลักษณะเชนเดียวกับแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชนิดอ่ืน ๆ เชน แบบเลือกตอบ ถูกผิด เติมคํา จับคู เปนตน ซ่ึงมีคุณลักษณะสําคัญท่ีตองตรวจสอบ ประกอบดวย ความเท่ียงตรง (Validity) ความยากงาย (Difficulty) อํานาจจําแนก (Discrimination power) และความเชื่อม่ัน (Reliability) ดังรายละเอียดตอไปนี้

1. ความเท่ียงตรง (Validity) ความเท่ียงตรง เปนคุณลักษณะของเครื่องมือท่ีแสดงถึงความสามารถในการวัดในสิ่งท่ีตองการวัดได

อยางถูกตอง แมนยําวัดไดตรงตามสิ่งท่ีตองการวัด คุณสมบัติดานความเท่ียงตรงถือเปนหัวใจของการวัดและประเมินผล เครื่องมือท่ีมีความเท่ียงตรงสูงนั้นทําใหผลการวัดมีความหมาย ถูกตองแนนอน

ความเท่ียงตรงของเครื่องมือวัดผลมีหลายประเภท แตความเท่ียงตรงท่ีตองตรวจสอบเปนอับดับแรก คือความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหา (Content Validity) ซ่ึงการหาคาความเท่ียงตรงเชิงเนื้อหาของแบบทดสอบตามวิธีของ โรวิแนลลี่ (Rovinelli) และแฮมเบิลตัน (Hambleton) เรียกวา ดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงคเชิงพฤติกรรม (IOC: Index of item Objective Congruence) (พวงรัตน ทวีรัตน. 2543: 137)

การหาคา IOC ดําเนินการโดยใหผูเชี่ยวชาญอยางนอยจํานวน 3 คน ประเมินความสอดคลองของขอสอบแตละขอกับจุดประสงคหรือตัวชี้วัด และพิจารณาใหคะแนนแตละขอ ดังนี้

ให +1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความสอดคลองกับจุดระสงคหรือตัวชี้วัดท่ีตองการวัด ให 0 ถาไมแนใจวาขอคําถามหรือขอความสอดคลองกับจุดระสงคหรือตัวชี้วัดท่ีตองการวัด ให -1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความไมสอดคลองกับจุดระสงคหรือตัวชี้วัดท่ีตองการวัด

ท้ังนี้ อาจเตรียมแบบตรวจสอบความสอดคลองของขอสอบกับจุดประสงค ดังตัวอยาง

Page 65: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 61

จากนั้นนําคะแนนของผูเชี่ยวชาญทุกคนท่ีประเมินมาคํานวณหาคา IOC ตามสูตร แปลความหมายคา

IOC ท่ีคํานวณได และกรอกลงในแบบสรุปผลการตรวจสอบความสอดคลองของขอคําถามกับจุดประสงค ดังนี้

สูตรคํานวณคา IOC

IOC = N

R∑

เม่ือ IOC แทน คาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับจุดประสงค (Index of item Objective Congruence)

∑R แทน ผลรวมของคะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญท้ังหมด N แทน จํานวนผูเชี่ยวชาญท้ังหมด

เกณฑการแปลความหมายคา IOC IOC ≥ 0.5 แสดงวา ขอคําถามวัดไดตรงตามเนื้อหาและสอดคลองกับจุดประสงคท่ีตองการวัด IOC < 0.5 แสดงวา ขอคําถามวัดไมตรงตามเนื้อหาและไมสอดคลองกับจุดประสงคท่ีตองการวัด

ตัวอยาง แบบตรวจสอบความสอดคลองของขอสอบกับจุดประสงค (รายบุคคล) คําช้ีแจง โปรดพิจารณาขอสอบแตละขอท่ีแนบมาใหวา วัดไดตรงกับจุดประสงค/ตัวชี้วัดหรือไม

พรอมท้ังแสดงความคิดเห็นและขอเสนอแนะ โดยทําเครื่องหมาย ลงในชองความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ ซ่ึงมีความหมายดังนี้

+1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความสอดคลองกับจุดระสงคหรือตัวชี้วัดท่ีตองการวัด 0 ถาไมแนใจวาขอคําถามหรือขอความสอดคลองกับจุดระสงคหรือตัวชี้วัดท่ีตองการวัด -1 ถาแนใจวาขอคําถามหรือขอความไมสอดคลองกับจุดระสงคหรือตัวชี้วัดท่ีตองการวัด

จุดประสงค/ตัวชี้วัด ขอสอบขอท่ี ความคิดเห็นของ

ผูเชี่ยวชาญ ความคิดเห็น/ ขอเสนอแนะ

+1 0 -1

Page 66: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

62 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

2. คาความยากงาย (Difficulty) และคาอํานาจจําแนก (Discrimination Power) การตรวจสอบคุณภาพขอสอบดานความยากงายและอํานาจจําแนกของขอสอบแบบอัตนัย สามารถทํา

ไดโดยการประยุกตหลักการวิเคราะหขอสอบแบบเลือกตอบมาใช โดยการหาคาสัดสวนของคะแนนท่ีสอบไดในกลุมเกงและกลุมออน แลวคํานวณคาความยากงายและอํานาจจําแนกตามหลักการวิเคราะหขอสอบแบบเลือกตอบ (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552:244)

ความยากงายของขอสอบ (p) หมายถึงสัดสวนของจํานวนคนท่ีตอบขอสอบขอนั้นถูก ซ่ึงมีคาตั้งแต 0–1 ถาขอสอบขอใดมีคนตอบถูกมาก p จะมีคาสูง (เขาใกล 1) แสดงวาขอนั้นงาย ในทางตรงกันขามถาขอสอบขอใดมีคนตอบถูกนอย p จะมีคาต่ํา (เขาใกล 0) แสดงวาขอนั้นยาก โดยท่ัวไปขอสอบท่ีมีความยากงายพอเหมาะจะมีคา p ตั้งแต 0.2–0.8

อํานาจจําแนก (r) หมายถึง ความสามารถของขอสอบในการจําแนกความแตกตางระหวางผูสอบท่ีมีผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนตางกันออกจากกันได หรือผลตางระหวางสัดสวนจํานวนตอบถูกในกลุมสูงกับสัดสวนจํานวนตอบถูกในกลุมต่ํา อํานาจจําแนกของขอสอบจะมีคาตั้งแต -1 ถึง 1 แตขอสอบท่ีมีอํานาจจําแนกเหมาะสมควรมีคาเปนบวก และมีคาตั้งแต 0.2 เปนตนไป

การวิเคราะหคาความยากงายและอํานาจจําแนกของขอสอบตามหลักการดังกลาวขางตน สามารถกระทําไดโดยการวิเคราะหผลการตอบของผูสอบทุกคน (เทคนิค 50%) แตในกรณีมีผูสอบจํานวนมาก เพ่ือความสะดวกในการวิเคราะหสามารถใชผลการตอบของผูสอบเพียงบางสวนได เชน ใชกลุมสูงและกลุมต่ําเพียงกลุมละ 25%, 27% และ 30%

การวิเคราะหคาความยากงายและอํานาจจําแนกของขอสอบแบบอัตนัย ดําเนินการไดดังนี้ 1. ตรวจใหคะแนนขอสอบแตละขอ แลวรวมคะแนนทุกขอ 2. เรียงกระดาษคําตอบจากคะแนนสูงสุดลงมาหาต่ําสุด ถาใชเทคนิค 25% ใหคัดเอาเฉพาะผูท่ีได

คะแนนสูงสุด 25% ของท้ังหมดเปนกลุมสูง และผูท่ีไดคะแนนต่ําสุด 25% ของท้ังหมดเปนกลุมต่ํา กลุมท่ีเหลือเปนกลุมกลางมีจํานวน 50% ของท้ังหมด ไมนํามาใชในการวิเคราะห

3. บันทึกคะแนนของแตละคนในแตละขอลงในตาราง โดยแยกตามกลุม จากนั้นใหรวมคะแนนแตละขอของแตละกลุม ท้ังนี้อาจใชแบบฟอรมดังตัวอยางการวิเคราะหขอสอบแบบอัตนัยวิชาคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6 ดังนี้

ตัวอยางแบบสรุปผลการตรวจสอบความสอดคลองของขอคําถามกับจุดประสงค

จุดประสงค ขอสอบขอท่ี

คะแนนความคิดเห็นของผูเช่ียวชาญ รวม

คา IOC

แปลผล 1 2 3 4 5

1 1.1 1.2 1.3

+1 0 +1

+1 +1 +1

+1 +1 -1

0 0 +1

+1 +1 +1

4 3 3

.80

.60

.60

ใชได ใชได ใชได

2 2.1 2.2

0 +1

-1 -1

-1 0

-1 +1

+1 -1

-2 0

-.40 0

ใชไมได ใชไมได

Page 67: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 63

จากตารางจะเห็นวาขอสอบวิชาคณิตศาสตรมีจํานวนท้ังหมด 5 ขอ คะแนนเต็ม ขอละ 10 คะแนน

นักเรียนท่ีสอบมีจํานวนท้ังหมด 16 คน จึงมีกลุมสูงและกลุมต่ํากลุมละ 4 คน ซ่ึงเทากับ 25% ของ 16 คน ผูท่ีไดคะแนนสูงสุดทําได 42 คะแนน ตอบขอ 1 ถึง ขอ 5 ไดคะแนนตามลําดับดังนี้ 9, 8, 7, 8, 10

ผูท่ีไดคะแนนต่ําสุดทําได 16 คะแนน ตอบขอ 1 ถึงขอ 5 ไดคะแนนตามลําดับดังนี้ 2, 3, 2, 7, 2 ขอ 1 มีกลุมสูงทําไดคะแนนรวมท้ังหมด 33 คะแนน กลุมต่ําทําได 16 คะแนน

4. คํานวณคาความยากงายและอํานาจจําแนก โดยใชสูตรดังนี้ คาความยากงายหาจากสูตร

p = 2NM

LH∑ ∑+

คาอํานาจจําแนกหาจากสูตร

r = NM

LH∑ ∑−

เม่ือ p แทน คาความยาก r แทน คาอํานาจจําแนก ∑H แทน ผลรวมของคะแนนกลุมสูง

∑ L แทน ผลรวมของคะแนนกลุมต่ํา N แทน จํานวนคนในแตละกลุม

ตัวอยาง ตารางการเคราะหขอสอบแบบอัตนัยวิชาคณิตศาสตร ชั้นประถมศึกษาปท่ี 6

กลุม ผูสอบ ขอสอบขอท่ี

รวม 1 2 3 4 5

กลุมสูง

1 2 3 4

9 8 8 8

8 8 7 7

7 6 6 6

8 7 7 6

10 10 9 9

42 38 37 36

รวม 33 30 25 28 38

กลุมต่ํา

1

2 3 4

5 5 4 2

5 5 6 3

5 3 3 2

7 8 6 7

5 4 3 2

27 25 22 16

รวม 16 19 13 28 14

ผลการวิเคราะหรวม

p .61 .61 .47 .70 .65 r .42 .27 .30 .00 .60

สรุป ใชได ใชได ใชได ใชไมได ใชได

Page 68: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

64 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

M แทน คะแนนเต็มของขอสอบขอนั้น หรืออาจเขียนสูตรในรูปขอความไดดังนี้ คาความยาก = คาอํานาจจําแนก = ตัวอยาง การหาคาความยากของขอ 1

p = .6180

49

10 x 8

1633==

+

ตัวอยาง การหาคาอํานาจจําแนกของขอ 1

r = .4240

17

10 x 4

1633==

5. นําคาความยากและคาอํานาจจําแนกท่ีคํานวณไดบันทึกลงในตาราง และสรุปคุณภาพขอสอบขอนั้นวาใชไดหรือไม โดยขอสอบท่ีใชไดตองมีคาท่ีเหมาะสมท้ังคาความยากงายและอํานาจ จากตัวอยางวิเคราะหขอสอบแบบอัตนัยดังกลาวขางตน แสดงวาขอ 1, 2, 3, และ 5 มีคุณภาพเหมาะสม สวนขอ 4 ถึงแมวาคาความยากจะใชได แตไมมีอํานาจจําแนก จึงเปนขอท่ีใชไมได

3. ความเช่ือม่ัน (Reliability) ความเชื่อม่ันเปนคุณลักษณะของเครื่องมือท่ีแสดงวาเครื่องมือนั้นวัดสิ่งท่ีตองการวัดไมวาจะวัดก่ีครั้ง

หรือวัดในสภาพการณท่ีแตกตางกัน ก็ยังคงไดผลการวัดคงเดิม การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือดานความเชื่อม่ัน กระทําโดยการคํานวณสัมประสิทธิ์สหสัมพันธความ

เชื่อม่ัน คาท่ีคํานวณไดจะมีคาตั้งแต -1 ถึง +1 คาความเชื่อม่ันท่ีเหมาะสมควรมีคาเปนบวกและมีคาสูง โดยแบบทดสอบท่ีครูสรางข้ึนเพ่ือใชในชั้นเรียนนั้นควรมีคาสัมประสิทธิ์ความเชื่อม่ันตั้งแต 0.60 ข้ึนไป (เยาวดี วิบูลยศรี, 2539:102)

วิธีการคํานวณคาสัมประสิทธิ์ความเชื่อม่ันมีหลายวิธี สําหรับวิธีท่ีเหมาะสมสําหรับแบบทดสอบแบบ

อัตนัย คือ วิธีหาคาแอลฟาของครอนบัค (Cronbach’ s alpha) ซ่ึงมีสูตรคํานวณในการประมาณคา α จากกลุมตัวอยางดังนี้ (ศิริชัย กาญจนวาสี, 2552: 71)

α =

−∑

2

2

11

x

i

s

s

k

k

เม่ือ α แทน สัมประสิทธิ์ความเชื่อม่ันของแบบทดสอบ k แทน จํานวนขอคําถาม

2is แทน ความแปรปรวนของคะแนนขอท่ี i

2xs แทน ความแปรปรวนของคะแนนรวม x

ผลรวมของคะแนนกลุมสูง + ผลรวมของคะแนนกลุมต่าํ

จํานวนคนท้ังสองกลุม × คะแนนเต็มของขอสอบขอน้ัน

ผลรวมของคะแนนกลุมสูง - ผลรวมของคะแนนกลุมต่าํ

จํานวนคนในแตละกลุม × คะแนนเต็มของขอสอบขอน้ัน

Page 69: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 65

โดย ( )

n

xxs

i

∑ −=

2

2 เม่ือ n คือ จํานวนผูสอบ

ตัวอยาง แสดงคะแนนจากการคํานวณคาสัมประสิทธิ์แอลฟา

ผูสอบ ขอคําถาม

คะแนนรวม 1 2 3 4 5

1 6 8 9 1 7 31 2 8 8 8 2 4 30 3 0 3 6 1 3 13 4 2 1 1 0 2 6

รวม 16 20 24 4 16 80 คาเฉล่ีย 4 5 6 1 4 20

ข้ันตอนการคํานวณ 1) k = 5

2) 2xs =

( )n

xx∑ − 2

= 4

)206()2013()2030()2031( 2222 ++−+−+−

= 116.5

3) 21s =

( )n

xx∑ − 2

= 4

4)(24)(04)(84)(6 2222 −+−+−+−

= 10

2

2s = 9.5

2

3s = 9.5

2

4s = 0.5

2

5s = 3.5

4) 2

is∑ = 10 + 9.5 + 9.5 + 0.5 + 3.5 = 33.0

5) แทนคาในสูตร

6) α =

− 5.116

0.331

15

5

= 0.90

Page 70: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

66 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

กิจกรรมที่ 6.1 การตรวจสอบความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวช้ีวัด

คําช้ีแจง 1. แบงกลุมผูเขารับการอบรม กลุมละ 3-5 คน 2. ใหผูเขารับการอบรมทุกคนในกลุมนําแบบทดสอบท่ีพัฒนาไวแลวจากหนวยท่ี 4 มาจัดใสลงในใบงาน

ท่ี 6.1 ตารางท่ี 1 แบบตรวจสอบความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวชี้วัด 3. ผูเขารับการอบรมทุกคนในกลุม ผลัดกันเปนผูเชี่ยวชาญตรวจสอบ ประเมินความเหมาะสมของ

ขอสอบ 4. นําผลการประเมินของผูเชี่ยวชาญทุกคนจากขอ 3 บันทึกลงในใบงานท่ี 6.1 ตารางท่ี 2 5. คํานวณหาคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวชี้วัด แลวแปลผล 6. สรุปผลการวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวชี้วัดใตตารางท่ี 2

Page 71: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 67

ใบงานท่ี 6.1 การวิเคราะหหาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวช้ีวัด

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

ตารางท่ี 1 แบบตรวจสอบความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวช้ีวัด

ตัวชี้วัด ขอสอบ คะแนนพิจารณา

ขอเสนอแนะ +1 0 -1

Page 72: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

68 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ตารางท่ี 2 แบบสรุปผลการพิจารณาความสอดคลองของผูเช่ียวชาญ

ตัวชี้วัด/ขอสอบ ผลการพิจารณาของผูเชี่ยวชาญ

คา IOC

แปลผล คนท่ี 1

คนท่ี 2

คนท่ี 3

คนท่ี 4

คนท่ี 5

สรุปผลการวิเคราะหคาดัชนีความสอดคลองระหวางขอสอบกับตัวช้ีวัด

ขอสอบท่ีใชได …………………………………………………………….............................................................................................

Page 73: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 69

กิจกรรมท่ี 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และอํานาจจําแนก

ช่ือ-สกุล สพป./สพม. เลขท่ี

คําช้ีแจง 1. ใหผูเขารับการอบรมพิจารณาขอมูลท่ีกําหนดให แลวคํานวณคาความยากงาย คาอํานาจจําแนก และ

แปลความหมาย ลงในใบงานท่ี 6.2 ตารางท่ี 3 2. ใหผูเขารับการอบรมระบุตําแหนงของขอสอบแตละขอลงในกราฟ จากคาความยากงาย และคา

อํานาจจําแนกท่ีไดจากการคํานวณไดในใบงานท่ี 6.2 ตารางท่ี 4 และคัดเลือกขอสอบท่ีมีคุณภาพอยูในเกณฑ ขอมูลจากผลการสอบวิชาคณิตศาสตรมีจํานวนท้ังหมด 5 ขอ คะแนนเต็ม ขอละ 10 คะแนน นักเรียนท่ี

สอบมีจํานวนท้ังหมด 40 คน จึงมีกลุมสูงและกลุมต่ํากลุมละ 10 คน ซ่ึงเทากับ 25% ของ 40

ขอ ผูสอบ

1 2 3 4 5

กลุมสูง 1 9 10 10 7 8

2 10 9 9 8 8

3 9 10 9 7 8

4 8 9 8 9 9

5 8 9 9 8 8

6 9 10 7 8 7

7 7 10 7 8 8

8 7 10 8 8 7

9 8 8 8 7 8

10 7 8 8 7 8

กลุมตํ่า 1 7 5 7 7 4

2 6 4 7 7 5

3 5 6 6 7 2

4 6 4 5 5 6

5 5 4 7 6 4

6 3 4 6 7 5

7 4 4 6 6 4

8 2 4 5 7 5

9 4 3 6 7 2

10 2 5 5 8 2

Page 74: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

70 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

ใบงานท่ี 6.2 การวิเคราะหหาคาความยากงาย และคาอํานาจจําแนก

ตารางท่ี 3 แสดงผลการวิเคราะหคาความยากงายและคาอํานาจจําแนก

ขอ ผูสอบ

1 2 3 4 5 รวม

กลุมสูง 1 9 10 10 7 8 44

2 10 9 9 8 8 44

3 9 10 9 7 8 43

4 8 9 8 9 9 43

5 8 9 9 8 8 42

6 9 10 7 8 7 41

7 7 10 7 8 8 40

8 7 10 8 8 7 40

9 8 8 8 7 8 39

10 7 8 8 7 8 38

รวม 82 93 83 77 79

กลุมตํ่า 1 7 5 7 7 4 30

2 6 4 7 7 5 29

3 5 6 6 7 2 26

4 6 4 5 5 6 26

5 5 4 7 6 4 26

6 3 4 6 7 5 25

7 4 4 6 6 4 24

8 2 4 5 7 5 23

9 4 3 6 7 2 22

10 2 5 5 8 2 22

รวม 44 43 60 67 39

p 0.63 0.68 0.72 0.72 0.59

r 0.38 0.50 0.23 0.10 0.40 สรุป

Page 75: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 71

ตารางท่ี 4 กราฟแสดงตําแหนงของขอสอบแตละขอตามคาความยากงาย และ คาอํานาจจําแนกท่ีไดจากการคํานวณ

หมายเหตุ บริเวณพ้ืนท่ีของขอสอบท่ีมีคุณภาพ

สรุป 1) ขอสอบท่ีมีคุณภาพ คือ ..................................................................................................... 2) ขอสอบท่ีตองปรับปรุงในเรื่องของความยากงาย คือ ........................................................ 3) ขอสอบท่ีตองปรับปรุงในเรื่องของอํานาจจําแนก คือ ....................................................... 4) ขอสอบท่ีไมมีคุณภาพ คือ ...............................................................................................

---------------------------------------------------------

คาความยากงาย (p)

คาอํานาจจําแนก (r) 0 0.1 0.2 0.3 0.4 0.5 0.6 0.7 0.8 0.9 1.0 -1.0 -0.9 -0.8 -0.7 -0.6 -0.5 -0.4 -0.3 -0.2 -0.1

0.1

0.2

0.3

0.4

0.5

0.6

0.7

0.8

0.9

1.0

Page 76: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

72 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

บรรณานุกรม

เตือนใจ เกตุษา. การสรางแบบทดสอบ 1 แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์. กรุงเทพ : มหาวิทยาลัยรามคําแหง, 2532 ชาญชัย ยมดิษฐ. เทคนิคและวิธีสอนรวมสมัย. กรุงเทพ : หลักพิมพ, 2548. นิค มานนท. การประเมินผลและการสรางแบบทดสอบ. กรุงเทพ : ทิพยวิสุทธิ์, 2534. ทิวัตถ มณีโชติ. การวัดและการประเมินผลการเรียนรูตามหลักสูตรการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. กรุงเทพ : เกรท เอ็ด

ดูเคชั่น, 2549. พิมพา สุวรรณฤทธิ์. การสรางเครื่องมือวัดผลการเรียน. กาญจนบุรี : สถาบันราชภัฏกาญจนบุรี, 2542. เยาวดี วิบูลยศรี. การวัดและการสรางแบบสอบสัมฤทธิ์. พิมพครั้งท่ี 3. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2545. สมบูรณ ตันยะ. การประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพ : สุวีริยาสาสน, 2545. ก่ิงกาญจน สิรสุคนธ. วารสารวิชาการ ปท่ี 9 ฉบับท่ี 3 กรกฎาคม-กันยายน 2549. สํานักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน. ชุดฝกอบรมการวัดและ

ประเมินผลการเรียนรู หลักสูตรแกนกลางการศึกษาข้ันพ้ืนฐานพุทธศักราช 2551. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด, 2553.

ดร.ชัยวัฒน สุทธิรัตน.คณะศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยนเรศวร. ดร. ส.วาสนา ประวาลพฤกษ.การสรางเกณฑการประเมิน Rubric Sampler ของ Relearning by Design, Inc.

สํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน กระทรวงศึกษาธิการ http://www.seal2thai.org/sara/207.htm

Page 77: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

73 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

คณะทํางาน

ท่ีปรึกษา นายอภิชาติ จีระวุฒิ เลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ดร.อองจิต เมธยะประภาส รองเลขาธิการคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

นายกนก อินทรพฤกษ ผูอํานวยการสํานักทดสอบทางการศึกษา สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ผูรับผิดชอบโครงการ กลุมประเมินคุณภาพการศึกษา สํานักทดสอบทางการศึกษา

ดร.ชนาธิป ทุยแป ผูอํานวยการกลุมประเมินคุณภาพการศึกษา

นางณัฐพร พรกุณา นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ

นางสาวสุภาภรณ เจริญศิริโสภาคย นักวิชาการศึกษาชํานาญการ

นางสาววิจิตรา ศรีคําภา พนักงานจางเหมาบริการ

นางสาวพัชรี ปนเด พนักงานจางเหมาบริการ

ผูกําหนดกรอบแนวคิดในการจัดทําหลักสตูรฝกอบรม นายกนก อินทรพฤกษ ผูอํานวยการสํานักทดสอบทางการศึกษา

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

ดร.ชนาธิป ทุยแป ผูอํานวยการกลุมประเมินคุณภาพการศึกษา สํานักทดสอบทางการศึกษา

นางณัฐพร พรกุณา นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ สํานักทดสอบทางการศึกษา

ผูทรงคุณวุฒิพิจารณากรอบแนวคิดของหลักสูตรฝกอบรม ดร.บุญชู ชลัษเฐียร ขาราชการบํานาญ

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาข้ันพ้ืนฐาน

รศ.ดร.กาญจนา วัธนสุนทร ขาราชการบํานาญ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช

ผศ.ดร.เรวดี กระโหมวงศ มหาวิทยาลัยทักษิณ

นางสุวัณนา ทัดเทียม ขาราชการบํานาญ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอางทอง

ผูยกรางเอกสารหลักสตูรฝกอบรม ดร.ชนาธิป ทุยแป ผูอํานวยการกลุมประเมินคุณภาพการศึกษา

สํานักทดสอบทางการศึกษา

นางณัฐพร พรกุณา นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ สํานักทดสอบทางการศึกษา

คณะทํางานพิจารณารางหลักสูตรฝกอบรม นางพรทิพย ธงไชย ขาราชการบํานาญ นางสุจิตต หิรัณยะคุปต ขาราชการบํานาญ ดร.สมเกียรติ ทานอก รองคณบดีคณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา

Page 78: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

74 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

นายพิทยุตม กงกุล รองผูอํานวยการสํานักงานพ้ืนท่ีการศึกษา สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานราธิวาส เขต 3

นางอารียพร อรรถวุฒิกุล ศึกษานิเทศกเชี่ยวชาญ สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ เขต 2

ดร.เพชรัษฎ แกวสุวรรณ ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสระแกว เขต 2

นายประเสริฐ สุภิรักษ ผูอํานวยการกลุมนิเทศติดตามและประเมินผลการศึกษา

ข้ันพ้ืนฐาน สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค เขต 1

นางสายสวาท รัตนกรรดิ ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพิจิตร เขต 1 นายสุทธิ สุวรรณปาล ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาจันทบุรี เขต 1

วาท่ีพันตรีเทพนา เครือคํา ศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอุบลราชธานี เขต 1

นายนิกร ขวัญเมือง ศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2

นางสาวเกษราภรณ สิงหคะมณี ศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเชียงใหม เขต 2

นางสาวรัตนา เกียรติเกษม ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ เขต 2

นางเสนาะ สุขสงวน ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1

นางสาวไอลดา คลายสําริด ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาปทุมธานี เขต 2

นางนวลอนงค สุวรรณเรือง ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 3

นายชัยมงคล สุขสันตรุงเรือง ศึกษานิเทศกชํานาญการพิเศษ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษามุกดาหาร

นายวีระวัฒน วัฒนา ผูอํานวยการโรงเรียนวัดสําราญ

ดร.สยาม สุมงาม ผูอํานวยการโรงเรียนอนุบาลสรรพยา

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชัยนาท

ดร.จิตตานันท สุขสวัสดิ์ รองผูอํานวยการโรงเรียนวัดหนองเสือ (ประชาอุทิศ) สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2

นางสาริศา คงมี ครูชํานาญการพิเศษ โรงเรียนพัทลุง

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 12 (พัทลุง) นายแสงเดือน โคตรภูเขียว ครู คศ.3 โรงเรียนชุมชนยอดแกงสงเคราะห

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาฬสินธุ เขต 3

Page 79: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

หลักสตูรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสมัฤทธ์ิทางการเรยีนแบบอัตนัยและเขียนตอบ | 75

นายสุชิน แกวประเสริฐ ครู คศ.3 โรงเรียนบานทับใต สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ เขต 2

นางปริศนา ไชยคช ครู คศ.3 โรงเรียนวัดในกลาง

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาเพชรบุรี เขต 1

ดร.ธีระวัฒน สุขีสาร ครูชํานาญการ โรงเรียนอนุบาลพระนครศรีอยุธยา

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาพระนครศรีอยุธยา เขต 1

นางสาวธัญญาภรณ คงกระเรียน ครู คศ.3 โรงเรียนวัดนาหวย

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ เขต 2

นางสาวทองระยา นัยชิต ครูโรงเรียนวัดถนน

ดร.อมรรัตน พันธงาม คณะครุศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธาน ีนายสิทธิพงษ สุพรม ศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 4

นายณรงคศักดิ์ โพธิ์ออง ศึกษานิเทศกชํานาญการ

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค เขต 3

นายอนุศักดิ์ พันธงาม ผูอํานวยการโรงเรียนบานโนนเพ็ก

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาศรีสะเกษ เขต 1

นายสุขวิทย ปูทอง ผูอํานวยการโรงเรียนวัดทากุม

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาสุพรรณบุรี เขต 2

ดร.มยุรีย แพรหลาย ผูอํานวยการโรงเรียนโยธินบูรณะอางทอง

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 (อางทอง) ดร.วัชรพงษ แพรหลาย รองผูอํานวยการโรงเรียนสตรีอางทอง

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษามัธยมศึกษา เขต 5 (อางทอง) นายอิทธิพล กาญจนโรมนต ผูอํานวยการโรงเรียนบานลําอีซู

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษากาญจนบุรี เขต 4

น.ส.ธัญญาภรณ คงกระเรียน ครูโรงเรียนวัดนาหวย

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ เขต 2

นางพิสมัย กองธรรม ครโูรงเรียนบานจับไม สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาหนองคอย เขต 2

นางประภาพรรณ บุญรอด ครูโรงเรียนวัดราษฎรศรัทธา

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาชลบุรี เขต 1

ดร.ทิภาวรรณ เลขวัฒนะ ครูโรงเรียนบานมวงคอม

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2

นางสาวทองระยา นัยชิต ครูโรงเรียนวัดถนน

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษาอางทอง

นางสาวพักตรวิภา กลางสอน ครูโรงเรียนอนุบาลทาตะโก

สํานักงานเขตพ้ืนท่ีการศึกษาประถมศึกษานครสวรรค เขต 3

Page 80: หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสร้างเครื่องมือวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

76 | หลักสูตรการพัฒนาศักยภาพการสรางเครื่องมือวัดผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนแบบอัตนัยและเขียนตอบ

คณะบรรณาธิการกิจหลักสูตรฝกอบรม นายกนก อินทรพฤกษ ผูอํานวยการสํานักทดสอบทางการศึกษา

ดร.ชนาธิป ทุยแป ผูอํานวยการกลุมประเมินคุณภาพการศึกษา สํานักทดสอบทางการศึกษา

นางณัฐพร พรกุณา นักวิชาการศึกษาชํานาญการพิเศษ สํานักทดสอบทางการศึกษา

นางสาวสุภาภรณ เจริญศิริโสภาคย นักวิชาการศึกษาชํานาญการ สํานักทดสอบทางการศึกษา

นางสาววิจิตรา ศรีคําภา พนักงานจางเหมาบริการ สํานักทดสอบทางการศึกษา

นางสาวพัชรี ปนเด พนักงานจางเหมาบริการ สํานักทดสอบทางการศึกษา