52-7ความคิดเห็นของบัณฑิตรุ่นที่ 2...

70
รายงานวิจัย เรื่อง ความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที2 ตอหลักสูตรบัญชี คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี An opinion of students who were graduated on 2009 towards curriculum of accounting majoring in accounting โดย นางสาวศิริรัตน พวงแสงสุข นางสาวกุลยา อุปพงษ การวิจัยครั้งนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2552

description

ความคิดเห็นของบัณฑิตรุ่นที่ 2 ต่อหลักสูตรบัญชี คณะบัญชีสาขาวิชาการบัญชี

Transcript of 52-7ความคิดเห็นของบัณฑิตรุ่นที่ 2...

รายงานวิจัย

เรื่อง

ความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบัญชี คณะบัญชี

สาขาวิชาการบัญชี

An opinion of students who were graduated on 2009 towards

curriculum of accounting majoring in accounting

โดย

นางสาวศิริรัตน พวงแสงสุข

นางสาวกุลยา อุปพงษ

การวิจัยคร้ังนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ

ปการศึกษา 2552

รายงานวิจัย

เรื่อง

ความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบัญชี คณะบัญชี

สาขาวิชาการบัญชี

An opinion of students who were graduated on 2009 towards

curriculum of accounting majoring in accounting

โดย

นางสาวศิริรัตน พวงแสงสุข

นางสาวกุลยา อุปพงษ

การวิจัยคร้ังนี้ไดรับทุนอุดหนุนการวิจัยจากวิทยาลัยราชพฤกษ ปการศึกษา 2552

ปที่ทําวิจัยแลวเสร็จ 2552

ชื่อโครงการวิจัย ความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบัญชี คณะบัญชี

สาขาวิชาการบัญชี

ชื่อผูวิจัย นาง ศิริรัตน พวงแสงสุข และนางสาวกุลยา อุปพงษ

ปท่ีทําการวิจัย 255 2

บทคัดยอ

การศึกษาเร่ือง ความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต คณะบัญชี

สาขาวิชาการบัญชี วัตถุประสงคในการวิจัย 1) เพื่อสํารวจสถานภาพสวนตัวของบัณฑิตในหลักสูตร

หลักสูตรบั ญชี คณะบัญชี สาขา วิชาการบัญชี 2) เพื่อสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอ

หลักสูตรหลักสูตรบั ญชี คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี 3) เพื่อสํารวจความคิดเห็นของการนําหลักสูตร

บัญช ีคณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน 4) เพื่อศึกษาภาพรวมของวิทยาลัย

ราชพฤกษในการจัดการเรียนการสอน ในระดับอุดมศึกษา อาทิเชน ดานอาจารย หองเรียน อุปกรณที่ใช

ในการเรียนการสอน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร หองสมุด บรรยากาศ ภูมิทัศน การจัดกิจกรรมของ

วิทยาลัย ตามความคิดเห็นของบัณฑิต ในการประกอบอาชีพ และในการศึกษาตอ และ 5) เสนอแนวทาง

การพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรของวิทยาลัยใหสอดคลองกับการควบคุมคุณภาพของสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา เคร่ืองมือที่ใชวิจัยคร้ังน้ีเปนแบบสอบถาม สถิติที่ใชในการวิเคราะหขอมูล

ไดแก คาความถี่ คาเฉลี่ย และคาความเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลจากการวิจัยพบวา 1) บัณฑิตคณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี สวนใหญมีอายุต้ังแต 23 - 27 ป

ซึ่งเปนกลุมการเรียนภาคเสาร – อาทิตย และเปนผูมีงานทํามีสัดสวนที่สูงกวาผูไมมีงานทํา เมื่อถาม

สถานภาพการมีงานทําในปจจุบันบัณฑิตที่มีงานทํามีสัดสวนที่สูงกวาบัณฑิตที่ไมมีงานทํา ถาถามถึง

สาเหตุการไมมีงานทํา คําตอบสวนใหญยังรอสัมภาษณงาน และรายไดเฉลี่ยตอเดือน 7,000 - 8,000 บาท

และ8,001 – 9,000 บาท ในสัดสวนที่เทากัน 2) บัณฑิตคณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี มีความคิดเห็นตอ

การจัดการเรียนในภาพรวมอยูในระดับมาก 3) บัณฑิตคณะบัญชี นําความรูจากการเรียนหลักสูตรกลุม

วิชาเอกบังคับไปประยุกตใชใน 3 ลักษณะ คือ การนําไปใชในชีวิตประจําวันอยูในระดับปานกลาง การ

นําไปใชในการประกอบอาชีพอยูในระดับมาก และการนําไปใชในการศึกษาตออยูในระดับมาก และ

4) บัณฑิตนําความรูจากการเรียนหลักสูตรในกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใช ในการนําไปใชใน

ชีวิตประจําวัน, การนําไปใชในการประกอบอาชีพ และการนําไปใชในการศึกษาตอ อยูในระดับมาก

Project: An opinion of students who were graduated on 2009 towards curriculum of

accounting majoring in accounting

Researcher: Mrs.Sirirat Poungsangsuk and Miss Kullaya uppapong Year: 2010

Abstract

The objectives of this research were 1) to survey the status of students who were graduated

on 2009 in curriculum of accounting majoring in accounting, faculty of accounting 2) to survey the

opinion of students who were graduated on 2009 in curriculum of accounting majoring in accounting,

faculty of accounting 3) to survey the opinion of students applied curriculum of accounting majoring

in accounting for everyday use, 4) to study overall of facilitating learning of Ratchaphruek College in

higher education level, and 5) to suggest the way to develop curriculum that has corresponded with

quality control of office of higher education commission. The instrument tool was the Questionnaire

forms. The data was analyzed by using frequency, means, and standard deviation.

The results of this research were found that

1. Students who were graduated in marketing major, faculty of business administration were mostly

between 23 – 27 years old that were studied in Saturday and Sunday program. The student who

has job was more than the student who don’t have job. The cause of not to have job was not

apply job yet. The average income was between 7,000 – 8,000 Baht and 8,001 – 9,000 Baht.

2. Students had opinion towards facilitating learning at high level.

3. Students used the knowledge from specialization courses to apply in everyday use at medium

level, occupied use at high level, and continuing studied at high level.

4. Students used the knowledge from other courses to apply in everyday use, occupied use, and

continuing studied at high level.

สารบัญ

หนา

บทคัดยอภาษาไทย........................................................................................................................................ ก

บทคัดยอภาษาอังกฤษ....................................................................................................................................ค

กิตติกรรมประกาศ..........................................................................................................................................จ

สารบัญ...........................................................................................................................................................ฉ

สาบัญตาราง...................................................................................................................................................ซ

บทที่

1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา................................................................................. 1

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา..................................................................................................... 2

1.3 ขอบเขตการวิจัย...................................................................................................................... 3

1.4 นิยามศัพท.............................................................................................................. ................. 3

1.5 ประโยชนที่คาดวาจะไดรับจากการวิจัย……………………………………………………... 4

2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ .......................................................................................................... 5

2.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับหลักสูตร …………………............................................................... 5

2.2 แนวคิดการพัฒนาหลักสูตร................................................................................................... 7

2.3 การประเมินหลักสูตร........................................................................................................... ... 9

2.4 แนวความคิดกระบวนการเรียนการสอน ….............................................................................11

2.5 แนวคิดหลักสูตรการเรียนการสอน………………………………………………..…………14

2.6 โครงสรางหลักสูตรของวิทยาลัยราชพฤกษ .............................................................................17

2.7 งานวิจัยที่เกี่ยวของ …………...................................................................................................27

3 วิธีดําเนินการวิจัย

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง............................................................................................. ........30

3.2 เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัย .........................................................................................................30

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล ............................................................................................................32

3.4 การวิเคราะหขอมูล .................................................................................................................33

สารบัญ (ตอ)

หนา

บทที่

4 ผลการวิเคราะหขอมูล

4.1 สถานภาพทั่วไปของบัณฑิต.............................................................................................. ... 34

4.2 การวิเคราะหความคิดเห็นของบัณฑิตที่มีตอการเรียนการสอน การนําความรูจากหลักสูตร

กลุม วิชาเอกบังคับไปประยุกตใช และการนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอ่ืนๆ ไป

ประยุกตใช…………………………………………………………………….…………. 37

4.3 วิเคราะหเน้ือหา..................................................................................................................... 42

5 สรุปผลการศึกษาและขอเสนอแนะ

5.1 ขอสรุปผลการวิจัย............................................................................................................... 43

5.2 อภิปรายผล........................................................................................................................... 46

5.3 ขอเสนอแนะ........................................................................................................................ 47

เอกสารอางอิง............................................................................................................................................. 50

ภาคผนวก................................................................................................................................................... 52

สารบัญตาราง

หนา

ตารางท่ี

1 จํานวนและรอยละ จําแนกตามหลักสูตรที่ศึกษา.......................................................................... 47

2 จํานวนและรอยละ จําแนกตามอาย.ุ........................................................................................ ...... 48

3 จํานวนและรอยละ จําแนกตามกลุมการเรียน........................................................................... ..... 49

4 จํานวนและรอยละ จําแนกตามสถานภาพการมีงานทํา.................................................................. 49

5 จํานวนและรอยละ จําแนกตามเหตุผลที่ทานไมมีงานทํา............................................................... 50

6 จํานวนและรอยละ จําแนกตามรายไดตอเดือน.......................................................................…... 51

7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน

ของวิทยาลัยราชพฤกษ.................................................................................................................. 52

8 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูไปประยุกตใช

จําแนกตามกลุมวิชาเอกบังคับ ภาพรวมของวิทยาลัย.................................................................. 54

9 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูไปประยุกตใช

จําแนกตามกลุมวิชาอ่ืนๆ ภาพรวมของวิทยาลัย........................................................................... 56

บทที่1 บทนํา

1.1 ความเปนมาและความสําคัญของปญหา

การศึกษาเปนกระบวนการที่ที่ชวยใหคนพัฒนาศักยภาพของตนเองในดานตางๆ จึงเปน

เคร่ืองมือสําคัญในการพัฒนาทรัพย ากรมนุษยใหมีความรู ทําใหเกิดทักษะในการสรางสรรคความ

เจริญกาวหนาในสังคม ซึ่งตามรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย มาตรา 49 “บุคคลยอมมีสิทธิ

เสมอกันในการรับการศึกษา ไมนอยกวาสิบสองปที่รัฐจะตองจัดใหอยางทั่วถึงและมีคุณภาพ โดย

ไมเก็บคาใชจายผูยากไร ผูพิการหรือทุพพลภาพ หรือผูอยูในสภาวะยากลําบาก ตองไดรับสิทธิตาม

วรรคหน่ึงและการสนับสนุนจากรัฐเพื่อใหไดรับการศึกษาโดยทัดเทียมกับบุคคลอ่ืนการจัด

การศึกษาอบรมขององคกรวิชาชีพหรือเอกชน การศึกษาทางเลือกของประชาชน การเรียนรูดวย

ตนเอง และการเรียนรูตลอดชีวิต ยอมไดรับความคุมครองและสงเสริมที่เหมาะสมจากรัฐ ” ดังน้ัน

วิทยาลัยราชพฤกษเปนสถาบันอุดมศึกษาที่ไดรับอนุญาตใหจัดต้ังโดยสํานักงานคณะกรรมการการ

อุดมศึกษา เมื่อวันที่ 20 เมษายน พ.ศ. 2549 โดยมีปรัชญาของวิทยาลัยวาเปน “สถาบันแหงการ

เรียนรูยุคใหม คุณภาพ คุณธรรมนําหนาสูสากล” มีพันธกิจในการจัดการเรียนการสอนและ

กิจกรรมตางๆ เพื่อเสริมสรางใหผูเรียนเปนคนดี มีคุณธรรม ตลอดจนมีการพัฒนาทางดาน

สติปญญา ผลิตบัณฑิตใหมีคุณภาพเพื่อตอบสนองนโยบายดานการจัดการศึกษาในระดับการ

อุดมศึกษา ที่มุงเนนการพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหมีคุณภาพอันเปนกําลังสําคัญในการพัฒนา

ประเทศใหมีความมั่นคงตอไป

ในปจจุบันวิทยาลัยราชพฤกษไดผลิตบัณฑิตสูสังคม และตลาดแรงงาน ซึ่งไดสําเร็จ

การศึกษาประจําป พ.ศ. 2552 ซึ่งประกอบดวยบัณฑิตคณะบัญชี คณะบริหารธุรกิจ สาขาการตลาด

สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สาขาการจัดการ สาขาการจัดการการโรงแรมและการทองเที่ยว

ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู ทางวิทยาลัยราชพฤกษจึงถือโอกาสในวันรับพระราชทานปริญญาของ

บัณฑิตรุนที่ 2 จํานวน 450 คน เพื่อสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตซึ่งไดสําเร็จการศึกษาไปแลว

โดยใชแบบสอบถาม เร่ืองการสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบริหารธุรกิจ

บัณฑิต หลักสูตรบัญชีบัณฑิต และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพครู โดยนําผลการสํารวจ

ดังกลาวไปใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตร อันเปนการตอบสนองตอเกณฑ

คุณภาพและมาตรฐานของคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ที่ไดกําหนดในสวนของหลักสูตร

วา สถาบันอุดมศึกษาตองมีการพัฒนาหลักสูตรที่เปดสอนใหสอดคลองกับความตองการทางดาน

วิชาการ และวิชาชีพ มีการประเมินหลักสูตรอยางสม่ําเสมอ มีการบริหารหลักสูตรอยางมี

2

ประสิทธิภาพและมีการปรับปรุงหลักสูตรใหทันตอการเปลี่ยนแปลง โดยสํานักงานคณะกรรมการ

การอุดมศึกษาไดมอบอํานาจเกี่ยวกับการใหความเห็นชอบหลักสูตร โดยมอบอํานาจใหอธิการบดี

โดยความเห็นชอบของสภาวิทยาลัย มีอํานาจในการใหความเห็นชอบหลักสูตรของวิทยาลัย โดยมี

เงื่อนไขวาหลักสูตรที่จะเปดสอนตองไดรับการบรรจุไวในแผนพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา

หากเปนหลักสูตรนอกแผนดังกลาวตองเสนอใหสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาพิจารณา

ปรับเขาแผนกอน ดังน้ัน หลักสูตรที่จะเปดสอนตองมีโครงสรางและมาตรฐานตามเกณฑที่

สํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษากําหนด และตองไดรับการอนุมัติจากสภาวิทยาลั ยหรือสภา

สถาบันกอนการเปดสอน

ดังน้ัน ทางวิทยาลัยราชพฤกษจึงไดทําการวิจัย เร่ืองความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอ

หลักสูตร บัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี โดยนําผลที่ไดจากการสํารวจดังกลาวไปใชในการ

ทบทวนและประเมินผลการดําเนินการหลักสูตรอยางนอยทุกๆ 5 ป โดยตองใชการประเมินสวน

ของบัณฑิต มาใชในการทบทวนและประเมินผลในสวนของการจั ดการเรียนการสอนโดยภาพรวม

ของวิทยาลัย และในสวนการนําความรูจากหลักสูตรในกลุมวิชาแกนบังคับเฉพาะสาขา และกลุม

วิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใชในการทํางานของบัณฑิต อยางมีประสิทธิภาพอันสอดคลองกับ ความ

ตองการของตลาดแรงงาน เพื่อใหหลักสูตรมีความทันสมัยอยูเสมอ และเพื่อมุงมั่นผลิตบัณฑิตให

เปนคนเกงมีความรู ทักษะ ความชํานาญในสาขาวิชาที่เรียน สรางคนดี มีคุณธรรม จริยธรรม และ

สามารถอยูในสังคมไดอยางดี

1.2 วัตถุประสงคของการศึกษา

1. เพื่อสํารวจสถานภาพสวนตัวของบัณฑิตในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี

2. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี

3. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของการนําหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีไป

ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ในการประกอบอาชีพ และในการศึกษาตอ

4. เพื่อศึกษาภาพรวมของวิทยาลัยราชพฤกษในการจัดการเรียนการสอน ในระดับ

อุดมศึกษา อาทิเชน ดานอาจารย หองเรียน อุปกรณที่ใชในการเรียนการสอน หองปฏิบัติการ

คอมพิวเตอร หองสมุด บรรยากาศ ภูมิทัศน การจัดกิจก รรมของวิทยาลัย ตามความคิดเห็นของ

บัณฑิต

5. เสนอแนวทางการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรของวิทยาลัย ใหสอดคลองกับการควบคุม

คุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

3

1.3 ขอบเขตการวิจัย

1. กรอบที่ใชในการวิจัยจะศึกษาในภาพรวมของการเรียนการสอนในวิทยาลัยราชพฤกษ

และความพึงพอใจของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอ หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี

2. ขอบเขตเน้ือหาของการวิจัย ดําเนินการศึกษาในระดับปริญญาตรีของหลักสูตรที่ทําการ

เปดการเรียนการสอนในวิทยาลัยราชพฤกษ ประจําปการศึกษา 2551 โดยศึกษาขอมูลทั่วไปเกี่ยวกับ

ความพึงพอใจของบัณฑิตรุนที่ 2 หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี ตอการจัดการเรียนการ

สอนของวิทยาลัยในดานอาจารย หองเรียน อุปกรณที่ใชในการเรียนการสอน หองปฏิบัติการ

คอมพิวเตอร หองสมุด บรรยากาศ ภูมิทัศน การจัดกิจก รรมของวิทยาลัย และหลักสูตรที่ใชในการ

เรียนการสอนวามีความทันสมัย และศึกษาความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูจากหลักสูตร

กลุมวิชาเอกบังคับมาประยุกตใช และความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูจากหลักสูตรกลุม

วิชาอ่ืนๆอาทิเชน กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร กลุมวิชาภาษาศาสตร กลุมวิชา

วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร กลุมวิชาแกน กลุมวิชาเอกเลือก และวิชาเลือกเสรี เพื่อนําวิชาเหลาน้ี

ไปประยุกตใชการทํางานหรือประกอบวิชาชีพตอไป

1.4 นิยามศัพท หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หมายถึง วิชาที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรอบรูอยางกวางขวางมี

โลกทัศนที่กวางไกล มีความเขาใจธรรมชาติ ตนเอง ผูอ่ืน และสังคม เปนผูใฝรู สามารถคิดอยางมี

เหตุผลสามารถใชภาษาในการติดตอสื่อสารความหมายไดดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณคาของ

ศิลปะและวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สามารถนําความรูไปใชในการ

ดําเนินชีวิตและดํารงตนอยูในสังคมไดเปนอยางดีสถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไปใน

ลักษณะจําแนกเปนรายวิชาหรือลักษณะบูรณาการใด ๆ ก็ได โดยผสมผสานเน้ือหาวิชาที่ครอบคลุม

สาระของกลุมวิชาสังคมศาสตร มนุษยศาสตรภาษา และกลุมวิชาวิทยา ศาสตรคณิตศาสตร ใน

สัดสวนที่เหมาะสม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะดาน วิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ ที่มุง

หมายใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และปฎิบัติงานได หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาที่มุงใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ ตามที่ตนเองถนัดหรือ

สนใจ โดยเปดโอกาสใหผูเรียนเลือกเรียนวิชาใดๆ ในหลักสูตรระดับปริญญาตรี

4

1.5 ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับจากการวิจัย

1. เพื่อนําผลการศึกษาไปใชเปนแนวทางในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรที่ไดมีการ

จัดการเรียนการสอนในวิทยาลัยราชพฤกษใหมีความทันสมัยและสอดคลองกับเกณฑของสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา

2. เพื่อนําไปใชในการพัฒนาคุณภาพของบัณฑิตใหเปนที่พอใจของตลาดแรงงานหรือ

ผูประกอบการ อันจะนํามาซึ่งชื่อเสียงของสถาบันใหเปนที่รูจักแกสังคม

3. เพื่อเปนการทราบ แนวทางการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรของวิทยาลัย ใหสอดคลองกับ

การควบคุมคุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

บทที่ 2

เอกสารและงานวิจัยที่เก่ียวของ

การวิจัยเร่ืองความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตร บัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี

ของวิทยาลัยราชพฤกษ ประจําป 2552 คณะผูวิจัยไดศึกษาแนวคิดและทฤษฎีที่เกี่ยวของเพื่อใชใน

การพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล อาจารย ผูสอนทุกคนควรมี

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับหลักสูตรตัวหลักสูตรสถานศึกษาตามลําดับดังน้ี

2.1 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับหลักสูตร

พัชรี ศรีสังข (2552 : 91-95) ไดกลาวถึง ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับหลักสูตรที่จะใชเปนแนว

ทางการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา ไดแก (1) ความหมายของหลักสูตร (2) ประเภทหลักสูตร (3)

องคประกอบของหลักสูตร โดยมีสาระที่สําคัญตามลําดับตอไปน้ี

1. ความหมายของหลักสูตร

เปร่ือง กิจรัตนกร (2543: 94-95) ไดใหคํานิยามของหลักสูตรไว คือ สิ่งที่เกี่ยวของกับการ

เรียนการสอนเพื่อใหบัณฑิตมีความรู และทักษะกระบวนการจัดวัสดุอุปกรณ เคร่ืองมือ และ

กรรมวิธีทางวิทยาศาสตรมาใชในการผลิต ตลอดจนการบริหารและการจัดการ โดยเนนเทคนิคการ

ผลิต เพื่อใหระบบการผลิตมีความเหมาะสมยิ่งขึ้น

จีระพันธ พูลพัฒน (2532: 3) ไดกลาวถึงความหมายของหลักสูตรวา หลักสูตรคือมวล

ประสบการณทั้งหลายที่นักเรียนแตละคนพึงมีในโปรแกรมการจัดการศึกษา เพื่อใหบรรลุถึง

จุดมุงหมายทั่วไปและจุดมุงหมายเฉพาะที่ไดวางแผนเอาไวในกรอบของทฤษฎีและผลการวิจัย

ทางการศึกษาหรือการปฎิบัติงานที่ผานมาทั้งในอดีตและปจจุบัน

ธํารง บัวศรี (2532: 6) ไดใหความหมายของหลักสูตรไววา หลักสูตรคือแผนซึ่งได

ออกแบบจัดทําขึ้นเพื่อแสดงถึงจุดหมาย การจัดเน้ือหาสาระ กิจกรรม และมวลประสบการณในแต

ละโปรแกรมการศึกษาเพื่อใหผูเรียนพัฒนาการในดานตาง ๆ ตามจุดหมายที่ไดกําหนดไว

ความหมายของหลักสูตร มีทั้ง ทรรศนะเดิมและท รรศนะใหม โดยในท รรศนะเดิมน้ัน

หลักสูตรคือ รายวิชา หรือเน้ือหาวิชาที่กําหนดไวใหผูเรียนไดเรียนหรือรายการเน้ือหาวิชาที่จัดสอน

ในโรงเรียน หรือสื่อกลาง หรือวิถีทางที่จะนํา นักศึกษา ไปสูจุดหมายปลายทาง สวนในท รรศนะ

ใหมหลักสูตร คือแผนซึ่งไดออกแบบจัดทําขึ้นเพื่อแสดงถึงจุดหมาย การจัดเน้ือหา กิจกรรม และ

มวลประสบการณในแตละโปรแกรมการศึกษา เพื่อใหผูเรียนมีพัฒนาการในดานตางๆ ตาม

6

จุดหมายที่กําหนดไว หรือแผนงาน ( Plan) ที่ไดจัดเตรียมไวลวงหนาเปนลายลักษณอักษร ( Planed

Curriculum)

โดยสรุป หลักสูตร คือ การวางแผนการจัดประสบการณตางๆ ที่มุงใหผูเรียนเกิดการเรียนรู

ในสาขาวิชา โดยผูสอนเปนผูจัดประสบการณ รวมทั้งกิจกรรมตางๆ และการใหความรูแกผูเรียน

ตามวัตถุประสงคของหลักสูตรที่กําหนดไวภายใตการควบคุมของสถาบันการศึกษา เพื่อมุงเนนให

ผูเรียนเกิดความรู ความชํานาญ ทักษะวิชาชีพตางๆ เพื่อใหสามารถนําความรูที่ไดไปประกอบอาชีพ

หรือ นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

2. ประเภทของหลักสูตร มี 3 ระดับ ไดแก (1) ระดับชาติ หรือหลักสูตรแกนกลาง (2) ระดับ

ทองถิ่นหรือหลักสูตรสถานศึกษา และ (3) ระดับหองเรียน หรือหลักสูตรระดับชั้นเรียน

3. องคประกอบของหลักสูตร มีผูรูดานหลักสูตรหลายทานไดนําเสนอองคประกอบของ

หลักสูตรไวที่สําคัญมีดังน้ี

3.1 Ralp W. Tyler กลาววา หลักสูตรมี 4 องคประกอบ คือ (1) จุดประสงค (2)

เน้ือหาวิชา (3) วิธีการจัด และ (4) การประเมินผล

3.2 Hilda Taba ไดนําเสนอไวมี 3 องคประกอบ ไดแก (1) จุดมุงหมาย (ทั่วไปและ

เฉพาะ) (2) เน้ือหา และประสบการณการเรียนรู และ (3) การประเมินผล

3.3 Beauchamp ไดนําเสนอไวมี 4 องคประกอบ ไดแก (1) เน้ือหาสาระและวิธีการ

จัดการ (2) จุดมุงหมายทั่วไปและเฉพาะ (3) แนวการนําหลักสูตรไปใชสอน และ (4) การ

ประเมินผล

3.4 ธํารง บัวศรี (2532: 20) กลาววา หลักสูตรมี 9 องคประกอบ ไดแก (1) เปาประสงค

และนโยบายการศึกษา (2) จุดหมาย (3) รูปแบบและโครงสรางหลักสูตร (4) จุดประสงคของวิชา

(5) เน้ือหา (6) จุดประสงคการเรียนรู (7) ยุทธศาสตรการเรียนการสอน (8) การประเมินผล และ (9)

วัสดุหลักสูตรและสื่อการเรียนการสอน

จะเห็นไดวาองคประกอบของหลักสูตรของผูรู 3 ทานแรกขางตนไดเสนอ

องคประกอบของหลักสูตรไวคลายคลึงกัน ถึงแมวาผูรูบางทานจะนําเสนอจํานวนองคประกอบไม

เทากันก็ตาม ในขณะที่ผูรูทานสุดทายมีจํานวนองคประกอบถึง 9 องคประกอบโดยมีองคประกอบ

บางขอครอบคลุมองคประกอบที่ผูรูทั้ง 3 ทานแรกไดนําเสนอ สวนองคประกอบที่เหลือบางขอ อาทิ

เปาประสงคและนโยบายการศึกษาไดสะทอนองคประกอบของหลักสูตรที่เปนแผนซึ่งเป น

หลักสูตรในทรรศนะใหมน้ันเอง

7

2.2 แนวคิดการพัฒนาหลักสูตร

การพัฒนาหลักสูตร ( Curriculum development) มีความหมายได 2 นัย โดยในความหมาย

แรก หมายถึง การทําหลักสูตรเดิมที่มีใชอยูแลวใหดีขึ้นเหมาะสมกับสถานการณ และนัยที่สองเปน

การสรางหลักสูตรขึ้นใหมโดยมิไดอาศัยหลักสูตรเดิมเปนพื้นฐานเลย (สงัด อุทรานันท, 2532 : 101

อางใน เฉลิมเกียรติ เฟองแกว, 2549)

วิธีการที่ปฎิบัติกันมาเมื่อตองการพัฒนาหลักสูตร คือ จะดูวาหลักสูตรควรวางแผนนําไปใช

และประเมินอยางไร ตลอดจนมีใครบางที่เกี่ยวของในกระบวนการและขั้นตอนการสรางหลักสูตร

ขึ้นมา (Ornstein and Hunkins,2004:16) โดยหลักสูตรที่ออกแบบใชไปแลวอาจจะมีการพัฒนาใหม

มีการเขียนเอกสารหลักสูตรกอนนําไปใชและประเมินตอไป ดังน้ันการนิยามการพัฒนาหลักสูตรจึง

เปนเร่ืองของกระบวนการวางแผน การนําหลักสูตรไปใชและการประเมินโอกาสการเรียนรูที่

มุงหวังใหเกิดการเปลี่ยนแปลงที่ตองการในตัวผูเรียน

นอกจา กน้ี Hunkins and hammill (Parkay an Hass, 2000: 277-278)ยังไดกลาวถึงแนวการ

พัฒนาหลักสูตรวา

ในปจจุบันมนุษยไดเร่ิมตระหนักมากขึ้นวาชีวิตเปนอินทรียไมใชเคร่ืองจักรกลหวงจักรวาล

ก็มีความเปนพลวัตรมิไดหยุดน่ิง ดังน้ัน กระบวนการพัฒนาหลักสูตรจึงไมใชเปนกระบวนการต้ัง

รับ แตเปนเร่ืองที่เกี่ยวของกับกระบวนการขับเคลื่อนดวยระบบและบริบทที่ชัดเจน ซึ่งเปาหมายการ

พัฒนาหลักสูตรบอยคร้ังก็มาจากประสบการณอันหลากหลายของมนุษยเราน่ีเอง

ยังมีคําอีกหลายคําที่มีความหมายใกลเคียงกับการพัฒนาหลักสูตรไดแก คําวาการออกแบบ

หลักสูตร ( Curriculum design) การจัดหลักสูตร ( Curriculum Organization) การรางหลักสูตร

(Curriculum planning) การทําหลักสูตร ( Curriculum making) การสรางหลักสูตร ( Curriculum

construction) การจัดการเกี่ยวกับหลักสูตร ( Curriculum management)การปรับปรุงหลักสูตร

(Curriculum revision) และการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร ( Curriculum change) ซึ่งพิจารณาแลวคําวา

การพัฒนาหลักสูตร เปนคําที่มีความหมายกวางกวาคําอ่ืน ที่มีความหมายใหเห็นเฉพาะขั้นตอน และ

มีคําที่มีความหมายใกลเคียงมากคือ การออกแบบหลักสูตรและการรางหลักสูตร สวนคําวา การ

สรางหลักสูตร มีความหมายแคบที่หมายถึง การสรางหรือการทําหลักสูตรหรือรายวิชาใหมแตเพียง

อยางเดียว สวนการปรับปรุงหลักสูตรและการเปลี่ยนแปลงหลักสูตร จะเนนที่การดําเนินการ

ปรับปรุงหลักสูตรเดิมที่มีอยูแลว (ทวีศักด์ิ จินดานุรักษ, 2546:53)

8

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตร

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรที่มีการอางอิง คือ รูปแบบตามแนวคิดของ Tyler และรูปแบบ

ตามแนวคิดของ Taba (1962)

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ Tyler

Tyler (1949) ไดต้ังคําถามพื้นฐานที่ตองตอบใหไดเพื่อใชเปนแนวทางการพัฒนาหลักสูตร

ใดๆ รวมทั้งการวางแผนการสอนไวดังน้ี

1. จุดมุงหมายทางการศึกษาที่โรงเรียนควรจะแสวงหา เพื่อใหผูเรียนบรรลุมีอะไรบาง

2. การที่จะใหบรรลุตามจุดมุงหมายทางการศึกษา ที่กําหนดไวจะตองมีประสบการณทาง

การศึกษาอะไรบาง

3. ประสบการณทางการศึกษาจะจัดอยางไรใหมีประสิทธิภาพ

4. จะชี้ชัดไดอยางไรวาจุดมุงหมายเหลาน้ีไดบรรลุตามจุดมุงหมายที่กําหนดไว

ในการกําหนดจุดมุงหมาย Tyler ยังไดกลาวถึงจุดประสงคตางๆ โดยเขาเสนอวา นักพัฒนา

หลักสูตรควรกําหนดจุดประสงคทั่วไป โดยศึกษาจากขอมูล 3 แหลง คือ เน้ือหาวิชาจากผูเชี่ยวชาญ

ขอมูลเกี่ยวกับผูเรียนและขอมูลเกี่ยวกับสังคม

รูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของ Taba

Taba (1962) ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร ซึ่งประกอบไปดวย 7 ขั้นตอนคือ

1. การวินิจฉัยความตองการสํารวจสภาพปญหาความตองการ และความจําเปนตางของ

ผูเรียน

2. การกําหนดจุดประสงค เปนการกําหนดจุดประสงคใหชัดเจนหลังจากที่ไดศึกษา

วิเคราะหความตองการแลว

3. การเลือกเน้ือหาสาระ เปนการเลือกเน้ือหาสาระที่สอดคลองกับจุดประสงค เน้ือหาสาระ

ที่เลือกตองคํานึงถึงวัย และความสามารถของผูเรียนดวย ทั้งยังตองมีความเชื่อถือไดและมี

ความสําคัญตอการเรียนรูดวย

4. การจัดเน้ือหาสาระ เปนการนําเน้ือหาสาระที่เลือกไวมาจัดลําดับโดย คํานึงถึงความ

ตอเน่ือง และความยากงายของเน้ือหาสาระ รวมทั้งวุฒิภาวะ ความสามารถ และความสนใจของ

ผูเรียน

5. การคัดเลือกประสบการณการเรียนรู เปนการคัดเลือกประสบการณการเรียนรูของผูสอน

หรือผูเกี่ยวของใหสอดคลองกับเน้ือหาสาระ และจุดประสงคของหลักสูตร

9

6. การจัดลําดับประสบการณการเรียน เปนการจัดลําดับประสบการณการเรียนรูโดย

คํานึงถึงเน้ือหาสาระ และความตอเน่ืองของการเรียนรู

7. การกําหนดสิ่งที่ประเมินและวิธีการเมินผล เปนการตัดสินใจวาจะตองประเมินอะไร

เพื่อตรวจสอบผลวาบรรลุตามจุดประสงคที่กําหนดไวหรือไม และกําหนดดวยวาจะใชวิธี

ประเมินผล อยางไร ใชเคร่ืองมืออะไร

จากรูปแบบการพัฒนาหลักสูตรของท้ัง 2 ทานจะพบข้ันตอนท่ีสําคัญ คือ

1. การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับผูเรียนและสังคม

2. การกําหนดจุดมุงหมายของหลักสูตร

3. การกําหนดเน้ือหาสาระและประสบการณการเรียนรู

4. การนําหลักสูตรไปใช

5. การประเมินผลหลักสูตร

6. การปรับปรุง แกไข หรือเปลี่ยนแปลงหลักสูตร

2.3 การประเมินหลักสูตร

การประเมินหลักสูตรเปนขั้นตอนหน่ึงของการพัฒนาหลักสูตรเพื่อใหทราบประสิทธิภาพ

ของการพัฒนาหลักสูตร ขอบเขตและระยะการประเมินหลักสูตรแตกตางกันออกไป แลวแต

จุดประสงคของการประเมิน ตองกําหนดใหแนชัดวาตองการประเมินอะไร ขอมูลที่นํามาประเมิน

ตองเชื่อถือได การวิเคราะหผลการประเมินตองทําอยางรอบคอบ

จุดมุงหมายของการประเมินหลักสูตร

การประเมินหลักสูตรมีจุดมุงหมายเพื่อหาขอมูลที่ถูกตอง เพื่อจะตัดสินใจวาหลักสูตรบรรลุ

ตามวัตถุประสงคที่กําหนดไวหรือไม ดังที่ Taba (1962: 310) กลาวไววา “การประเมินหลักสูตร

กระทําขึ้นเพื่อศึกษากระบวนการตาง ที่กําหนดไววามีการเปลี่ยนแปลงใดบางที่สอดคลองหรือ

ขัดแยงกับวัตถุประสงค”

วิชัย วงษใหญ (2537: 218-219) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของการประเมินหลักสูตรไววา

1.เพื่อหาคุณคาของหลักสูตร โดยตรวจสอบดูวาหลักสูตรที่พัฒนาขึ้นมาน้ันสามารถบรรลุ

ตามวัตถุประสงคหรือไม

2. เพื่อวัดผลดูวาการวางเคาโครงและรูปแบบระบบของหลักสูตร รวมทั้งวัสดุประกอบ

หลักสูตร และการบริหารและบริการหลักสูตรเปนไปในทางที่ถูกตองแลวหรือไม

10

3. การประเมินผลจากผูเรียนเอง หรือการประเมินผลผลิตเพื่อตรวจสอบดูวามีลักษณะพึง

ประสงคเปนไปตามจุดมุงหมายของหลักสูตรหรือไมเพียงใด

ใจทิพย เชื้อรัตนพงษ (2539 : 192-193) ไดกลาวถึงจุดมุงหมายของการประเมินหลักสูตร

สรุปไดดังน้ี

1.เพื่อหาทางปรับปรุงแกไขสิ่งบกพรองที่พบในองคประกอบตางๆ ของหลักสูตร

2. เพื่อหาทางปรับปรุงแกไขระบบการบริหารหลักสูตร การนิเทศกํากับดูแล การจัด

กระบวนการเรียนการสอนใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น

3.เพื่อชวยในการตัดสินใจของผูบริหารวาควรใชหลักสูตรตอไปอีก หรือควรยกเลิกการใช

หลักสูตรเพียงบางสวน หรือยกเลิกทั้งหมด

4. เพื่อตองการทราบคุณภาพของผูเรียนซึ่งเปนผลผลิตของหลักสูตรวา มีการเปลี่ยนแปลง

พฤติกรรมไปตามความมุงหวังของหลักสูตรหลังจากผานกระบวนการศึกษามาแลวหรือไม อยางไร

ระยะของการประเมินหลักสูตร

กระบวนการพัฒนาหลักสูตรเปนกระบวนการที่ตอเน่ืองและมีขอบเขตที่กวางขวางการ

ประเมินหลักสูตรจะตองครอบคลุมขั้นตอนการพัฒนาหลักสูตรต้ังแตเร่ิมแรกหรือกอนนําไปใช

ดังที่ Ornstein and Hunkins (2004: 330) ไดกลาววา “ในการเร่ิมตนที่จะพัฒนาหลักสูตร แนวคิด

สําคัญตางๆ ในโปรแกรมตองไดรับการประเมิน เพื่อตอบคําถามที่วาหลักสูตรเหมาะสมจะนําไปใช

และมีคุณคาหรือไม ” ทั้งน้ี ยังครอบคลุมไปถึงขั้นตอนระหวางการใชหลักสูตรและการติดตามผล

เมื่อหลักสูตรไดนําไปใชแลว

ใจทิพย เชื้อรัตนพงษ (2539: 193-194) ไดกลาวถึงระยะการประเมินหลักสูตรไวดังน้ี

1.การประเมินหลักสูตรกอนนําหลักสูตรไปใช ในชวงระหวางการสรางหรือพัฒนา

หลักสูตร อาจมีการดําเนินการตรวจสอบทุกขั้นตอนของการจัดทําต้ังแตการกําหนดจุดมุงหมายไป

จนถึงการกําหนดการวัดและประเมินผลการเรียน เมื่อสรางหลักสูตรฉบับรางเสร็จแลว กอนจะนํา

หลักสูตรไปใชจริง จึงควรมีการประเมินการตรวจสอบคุณภาพของหลักสูตรฉบับรางและ

องคประกอบตางๆ ของหลักสูตร การประเมินหลักสูตรในระยะน้ีตองอาศัยความคิดเห็นจาก

ผูเชี่ยวชาญทางดานพัฒนาหลักสูตร ทางดานเน้ือหาวิชาทางดานวิชาชีพครู ทางดานการวัดผลเปน

ตน

11

2. การประเมินหลักสูตรระหวางการดําเนินการใชหลักสูตร ในขณะที่มีการดําเนินการใช

หลักสูตรที่จัดทําขึ้น ควรมีการประเมินเพื่อตรวจสอบวาหลักสูตรสามารถนําไปใชไดดีเพียงใดจะ

ไดแกไขปรับปรุงใหเหมาะสม เชน ประเมินกระบวนการใชหลักสูตรในดานการบริหารจัดการ

หลักสูตร การนิเทศกํากับดูแล และการจัดกระบวนการเรียนการสอน

3. การประเมินหลักสูตรหลังการใชหลักสูตร หลังจากที่มีการใชหลักสูตรมาระยะหน่ึงหรือ

ครบกระบวนการเรียบรอยแลว ควรจะประเมินหลักสูตรทั้งระบบ ซึ่งไดแก การประเมิน

องคประกอบตางๆ ของหลักสูตรทั้งหมด คือ เอกสารหลักสูตร วัสดุหลักสูตร บุคลากรที่เกี่ยวของ

กับการใชหลักสูตร การบริหารหลักสูตร การนิเทศกํากับติดตาม การจัดกระบวนการเรียนการสอน

ฯลฯ เพื่อสรุปผลตัดสินใจวาหลักสูตรที่จัดทําขึ้นน้ัน ควรจะดําเนินการใชตอไป หรือควรปรับปรุง

แกไขใหดีขึ้น หรือควรจะยกเลิก

2.4 แนวความคิดกระบวนการเรียนการสอน

กระบวนการเรียนการสอนน้ันเปนการจัดการศึกษา โดยการนําวัตถุประสงคซึ่งกําหนดไว

ในหลักสูตร ไปปฏิบัติจริงใหบรรลุตามเปาหมาย ซึ่งเปนเน้ือหาการเรียนการสอนและองคประกอบ

การเรียนการสอน ซึ่งประกอบดวย

ความหมายของการเรียนการสอน มีผูไดใหความหมายไวดังน้ีคือ

อินทิรา บุรยาทร (2542 : 4) ไดใหความหมายของการสอน คือ กระบวนการจัดมวล

ประสบการณตางๆ ใหแกผูเรียน โดยผูสอนและผูเรียนรวมกันจัดกิจกรรมทั้งที่เปนกิจกรรมใน

หองเรียนและกิจกรรมนอกหองเรียน เพื่อใหผูเรียนมีความรูความสาม ารถ และคุณลักษณะตางๆ

ตรงตามที่กําหนดไวในหลักสูตร นอกจากน้ีผูสอนจะตองมีจุดมุงหมายของการสอน วิธีการสอนที่

เหมาะสมกับเน้ือหา และลักษณะของผูเรียน มีจิตวิทยา เพื่อที่จะไดเขาใจลักษณะของผูเรียน รูจัก

การใชสื่อ อุปกรณการสอนตางๆ ที่จะชวยใหผูเรียนเขาใจเน้ือหาที่สอนตลอดจนสามารถวัด และ

ประเมินผลการเรียนไดอยางถูกตอง และผูเรียนจะตองปฎิสัมพันธกันในดานเปาหมายการสอน และ

ความสามารถของผูเรียน มุงสูการเรียนเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมตามจุดประสงคที่กําหนด โดยอาศัย

ทั้งศาสตรและศิลป

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน (2542 : 108 -109) กลาววา กระบวนการเรียนการสอนประกอบ

องคประกอบ 3 องคประกอบ ครูผูสอน ผูเรียน และการสอนไดแก เน้ือหาวิชา และกระบวนการ

สอน ดังน้ันกระบวนการเรียนการสอน ประกอบดวย

1.1 ผูเกี่ยวของกับกระบวนการเรียนการสอน

12

1.2 หลักสูตร

1.3 เทคนิควิธีการสอน

1.4 สื่อการเรียนการสอน

1.5 สิ่งแวดลอมทางการเรียน

1.6 การวัดและการประเมิน

กระทรวงศึกษาธิการไดออกประกาศตามพระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พ.ศ.2542 และ

ที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 หมวดที่ 6 มาตรฐานและการประกันคุณภาพการศึกษา มาตรา

47 กําหนดใหมีการประกันคุณภาพการศึกษา เพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ

ประกอบดวยระบบการประกันคุณภาพภายในและระบบการประกันคุณภาพภายนอก จึง

เห็นสมควรใหจัดทํากรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ เพื่อใหเปนไปตามมาตรฐาน

การอุดมศึกษา เพื่อเปนการประกันคุณภาพของบัณฑิตในแตละระดับคุณวุฒิและสาขา/ สาขาวิชา

รวมทั้งเพื่อใชเปนหลักในการจัดทํามาตรฐานดานตางๆ เพื่อใหการจัดการศึกษามุงสูเปาหมาย

เดียวกันในการผลิตบัณฑิตไดอยางมีคุณภาพ

ฉะน้ัน จึงมีประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เร่ืองกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา

แหงชาติ พ.ศ.2552 ใหใชประกาศน้ีสําหรับการกําหนดเปาหมายของการจัดการศึกษาเพื่อใหบัณฑิต

มีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติ กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ

ระดับอุดมศึกษาแหงชาติของประเทศ ( Thai Qualifications Framework for Higher Education:

TQF) มีวัตถุประสงคหลักเพื่อเปนกรอบมาตรฐานใหสถาบันอุดมศึกษาใชเปนแนวทางในการ

พัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษา ให

สามารถผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพ และเพื่อประโยชนตอการรับรองมาตรฐานคุณวุฒิใน

ระดับอุดมศึกษา กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติจึงเปนกรอบที่แสดงระบบคุณวุฒิ

การศึกษาระดับอุดมศึกษาของประเทศ ซึ่งประกอบดวยระดับคุณวุฒิ การแบงสายวิชา ความ

เชื่อมโยงตอเน่ืองจากคุณวุฒิระดับหน่ึงไปสูระดับที่สูงขึ้น มาตรฐานผลการเรียนรูของแตละระดับ

คุณวุฒิซึ่งเพิ่มสูงขึ้นตามระดับของคุณวุฒิลักษณะของหลักสูตรในแตละระดับคุณวุฒิ ปริมาณการ

เรียนรูที่สอดคลองกับเวลาที่ใช การเปดโอกาสใหเทียบโอนผลการเรียนรูจากประสบการณ ซึ่งเปน

การสงเสริมการเรียนรูตลอดชีวิต รวมทั้งระบบและกลไกที่ใหความมั่นใจในประสิทธิผลการ

ดําเนินงานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติของสถาบันอุดมศึกษาวาสามารถ

ผลิตบัณฑิตใหบรรลุคุณภาพตามมาตรฐานผลการเรียนรู

13

นอกจากน้ีการที่จะทําใหการเรียนรูมีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้นยังตองคํานึงปจจัยที่สนับสนุน

กระบวนการการเรียนดวยน่ันก็คือปจจัยที่สนับสนุนกระบวนการเรียนรูซึ่งมีกระบวนการดังน้ี

(คณะอนุกรรมการปฏรูิปการเรียน,2543 : 21)

1.กระบวนการเรียนรูจะเกิดขึ้นไดดี ถาผูเรียนมีโอกาสไดคิด ทํา สรางสรรค โดยที่ชวยจัด

บรรยากาศการเรียนรู และสรุปสาระการเรียนรูรวมกัน

2. คํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคลในดานความสาม ารถทางสติปญญา อารมณสังคม

ความพรอมทางรางกายและจิตใจ รวมทั้งการสรางโอกาสใหผูเรียนเกิดการเรียนดวยวิธีการที่

หลากหลายและตอเน่ือง

3. สาระการเรียนสมดุลเหมาะสมกับวัย ความถนัด ความสนใจของผูเรียนและความ

คาดหวังของสังคม และจะตองทําใหเรียนมีความรู มีคิด ความสามารถ รวมทั้งมีความประพฤติที่ดี

ดวย

4. แหลงการเรียนจะตองมีหลากหลายและเพียงพอที่จะใหผูเรียนไดใชเปนแหลงคนควาหา

ความรูความถนัด ความสนใจ อยางเหมาะสม

5. ปฎิสัมพันธระหวางผูเรียนกับผูสอน รวมทั้งระหวางผูเรียน จะตองเปนลักษณะกัลยามิตร

ชวยเหลือเกื้ อกูลซึ่งกันและกัน มีกิจกรรมรวมกันในกระบวนการเรียนรู รวมทั้งการแลกเปลี่ยน

ความคิด และการถายทอดความคิด ตลอดจนการรวมกันแกไขปญหารวมกัน

6. ผูเรียนความศรัทธาตอผูสอน รวมทั้งผูสอนตองมีความเชื่อมั่นวาศิษยสามารถเรียนรูได

และมีวิธีการเรียนที่แตกตางกัน

7. สาระและกระบวนการเรียนรูสามารถเชื่อมโยงกับเหตุการณปจจุบันและสิ่งแวดลอมดวย

ตลอดจนผูเรียนสามารถนําความรูที่ไดไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

8. กระบวนการเรียนรู จะตองเชื่อมโยงกับเครือขายอ่ืนๆ เชน ชุมชน ครอบครัวและองคกร

ตางๆ เพื่อสรางความสัมพันธและความรวมมือกันเพื่อใหผูเรียนเกิดการเรียนรู และไดรับประโยชน

การเรียนรูสูงสุด

นอกจากน้ีแนวทางการจัดการเรียนการสอน ผูสอนควรคํานึงถึงในเร่ืองตอไปน้ี

1.การจัดลําดับขั้นของการเรียนรูและการนําเสนอใหสอดคลองกับระดับการรับรูเขาใจ

2.ในการเรียนการสอนน้ัน ทั้งผูเรียนและผูสอนตองมีความความพรอม แรงจูงใจและความ

สนใจ

3.ลักษณะและชนิดของกิจกรรมการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับความสามารถของผูเรียน

จะชวยใหมีความรูคงทนและถายโยงความรูไดดวย

14

4.แรงเสริมดวยตนเอง ( Self-reinforcement) ครูควรใหผลยอนกลับแกผูเรียน เพื่อใหทราบ

วาทําผิดหรือทําถูก เปนการสรางแรงเสริมดวยตนเอง

วิธีการสอนตามแนวคิดของบรูเนอร ประกอบดวยการสอนตามลําดับขั้นดังน้ี

1. ใหผูเรียนเผชิญกับปญหา ทําความเขาใจปญหาและมีความตองการที่จะแกไข

2. ระบุปญหาที่เผชิญใหชัดเจน

3. ต้ังสมมติฐานเพื่อคาดคะเนคําตอบของปญหา

4. เก็บรวบรวมขอมูลเพื่อใชพิสูจนสมมติฐานที่กําหนด

5. สรุปผลการคนหาพบ วิธีการสอนแบบคนพบ เปนวิธีการสอนโดยเนนผูเรียนเปน

ศูนยกลาง ตองจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหเหมาะ สมกับระ ดับความสามารถของผูเรียน จัด

กิจกรรมที่ใหผูเรียนไดเผชิญปญหากิจกรรมที่จัดน้ันตองสรางแรงจูงใจใหผูเรียนอยากคนหาคําตอบ

ในกิจกรรมตองเปดโอกาสใหลงมือปฎิบัติ โดยใชประสาทสัมผัสทั้งหา สรางองคความรูดวยตนเอง

จากการคนควาหาความรู

2.5 แนวคิดหลักสูตรการเรียนการสอน

หลักสูตร เปนการวางแผนการจัดประสบการณตางๆ ที่มุงใหผูเรียนเกิดการเรียนรูใน

สาขาวิชาโดยผูสอนเปนผูจัดประสบการณ รวมทั้งกิจกรรมตางๆ และการใหความรูแกผูเรียน ตาม

วัตถุประสงคของหลักสูตรที่กําหนดไวภายใตการควบคุมของสถาบันการศึกษา เพื่อมุงเนนให

ผูเรียนเกิดความรู ความชํานาญ ทักษะวิชาชีพตางๆ เพื่อใหสามารถนําความรูที่ดีไปประกอบอาชีพ

หรือ นําไปประยุกตใชในชีวิตประจําวันได

โดยไดมีผูนิยามความหมายของหลักสูตรไวดังน้ีคือ (เปร่ือง กิจรัตนกร, 2543 : 147) ให

ความหมายของคําวาหลักสูตร คือ สิ่งที่เกี่ยวของกับการเรียนการสอน เพื่อใหบัณฑิตมีความรู และ

ทักษะกระบวนการรางวัสดุอุปกรณ เคร่ืองมือ และกรรมวิธีทางวิทยาศาสตรมาใชในการผลิต

ตลอดจนการบริหารและการจัดการ โดยเนนเทคนิคการผลิต เพื่อใหระบบการผลิตมีความ

เหมาะสมยิ่งขึ้น

จากความหมายของหลักสูตร แสดงใหเห็นวาหลักสูตรมีความสําคั ญตอการเรียนการสอน

ซึ่งสามารถแบงหลักสูตร ไดหลายประเภท (ปรียาพร วงศอนุตรโรจน, 2542 : 94 -95) ดังน้ี

1. หลักสูตรรายวิชา เปนหลักสูตรด้ังเดิม โดยเนนเน้ือหาสาระแตละวิชาที่แยกกัน

จุดมุงหมายของหลักสูตรแบบน้ีก็เพื่อใหผูเรียนเขาใจเน้ือหาสาระ

15

2. หลักสูตรสหสัมพันธ คือหลักสูตรที่นําเอาเน้ือหาของรายวิชาที่อ่ืนที่มีความสัมพันธกัน

มารวมดวยกัน แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธของ 2 รายวิชาโดยไมทําลายขอบเขตวิชาเดิม

3. หลักสูตรผสมผสาน เปนการจัดหลักสูตรที่มุงเนนรายวิชาโดยสรางวิชาจากเน้ือหาวิชาที่

เคยแยกสอนใหเปนวิชาเดียวกันแตคงรักษาเน้ือหาพื้นฐานของแตละวิชาไว เปนวิชาที่มีการบูรณ า

การระหวางวิชาการมากกวา คือ การสอนหลายวิชาเหมือนวิชาเดียว

4. หลักสูตรหมวดวิชา เปนรูปแบบหลักสูตรที่มีลักษณะหลายหลักสูตร ไดแก หลักสูตร

สหสัมพันธ และหลักสูตรแบบผสมผสาน

5. หลักสูตรวิชาแกน เปนหลักสูตรที่มีวิชาใดหน่ึงเปนแกนวิชาของวิชาอ่ืนๆ โดยเนน

เน้ือหาดานสังคม และหนาที่พลเมือง เพื่อแกปญหา เชน ประชากร และมลภาวะ

6. หลักสูตรที่เนนทักษะกระบวนการ เปนหลักสูตรที่มุงใหเกิดทักษะกระบวนการ

7. หลักสูตรที่เนนสมรรถฐาน เปนหลักสูตรที่มีความสัมพันธโดยระหวางจุดมุงหมาย

กิจกรรมการเรียนการสอน และความสามารถในการปฎิบัติของผูเรียน

8. หลักสูตรที่เนนกิจกรรม และปญหาทางสังคม เปนหลักสูตรที่มุงเนนการแกปญหาชุมชน

หรือ เร่ืองราวตางๆ ของชีวิตในสังคมชุมชน

9. หลักสูตรที่เนนความตองการ และความสนใจของแตละบุคคล เปนหลักสูตรที่เนนความ

สนใจ และความตองการของผูเรียน

หลักสูตรระดับอุดมศึกษา

เพื่อใหเกิดการพัฒนาการศึกษาระดับอุดมศึกษา และมีมาตรฐานวิชาการและวิชาชีพของ

สาขาวิชาน้ันๆ โดยมุงเนนการผลิตบัณฑิตใหมีความรอบรู ทั้งภาคทฤษฎีและภาคป ฏิบัติ สามารถ

นําไปประยุกตใชไดอยางเหมาะสม มีความสามรถในการคิดวิเคราะหและสังเคราะหอยางเปน

ระบบ หมั่นแสวงหาความรูดวยตนเอง และสามารถติดตอสื่อสารกับผูอ่ืนไดเปนอยางดี รวมทั้งให

เปนผูมีคุณธรรมและจริยธรรม จึงมีเกณฑหลักสูตรระดับอุดมศึกษาดังน้ี (กระทรวงศึกษาธิการ,

2548)

ระบบการจัดการศึกษา

ใชระบบทวิภาค โดย 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาค การศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษา

ปกติมีระยะเวลาการศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห สถาบันอุดมศึกษาที่เปดการศึกษาภาคฤดูรอนให

กําหนดระยะเวลาและจํานวนหนวยกิตโดยมีสัดสวนเทียบเคียงกันไดกับการศึกษาภาคปกติ

สถาบันอุดมศึกษาที่จัดการศึกษาในระบบไตรภาค หรือระบบจตุรภาคใหถือแนวทางดังน้ี

ระบบไตรภาค 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 3 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมี

ระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 12 สัปดาห

16

ระบบจตุรภาค 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 4 ภาคการศึกษา 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา

ศึกษาไมนอยกวา 10 สัปดาห

สถาบันอุดมศึกษาที่จัดศึกษาระบบอ่ืน ใหแสดงรายละเอียดเกี่ยวกับระบบการศึกษาน้ัน

รวมทั้งรายละเอียดการเทียบเคียงหนวยกิตกับระบบทวิภาคไวในหลักสูตรใหชัดเจนดวย

การคิดหนวยกิต

รายวิชาภาคทฤษฎี ที่ใชเวลาบรรยาย หรืออภิปรายปญหาไมนอยกวา 15 ชั่วโมง ตอภาค

การศึกษา ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

รายวิชาภาคปฎิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 30 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ

ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

รายวิชาภาคปฎิบัติ ที่ใชเวลาฝกหรือทดลองไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ

ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิตระบบทวิภาค

การทําโครงงานหรือกิจกรรมการเรียนอ่ืนใดตามที่ไดรับมอบหมายที่ใชเวลา ทําโครงงาน

หรือกิจกรรมน้ันๆ ไมนอยกวา 45 ชั่วโมงตอภาคการศึกษาปกติ ใหมีคาเทากับ 1 หนวยกิต

จํานวนหนวยกิตรวมและระยะเวลาการศึกษา

หลักสูตรปริญญาตรี (4 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมไมนอยกวา 120 หนวยกิต ใชเวลา

ศึกษาไมเกิน 8 ปการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 12 ปการศึกษาสําหรับ

การลงทะเบียนไมเต็มเวลา

หลักสูตรปริญญาตรี (5 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิจรวมไมนอยกวา 150 หนวยกิต ใชเวลา

ศึกษาไมเกิน 10 ปการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 15 ป การศึกษา

สําหรับการลงทะเบียนเรียนไมเต็มเวลา

หลักสูตรปริญญาตรี (ไมกวานอยกวา 6 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิตรวมไมนอยกวา 180

หนวยกิต ใชเวลาศึกษาไมเกิน 12 ป การศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 15

ป การศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนไมเต็มเวลา

หลักสูตรปริญญาตรี(ตอเน่ือง) ใหมีหนวยกิตรวมไมนอ ยกวา 72 หนวยกิตใชเวลาศึกษาไม

เกิน 4 ปการศึกษา สําหรับการลงทะเบียนเรียนเต็มเวลา และไมเกิน 6 ปการศึกษาสําหรับลงทะเบียน

เรียนไมเต็มเวลา

หลักสูตรปริญญาตรี (ตอเน่ือง) จะตองถือเปนสวนหน่ึงของหลักสูตรปริญญาตรีและ

จะตองสะทอนปรัชญาและเน้ือหาสาระของหลักสูตรปริญญาตรีน้ันๆ โดยครบถวนและใหระบุคํา

วา “ตอเน่ือง” ในวงเล็บตอทายชื่อหลักสูตร ทั้งน้ี ใหนับเวลาศึกษาจากวันที่เปดภาคการศึกษาแรกที่

รับเขาศึกษาในหลักสูตรน้ัน

17

2.6 โครงสรางหลักสูตรของวิทยาลัยราชพฤกษ

ประกอบดวยหมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเสรี โดยมีสัดสวน

จํานวนหนวยกิตของแตละหมวดวิชา ดังน้ี

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป หมายถึง วิชาที่มุงพัฒนาผูเรียนใหมีความรอบรูอยางกวางขวางมี

โลกทัศนที่กวางไกล มีความเขาใจธรรมชาติ ตนเอง ผูอ่ืน และสังคม เปนผูใฝรู สามารถคิดอยางมี

เหตุผลสามารถใชภาษาในการติดตอสื่อสารความหมายไดดี มีคุณธรรม ตระหนักในคุณคาของ

ศิลปะและวัฒนธรรมทั้งของไทยและของประชาคมนานาชาติ สาม ารถนําความรูไปใชในการ

ดําเนินชีวิตและดํารงตนอยูในสังคมไดเปนอยางดีสถาบันอุดมศึกษาอาจจัดวิชาศึกษาทั่วไปใน

ลักษณะจําแนกเปนรายวิชาหรือลักษณะบูรณาการใด ๆ ก็ได โดยผสมผสานเน้ือหาวิชาที่ครอบคลุม

สาระของกลุมวิชาสังคมศาสตร มนุษยศาสตรภาษา และกลุมวิชาวิทยา ศาสตรคณิตศาสตร ใน

สัดสวนที่เหมาะสม เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคของวิชาศึกษาทั่วไป โดยใหมีจํานวนหนวยกิตรวม

ไมนอยกวา 30 หนวยกิต อน่ึง การจัดวิชาศึกษาทั่วไปสําหรับหลักสูตรปริญญาตรี (ตอเน่ือง) อาจ

ไดรับการยกเวนรายวิชาที่ไดศึกษามาแลวในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูงหรือระดับ

อนุปริญญา ทั้งน้ี จํานวนหนวยกิตของรายวิชาที่ไดรับการยกเวนดังกลาว เมื่อนับรวมกับวิชาที่จะ

ศึกษาเพิ่มเติมในหลักสูตรปริญญาตรี (ตอเน่ือง) ตองไมนอยกวา 30 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ หมายถึง วิชาแกน วิชาเฉพาะดาน วิชาพื้นฐานวิชาชีพและวิชาชีพ ที่มุง

หมายใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ และปฎิบัติงานได โดยใหมีจํานวนหนวยกิตรวมดังน้ี

หลักสูตรปริญญาตรี (4 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิตหมวดวิชาเฉพาะรวมไมนอยกวา 84

หนวยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี (5 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิตหมวดวิชาเฉพาะรวมไมนอยกวา 114

หนวยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี (ไมนอยกวา 6 ป) ใหมีจํานวนหนวยกิตหมวดวิชาเฉพาะรวมไมนอย

กวา 114 หนวยกิต

หลักสูตรปริญญาตรี(ตอเน่ือง)ใหมีจํานวนหนวยกิตหมวดวิชาเฉพาะรวมไมนอยกวา 42

หนวยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจจัดหมวดวิชาเฉพาะในลักษณะวิชาเอกเด่ียว วิชาเอกคู หรือวิชาเอก

และวิชาโทก็ได โดยวิชาเอกตองมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 30 หนวยกิจ และวิชาโท ตองมี

จํานวนหนวยกิตไมนอยกวา 15 หนวยกิต ในกรณีที่จัดหลักสูตรแบบวิชาเอกคูตองเพิ่มจํานวน

หนวยกิตของวิชาเอกอีกไมนอยกวา 30 หนวยกิต และไมมีจํานวนหนวยกิตรวมไมนอยกวา 150

หนวยกิต

18

หมวดวิชาเลือกเสรี หมายถึง วิชาที่มุงใหผูเรียนมีความรู ความเขาใจ ตามที่ตนเองถนัดหรือ

สนใจ โดยเปดโอกาสใหผูเรียนเลือกเรียนวิชาใดๆ ในหลักสูตรระดับปริญญาตรีโดยใหมีจํานวน

หนวยกิต ไมนอยกวา 6 หนวยกิต สถาบันอุดมศึกษาอาจยกเวนหรือเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาใน

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมวดวิชาเฉพาะ และหมวดวิชาเลือกเสรี ใหกับนักศึกษาที่มีความรูความ

สามรถที่สามารถวัดมาตรฐานหลักสูตร และเปนไปตามหลักเกณฑการเทียบโอนผลการเรียนระดับ

ปริญญาเขาสูการศึกษาในระบบและแนวปฏิบัติที่ดีเกี่ยวกับการเทียบโอน ของสํานักงาน

คณะกรรมการการอุดมศึกษา

โครงสรางหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี (ตอเน่ือง) ของวิทยาลัยราชพฤกษ

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 84 หนวยกิต

องคประกอบของหลักสูตร

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป จํานวน 15 หนวยกิต

กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 6 หนวยกิต

กลุมวิชาภาษาศาสตร 6 หนวยกิต

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 3 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 63 หนวยกิต

กลุมวิชาแกน 18 หนวยกิต

กลุมวิชาเอกบังคับ 39 หนวยกิต

กลุมวิชาเอกเลือก 6 หนวยกิต

หมวดวิชาเลือกเสรี จํานวน 6 หนวยกิต

รายวิชาและจํานวนหนวยกิต

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 15

หนวยกิต

กลุมวิชาสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร ศึกษาไมนอยกวา 6 หนวยกิต

001-001 สังคมกับสิ่งแวดลอม (Society and Environment) 2 ( 2-0-4 )

001-002 สังคมกับเศรษฐกิจ (Society and Economic) 3 ( 3-0-6 )

001-003 มนุษยกับสังคม (Human and Society) 3 ( 3-0-6 )

001-004 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม 3 ( 3-0-6 )

(Social Skills and Better Living)

19

001-005 จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology) 3 ( 3-0-6 )

001-006 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 1 ( 1-0-2 )

(Personality Development Technigues )

001-007 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย 3 ( 3-0-6 )

(Introduction to Jurisprudence)

001-008 ปรัชญาเบื้องตน (Introduction to Philosophy) 3 ( 3-0-6 )

001-009 ประวัติศาสตรและระบอบการปกครองของไทย 3 ( 3-0-6 )

(Thailand’s Political History)

001-010 การเมืองและการปกครองของไทย 3 ( 3-0-6 )

(Thai Politics and Government)

001-011 มนุษยสัมพันธ (Human Relation) 3 ( 3-0-6 )

001-012 ไทยศึกษา (Thai Study) 3 ( 3-0-6 )

กลุมวิชาภาษาศาสตร ศึกษาไมนอยกวา 6 หนวยกิต

002-001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3 ( 3-0-6 )

(Thai for Communication)

002-002 การคนควาและการเขียนรายงาน 3 ( 3-0-6 )

(Study Fundamentals and Report Writing)

002-003 ภาษาอังกฤษ 1 (English 1) 3 ( 3-0-6 )

002-004 ภาษาอังกฤษ 2 (English 2) 3 ( 3-0-6 )

002-005 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน 3 ( 3-0-6 )

(English for Everyday Use )

002-006 การเขียนภาษาอังกฤษ (English Writing) 3 ( 3-0-6 )

002-007 ภาษาจีน 1 (Chinese 1) 3 ( 3-0-6 )

002-008 ภาษาจีน 2 (Chinese 2) 3 ( 3-0-6 )

002-009 ภาษาญ่ีปุน 1 (Japanese 1) 3 ( 3-0-6 )

002-010 ภาษาญ่ีปุน 2 (Japanese 2) 3 ( 3-0-6 )

002-011 ภาษาอังกฤษ 3 (English 3 ) 3 ( 3-0-6 )

002-012 ภาษาอังกฤษ 4 (English 4 ) 3 ( 3-0-6 )

20

002-013 การคนควาและการเขียนรายงานทางกฎหมาย 2 ( 1-2-3 )

( Legal Report Writing )

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ศึกษาไมนอยกวา 3 หนวยกิต

003-001 คณิตศาสตรทั่วไป (General Mathematics) 3 ( 3-0-6 )

003-002 สถิติเบื้องตน (Introduction to Statistics) 3 ( 3-0-6 )

003-003 มนุษยกับวิทยาศาสตรชีวภาพ 3 ( 3-0-6 )

(Human and Biological Science)

003-004 วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม (Environmental Sciences) 3 ( 3-0-6 )

003-005 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Sciences and Technology) 3 ( 3-0-6 )

003-006 คอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศเบื้องตน 3 ( 2-2-5 )

( Introduction to computer and Information Systems)

กลุมวิชาพลศึกษาและนันทนาการ 1 หนวยกิต

004-001 ลีลาศ (Ballroom Dance) 1 ( 0-2 -1 )

004-002 บาสเกตบอล (Basketballs) 1 ( 0-2 -1 )

004-003 วอลเลยบอล (Volleyball) 1 ( 0-2 -1)

004-004 ฟุตบอล ( Football ) 1 ( 0-2 -1 )

004-005 เปตอง (Peton) 1 ( 0-2 -1 )

004-006 แบดมินตัน (Badminton) 1 ( 0-2-1 )

004-007 ดนตรีไทย (Thai Classical Music) 1 ( 0-2-1 )

004-008 ดนตรีสากล (Western Music) 1 ( 0-2-1 )

หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 63 หนวยกิต

กลุมวิชาแกน จํานวน 18 หนวยกิต

100-001 หลักการบัญชี ( Principles of Accounting) 3 ( 3-0-6 )

100-004 การเงินธุรกิจ (Business Finance) 3 ( 3-0-6 )

100-005 การภาษีอากร (Taxation) 3 ( 3-0-6 )

200-002 เศรษฐศาสตรธุรกิจ (Business Economics) 3 ( 3- 0-6 )

21

200-003 กฎหมายสําหรับนักบัญชี 1 (Law for an Accountance 1) 3 ( 3-0-6 )

200-004 กฎหมายสําหรับนักบัญชี 2 (Law for an Accountance 2) 3 ( 3-0-6 )

กลุมวิชาเอกบังคับ 39 หนวยกิต

211-001 การบัญชีชั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting 1) 3 ( 3-0-6 )

211-002 การบัญชีชั้นกลาง 2 (Intermediate Accounting 2) 3 ( 3-0-6 )

211-003 การบัญชีตนทุน (Cost Accounting) 3 ( 3-0-6 )

211-00 4 การบัญชีชั้นสูง 1 (Advanced Accounting 1) 3 ( 3-0-6 )

211-00 5 การบัญชีชั้นสูง 2 (Advanced Accounting 2) 3 ( 3- 0-6 )

211-00 6 การบัญชีภาษีอากร (Taxation Accounting) 3 ( 3-0-6 )

211-00 7 การสอบบัญชี (Auditing) 3 ( 3-0-6 )

211-0 08 การวางรูปแบบระบบบัญชี 3 ( 3- 0-6 )

(Accounting System Formation)

211-009 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Accounting Information System)

211-010 รายงานการเงิน (Financial Reports) 3 ( 3-0-6 )

211-011 การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting) 3 ( 3-0-6 )

211-012 สัมมนาการบัญชีการเงิน 3 ( 3-0-6 )

(Seminar in Financial Accounting)

211-013 การวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ 3 ( 3-0-6 )

(Budgetary Planning and Control)

กลุมวิชาเอกเลือก จํานวน 6 หนวยกิต

ใหเลือกเรียน 2 วิชา จํานวน 6 หนวยกิตจากวิชาตอไปน้ี

212-001 โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานบัญชี 3 ( 3-0-6 )

( Software Package for Accounting)

212-002 การบัญชีภาครัฐ (Governmental Accounting) 3 ( 3-0-6 )

212-003 สัมมนาปญหาการบัญชีภาษีอากร 3 ( 3- 0-6 )

(Seminar in Taxation Problems)

212-004 การบัญชีธุรกิจพาณิชยนาวี (Marine Accounting) 3 ( 3-0-6 )

22

212-005 สัมมนาการสอบบัญชี(Seminar in Auditing) 3 ( 3- 0-6 )

212-006 การใชคอมพิวเตอรในการจัดทําบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Computerlized in Accounting )

212-008 สัมนาการบัญชีบริหาร 3 ( 3-0-6 )

(Seminar in Managerial Accounting)

212-009 การบัญชีเฉพาะกิจการ (Specialized Accounting) 3 ( 3-0-6 )

212-010 การบัญชีระหวางประเทศ (International Accounting) 3 ( 3-0-6 )

212-011 การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) 3 ( 3-0-6 )

212-012 การใชคอมพิวเตอรในการตรวจสอบบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Computerized Audit)

212-013 การวางแผนภาษี (Tax Planning) 3 ( 3-0-6 )

212-014 การสื่อสารขอมูลธุรกิจ(Data Business Communication) 3 ( 3-0-6 )

212-015 สัมมนาระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Seminar in Accounting System)

212-016 ฐานขอมูลเพื่องานบัญชี (The Database for Account Work) 3 ( 3-0-6 )

212-017 ทฤษฏีบัญชี (Accounting Theory) 3 ( 3-0-6 )

212-018 นโยบายการบัญชี(Accounting Policy) 3 ( 3-0-6 )

212-019 การวิเคราะหตราสารหน้ีและตราสารทุน 3 ( 3-0-6 )

(Bond Market and Capital Market Analysis)

หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต ใหเลือกจากรายวิชาที่เปดสอนในวิทยาลัยฯ ไมนอยกวา 6

หนวยกิต โดยความเห็นชอบจากอาจารยที่ปรึกษา

เลือกเสรี 6 หนวยกิต

โครงสรางหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี (4 ป) ของวิทยาลัยราชพฤกษ

จํานวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตรไมนอยกวา 133 หนวยกิต

องคประกอบของหลักสูตร

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป 31 หนวยกิต

กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร 9 หนวยกิต

กลุมวิชาภาษาศาสตร 12 หนวยกิต

23

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร 9 หนวยกิต

กลุมวิชาพลศึกษาและนันทนาการ 1 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ 96 หนวยกิต

กลุมวิชาแกน 48 หนวยกิต

กลุมวิชาเอกบังคับ 39 หนวยกิต

กลุมวิชาเอกเลือก 9 หนวยกิต

หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หนวยกิต

รายวิชาท่ีเปดสอน

หมวดวิชาศึกษาท่ัวไป ศึกษาไมนอยกวา 31 หนวยกิต

กลุมวิชาสังคมศาสตร และมนุษยศาสตร ศึกษาไมนอยกวา 9 หนวยกิต

ใหศึกษาวิชาประวัติศาสตรการปกครองของไทย และใหเลือกเรียนอีก 6 หนวยกิต

จากวิชาตอไปน้ี

001-001 สังคมกับสิ่งแวดลอม (Society and Environment) 2 ( 2-0-4 )

001-002 สังคมกับเศรษฐกิจ (Society and Economic) 3 ( 3-0-6 )

001-003 มนุษยกับสังคม (Human and Society) 3 ( 3-0-6 )

001-004 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม 3 ( 3-0-6 )

(Social Skills and Better Living)

001-005 จิตวิทยาทั่วไป (General Psychology) 3 ( 3-0-6 )

001-006 เทคนิคการพัฒนาบุคลิกภาพ 1 ( 1-0-2 )

(Personality Development Technigues)

001-007 ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับกฎหมาย 3 ( 3-0-6 )

(Introduction to Jurisprudence)

001-008 ปรัชญาเบื้องตน (Introduction to Philosophy) 3 ( 3-0-6 )

001-009 ประวัติศาสตรการปกครองของไทย 3 ( 3-0-6 )

(Thailand’s Political History)

001-010 การเมืองและการปกครองไทย 3 ( 3-0-6 )

(Thai Politics and Government )

001-011 มนุษยสัมพันธ (Human Retation) 3 ( 3-0-6 )

001-012 ไทยศึกษา (Thai Study) 3 ( 3-0-6 )

24

กลุมวิชาภาษาศาสตร ศึกษาไมนอยกวา 12 หนวยกิต

002-001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (Thai for Communication) 3 ( 3-0-6 )

002-002 การคนควาและการเขียนรายงาน 3 ( 3-0-6 )

(Study Fundamentals and Report Writing)

002-003 ภาษาอังกฤษ 1 (English 1) 3 ( 3-0-6 )

002-004 ภาษาอังกฤษ 2 (English 2) 3 ( 3-0-6 )

002-005 ภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน (English for Everyday Use) 3 ( 3-0-6 )

002-006 การเขียนภาษาอังกฤษ (English Writing) 3 ( 3-0-6 )

002-007 ภาษาจีน 1 (Chinese 1) 3 ( 3-0-6 )

002-008 ภาษาจีน 2 (Chinese 2) 3 ( 3-0-6 )

002-009 ภาษาญ่ีปุน 1 (Japanese 1) 3 ( 3-0-6 )

002-010 ภาษาญ่ีปุน 2 (Japanese 2) 3 ( 3-0-6 )

002-011 ภาษาอังกฤษ 3 (English 3 ) 3 ( 3-0-6 )

002-012 ภาษาอังกฤษ 4 (English 4 ) 3 ( 3-0-6 )

002-013 การคนควาและการเขียนรายงานทางกฎหมาย 2 ( 2-2-5 )

(Legal Report Writing)

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ศึกษาไมนอยกวา 9 หนวยกิต

ใหศึกษาวิชาคณิตศาสตรทั่วไปและวิชาสถิติเบื้องตน และใหเลือกเรียนอีก 3

หนวยกิต จากวิชาตอไปน้ี

003-001 คณิตศาสตรทั่วไป (General Mathematics) 3 ( 3-0-6 )

003-002 สถิติเบื้องตน (Introduction to Statistics) 3 ( 3-0-6 )

003-003 มนุษยกับวิทยาศาสตรชีวภาพ 3 ( 3-0-6 )

(Human and Biological Science)

003-004 วิทยาศาสตรสิ่งแวดลอม (Environmental Sciences) 3 ( 3-0-6 )

003-005 วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี (Sciences and Technology) 3 ( 3-0-6 )

003-006 คอมพิวเตอรและระบบสารสนเทศเบื้องตน 3 ( 2-2-5 )

(Introduction to computer and Information Systems)

กลุมวิชาพลศึกษาและนันทนาการ 1 หนวยกิต

25

004-001 ลีลาศ (Ballroom Dance) 1 ( 0-2-1 )

004-002 บาสเกตบอล (Basketballs) 1 ( 0-2-1 )

004-003 วอลเลยบอล (Volleyball) 1 ( 0-2-1)

004-004 ฟุตบอล (Football) 1 ( 0-2 -1 )

004-005 เปตอง (Peton) 1 ( 0-2-1 )

004-006 แบดมินตัน (Badminton) 1 ( 0-2-1 )

004-007 ดนตรีไทย (Thai Classical Music) 1 ( 0-2-1 )

004-008 ดนตรีสากล (Western Music) 1 ( 0-2-1 )

หมวดวิชาเฉพาะ จํานวน 96 หนวยกิต

หมวดวิชาเฉพาะ ประกอบดวย 3 กลุมวิชา ดังตอไปน้ี

กลุมวิชาแกน จํานวน 48 หนวยกิต

100-002 การบัญชีขั้นตน 1 (Introduction to Accounting 1) 3 ( 3-0-6 )

100-003 การบัญชีขั้นตน 2 (Introduction to Accounting 2) 3 ( 3-0-6 )

100-004 การเงินธุรกิจ (Business Finance) 3 ( 3-0-6 )

100-005 การภาษีอากร (Taxation) 3 ( 3-0-6 )

100-006 การใชคอมพิวเตอรในงานธุรกิจ 3 ( 3-0-6 )

(Business Computers Application)

100-007 ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ 3 ( 3-0-6 )

(Management Information System)

100-008 หลักการตลาด (Principles of Marketing) 3 ( 3-0-6 )

100-009 วิธีการวิจัยทางธุรกิจ (Business Research Method) 3 ( 3-0-6 )

100-010 หลักการจัดการ (Principles of Management ) 3 ( 3-0-6 )

100-012 การจัดการเชิงกลยุทธ (Strategic Management) 3 ( 3-0-6 )

100-014 การจัดการการผลิตและการดําเนินงาน 3 ( 3-0-6 )

(Production and Operation Management)

100-015 การวิเคราะหเชิงปริมาณ (Quantitative Analysis) 3 ( 3-0-6 )

200-001 หลักเศรษฐศาสตรจุลภาค (Principles of Microeconomics) 3 ( 3-0-6 )

200-002 เศรษฐศาสตรธุรกิจ(Business Economics) 3 ( 3-0-6 )

200-003 กฎหมายสําหรับนักบัญชี 1 (Law for an Accountance 1) 3 ( 3-0-6 )

200-004 กฎหมายสําหรับนักบัญชี 2(Law for an Accountance 2) 3 ( 3-0-6 )

26

200-005 การบัญชีพาณิชยอิเลคทรอนิกส 3 ( 3-0-6 )

(Electronic Commerce Accounting)

กลุมวิชาเอกบังคับ จํานวน 39 หนวยกิต

211-001 การบัญชีชั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting 1) 3 ( 3-0-6 )

211-002 การบัญชีชั้นกลาง 2 (Intermediate Accounting 2) 3 ( 3-0-6 )

211-003 การบัญชีตนทุน (Cost Accounting) 3 ( 3-0-6 )

211-004 การบัญชีชั้นสูง 1 (Advanced Accounting 1) 3 ( 3-0-6 )

211-005 การบัญชีชั้นสูง 2 (Advanced Accounting 2) 3 ( 3-0-6 )

211-006 การบัญชีภาษีอากร (Taxation Accounting) 3 ( 3-0-6 )

211-007 การสอบบัญชี (Auditing) 3 ( 3-0-6 )

211-008 การวางรูปแบบระบบบัญชี (Accounting System Design) 3 ( 3-0-6 )

211-009 ระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Accounting Information System)

211-010 รายงานการเงิน (Financial Reports) 3 ( 3-0-6 )

211-011 การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting) 3 ( 3-0-6 )

211-012 สัมมนาการบัญชีการเงิน (Seminar in Financial Accounting) 3 ( 3-0-6 )

211-013 การวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ 3 ( 3-0-6 )

( Budgetary Planning and Control)

กลุมวิชาเอกเลือก จํานวน 9 หนวยกิต

ใหเลือกเรียน 3 วิชา จํานวน 9 หนวยกิตจากวิชาตอไปน้ี

212-001 โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่องานบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Software Package for Accounting)

212-002 การบัญชีภาครัฐ (Governmental Accounting) 3 ( 3-0-6 )

212-003 สัมมนาปญหาการบัญชีภาษีอากร 3 ( 3-0-6 )

(Seminar in Taxation Problems)

212-004 การบัญชีธุรกิจพาณิชยนาวี (Marine Accounting) 3 ( 3-0-6 )

212-005 สัมมนาการสอบบัญชี (Seminar in Auditing) 3 ( 3-0-6 )

212-006 การใชคอมพิวเตอรในการจัดทําบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Computerlized in Accounting)

212-007 สหกิจศึกษา (Cooperative Education) 6 (0 -12-6)

27

212-008 สัมมนาการบัญชีบริหาร 3 ( 3-0-6 )

(Seminar in Managerial Accounting)

212-009 การบัญชีเฉพาะกิจการ (Specialized Accounting) 3 ( 3-0-6 )

212-010 การบัญชีระหวางประเทศ (International Accounting) 3 ( 3-0-6 )

212-011 การตรวจสอบภายใน (Internal Auditing) 3 ( 3-0-6 )

212-012 การใชคอมพิวเตอรในการตรวจสอบบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Computerized Audit)

212-013 การวางแผนภาษี (Tax Planning) 3 ( 3-0-6 )

212-014 การสื่อสารขอมูลธุรกิจ(Data Business Communication)) 3 ( 3-0-6 )

212-015 สัมมนาระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3 ( 3-0-6 )

(Seminar in Accounting Information System)

212-016 ฐานขอมูลเพื่องานบัญชี ( Database for Accounting Work) 3 ( 3-0-6 )

212-017 ทฤษฎีบัญชี (Accounting Theory) 3 ( 3-0-6 )

212-018 นโยบายการบัญชี(Accounting Policy) 3 ( 3-0-6 )

212-019 การวิเคราะหตราสารหน้ีและตราสารทุน 3 ( 3-0-6 )

(Bond Market and Capital Market Analysis)

212-020 การฝกปฏิบัติงาน ( Internship )

หมวดวิชาลือกเสรี จํานวน 6 หนวยกิต

ใหเลือกจากรายวิชาที่เปดสอนในวิทยาลัยฯ ไมนอยกวา 6 หนวยกิต โดยความเห็นชอบจาก

อาจารยที่ปรึกษา

2.7 งานวิจัยท่ีเกี่ยวของ

วิริณธิ์ กิตติพิชัย และคณะ (2553 : 57) ศึกษาเร่ืองการประเมินผลหลักสูตรผูบริหาร

สถาบันอุดมศึกษา (นบอ.) ตามโครงการเสริมสรางความเขมแข็งดานการบริหาร

มหาวิทยาลัยเชียงใหม มีวัตถุประสงคหลักเพื่อประเมินผล “หลักสูตรการพัฒนาผูบริหาร

สถาบันอุดมศึกษา-นบอ.” ผลการวิจัยพบวา 1) หลักสูตรมีการอบรมที่เนนผูเขาอบรมเปนศูนยกลาง

และมีรูปแบบการเรียนรูที่แตกตางจากหลักสูตรการอบรมอ่ืนในระดับเดียวกัน 2) รูปแบบการ

อบรมที่ผูเขาอบรมประทับใจมากที่สุด คือ การเรียนรูกับมหาวิทยาลัยพี่เลี้ยงและการทํารูปแบบการ

พัฒนาหนวยงานนํารอง 3) หลังการอบรม นบอ. มีผลผลิตและผลลัพธที่ชัดเจน 4) หลังการอบรม

นบอ. มีความรู ทักษะ พฤติกรรมการบริหาร การเปนแบบอยาง การยอมรับจากผูบังคับบัญชาและ

28

ผูรวมงาน ความพึงพอใจตอการบริหารจัดการหนวยงานสูงกวากอนการอบรมอยางมีนัยสําคัญทาง

สถิติที่ระดับ 0.001 5) หลังการอบรม ผูบังคับบัญชาพึงพอใจตอการปฏิบัติงานของ นบอ. สูงกวา

กอนการอบรมอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 และ 6) หลักสูตรใหผลตอบแทนการลงทุน

ในลักษณะทุนมนุษยที่คุมคาโดยหนวยงานและมหาวิทยาลัยมีโครงการใหมเพิ่มขึ้น ลดงบประมาณ

ได งานสําเร็จตามเวลา งานมีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ผูรับบริการพึงพอใจ รวมถึงสราง

ภาพลักษณที่ดีใหกับหนวยงานและมหาวิทยาลัย

วาสนา ศิลปรุงธรรม (2549 : 9-10)ไดทําการศึกษา เร่ือง ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต ซึ่งถือวาเปนหลักสูตรระดับปริญญาโทที่มีผูใหความสนใจเขา

ศึกษามากที่สุดหลักสูตรหน่ึงในประเทศไทย โดยผูศึกษาสนใจศึกษาการดําเนินการหลักสูตร

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตและความตองการของนักศึกษา โดยมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความคิดเห็น

ของนักศึกาที่มีตอหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐ และ

สถาบันอุดมศึกษาเอกชน และศึกษาปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอหลักสูตร

บริหารธุรกิจมหาบัณฑิตโดยศึกษาจากตัวอยางจํานวน 300 คน ประกอบดวย สถาบันอุดมศึกษาของ

รัฐ ไดแก มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร มหาวิทยาลัยรามคําแหง

มหาวิทยาลัยศรีนทรวิโรฒ สถาบันเทคโนโลนีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง สถาบัน

บัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร และสถาบันอุดมศึกาษาของเอกชน ไดแก มหาวิทยาลัยกรุงเทพ

มหาวิทยาลัยเกริก มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต มหาวิทยาลัยเซนตจอหน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีมหา

นคร มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยศรีปทุม มหาวิทยาลัยสยาม

มหาวิทยาลัยหอการคาไทย มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยอีสเทิรนเอเซีย และ

มหาวิทยาลัยเอเซียอาคเนย

ผลการศึกษาพบวา เหตุผลที่นักศึกษาสวนใหญเขาศึกษาตอในหลักสูตรบริหารธุรกิจ

มหาบัณฑิต คือ เพิ่มเติมความรู และพิจารณาจากเน้ือหาหลักสูตรเปนลําดับแรก สวนเร่ืองความ

คิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตในดานหลักสูตร ดานวิธีการเรียนการ

สอน ดานผูเรียน ดานผูสอน ดานการวัดผลและประเมินผล ดานสื่อการเรียนการสอนและสิ่งอํานวย

ความสะดวก มีความคิดเห็นอยูในระดับที่เห็นดวย ซึ่งนักศึกษาจากสถาบันอุดมศึกษาของรัฐและ

สถาบันอุดมศึกษาของเอกชน มีความคิดเห็นในดานหลักสูตร ดานวิธีการเรียนการสอน ดานผูเรียน

ดานผูสอน ดานการวัดผลและประเมินผล ดานสื่อการเรียนการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวก มี

ความคิดเห็นอยูในระดับที่เห็นดวย และผลการศึกษาปจจัยที่มีผลตอความคิดเห็นของนักศึกาตอ

หลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตจําแนกตามดาน พบวาปจจัยอายุ รายได และตําแหนงงานไมมีผล

ตอความคิดเห็นดานหลักสูตร ดานวิธีการเรียนการสอน ดานผูเรียน ดานผูสอน ดานการวัดผลและ

29

ประเมินผล ดานสื่อการเรียนการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวก จากการศึกษาคร้ังน้ีผูศึกษามี

ขอเสนอแนะ คือ ควรมีการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตอยางตอเน่ือง

และนําเทคโนโลยีที่ทันสมัยมาใชในสื่อการเรียนการสอนและสิ่งอํานวยความสะดวก การวัดและ

ประเมินผล และเทคนิคการสอน ซึ่งจะสงผลใหผูเรียน และผูสอนมีความพรอมในการเรียนการ

สอน และควรใหทุนการศึกษาแกอาจารยประจําในหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิตเพื่อพัฒนา

ความรูอยางตอเน่ือง

นันทนิตย หงศศรีจินดา (2550 : 43) การศึกษาเร่ือง การประเมินความพึงพอใจของ

นักศึกษาแพทยศาสตร ชั้นปที่ 3 ที่มีตอรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปน

สําคัญ ในรายวิชาจุลชีววิทยายทางการแพทย ผูวิจัยไดประเมินความพึงพอใจตอรูปแบบการจัด

กิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญในวิชาจุลชีววิทยาทางการแพทย ภาคการศึกษาที่

1 ปการศึกษา 2549 จากนักศึกษาแพทยศาสตร ชั้นปที่ 3 จํานวน 104 คน ซึ่งประกอบดวยการ

บรรยายยอยโดยนักศึกษา และการทํากรณีศึกษาปญหาผูปวย โดยการประเมินผลผูเรียนในแตละ

กิจกรรม และการทําแบบสอบถามผูเรียนหลังการทํากิจกรรม ผลการประเมินพบวา ผูเรียนสวน

ใหญมีความพึงพอใจกิจกรรมเหลาน้ีเพราะทําใหผูเรียนไดรับความรูเพิ่มเติมนอกเหนือจากการฟง

บรรยาย ผูเรียนสามารถบูรณาการความรูที่เรียนมารวมกับความรูจากวิชาอ่ืนที่เคยเรียนมา และ

ความรูที่คนควาเพิ่มเติมทําใหผูเรียนไดเรียนรูตามความตองการของตนเอง นอกจากน้ียังไดเรียนรู

จากประสบการณจริงและเรียนรูในการทํางานรวมกับผูอ่ืน

บทที่ 3

วิธีดําเนินการวิจัย

การวิจัยเร่ืองการสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี

วิทยาลัยราชพฤกษ ในคร้ังน้ี เปนการวิจัยเชิงสํารวจ ( Survey Research) มีแบบสอบถามเปนเคร่ืองมือ

ในการเก็บขอมูล โดยมีรายละเอียดของวิธีดําเนินการวิจัยดังน้ี

3.1 ประชากรและกลุมตัวอยาง

ประชากร คือ นักศึกษา คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยราชพฤกษที่สําเร็จการศึกษาในป

การศึกษา 2552 มีผูสําเร็จการศึกษา ในสาขาน้ีจํานวนทั้งสิ้น 113 คน เปนบัณฑิตในหลักสูตรตอเน่ือง

110 คน และหลักสูตร 4 ป 3 คน

กลุมตัวอยาง คือ นักศึกษาวิทยาลัยราชพฤกษที่สําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2552 และเขารับการ

ฝกซอมพระราชทานปริญญาบัตร จํานวน 112 คน มีผูตอบแบบสอบถาม ในหลักสูตรตอเน่ือง 107 คน

และหลักสูตร 4 ป 2 คน รวมทั้งสิ้นจํานวน 109 คน คิดเปนรอยละ 97 (ขอมูลจากงานทะเบียนและวัดผล

เมื่อวันที่ 15 มกราคม 2553)

3.2 เคร่ืองมือท่ีใชในการวิจัย

เคร่ืองมือที่ใชในการวิจัยคร้ังน้ี คือ แบบสอบถามการสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตตอหลักสูตร

บริหารธุรกิจบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ สาขาวิชาการจัดการ ตอเน่ือง ที่ใชในการศึกษาของวิทยาลัยราช

พฤกษ ผูตอบแบบสอบถาม คือ นักศึกษาที่สําเร็จการศึกษาแลวในปการศึกษา 2552 แบบสอบถาม

แบงเปน 5 ตอน ดังน้ี

ตอนท่ี 1 ประกอบดวยขอมูลทั่วไปของผูตอบแบบสอบถาม ดังน้ี

- อาย ุ

- E-mail

- กลุมการเรียน ในขอคําถามน้ีสอบถามถึงกลุมการเรียนวาผูตอบแบบสอบถามสําเร็จ

การศึกษาในภาคปกติ ภาคเสาร-อาทิตย หรือภาคค่ํา

31

- สถานภาพการมีงานทํา สอบถามการมีงานทําใน 2 ชวงเวลา คือ กอนเขาศึกษาและ

ปจจุบันวาผูตอบแบบสอบถามมีงานทําหรือไม

- สถานภาพการทํางานในปจจุบัน ถาผูตอบแบบสอบถามปจจุบันยังไมมีงานทํา จะ

ถามตอถึงเหตุผลของการไมมีงานทําวาไมไดสมัครงาน รอสัมภาษณ หรือกําลังศึกษาตอ หาก

ปจจุบันมีงานทําจะสอบถามรายละเอียดตางๆ ของการทํางาน เชน ชื่อหนวยงาน/ ประเภทธุรกิจ

ตําแหนงงาน แผนก หัวหนางาน สถานที่ต้ังของหนวยงาน

- รายไดตอเดือนจากการทํางาน

- สํารวจความคิดเห็นตอการจัดการเรียนการสอน ในคําถามขอน้ีเพื่อศึกษาความ

คิดเห็นตอการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ โดยแบงเปนประเด็นตางๆ ดังน้ี

คําถามเกี่ยวกับหลักสูตร สอบถามถึงความทันสมัยของหลักสูตรที่ใชในการเรียนการ

สอน

คําถามที่เกี่ยวของกับอาจารย สอบถามถึงคุณวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่

สอน ความรูความสามารถในการถายทอดความรู และการดูแลเอาใจใสตอนักศึกษา

คําถามเกี่ยวกับความทันสมัยและความพรอมของอุปกรณการเรียนการสอน สอบถาม

ถึงจํานวนและขนาดของหองเรียน ความทันสมัยของอุปกรณ หองปฏิบัติการมีเพียงพอ หนังสือใน

หองสมุดมีความครบถวนรายวิชาที่ตองเรียน และหองปฏิบัติคอมพิวเตอรมีความทันสมัย

คําถามอ่ืนๆ เชน สอบถามถึงบรรยากาศ ภูมิทัศน ความสวยงามของวิทยาลัย และ

ความเหมาะสมของการจัดกิจกรรมวิทยาลัย

ตอนท่ี 2 สํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไป

ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ในการประกอบอาชีพ และในการศึกษาตอ โดยแบงคะแนนการ

ประยุกตใชเปน 5 คะแนน เชนเดียวกับตอนที่ 3

ตอนท่ี 3 สํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอ่ืนๆไปประยุกตใช

ขอคําถามในตอนน้ีมุงศึกษาถึงความสามารถในการนําวิชาในกลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

กลุมวิชาภาษาศาสตร กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร กลุมวิชาแกน กลุมวิชาเอกเลือก และ

กลุมวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี

32

ระดับคะแนนของ ความคิดเห็นในตอนที่ 1 และก ารนําความรูไปประยุกตใชในตอนที่ 2

และ 3 แบงเปนระดับตางๆ ดังน้ี

5 คะแนน หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด/ นําความรูไปใชในระดับมากที่สุด

4 คะแนน หมายถึง เห็นดวยมาก/ นําความรูไปใชในระดับมาก

3 คะแนน หมายถึง เห็นดวยปานกลาง/ นําความรูไปใชในระดับปานกลาง

2 คะแนน หมายถึง ไมเห็นดวย/ นําความรูไปใชในระดับนอย

1 คะแนน หมายถึง ไมเห็นดวยมากที่สุด/ นําความรูไปใชในระดับนอยที่สุด

ตอนท่ี 4 ขอคําถามปลายเปด เพื่อสอบถามถึงศาสตรความรูใดที่จําเปนตอการปฏิบัติงานแตไมเคย

ศึกษามากอน

ตอนท่ี 5 ขอเสนอแนะ เปนขอคําถามปลายเปด เพื่อใหกลุมตัวอยางแสดงความคิดเห็น หรือ

เสนอแนะ อันจะเปนประโยชนตอการพัฒนาหลักสูตรตอไป

3.3 การเก็บรวบรวมขอมูล

คณะผูวิจัยดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูล โดยขอความรวมมือจากนักศึกษาที่สําเร็จ

การศึกษาในปการศึกษา 2552 ใหชวยตอบแบบสอบถามในการวิจัยคร้ังน้ี การเก็บรวบรวม

แบบสอบถามจะดําเนินการตามวัน ดังน้ี

- วันที่ 16 มกราคม 2553 เปนวันแรกที่บัณฑิตเขารับฟงกําหนดการการรับพระราชทาน

ปริญญาบัตร คณะผูวิจัยจะแจกแบบสอบถามแกบัณฑิตทุกคนที่มาในวันน้ีโดยครอบคลุมทุกสาขาวิชา

ที่มีผูจบการศึกษา

- วันที่ 23 มกราคม 2553 เปนวันที่บัณฑิตเขารับการฝกซอมรับพระราชทานปริญญาบัตร คร้ัง

แรกคณะผูวิจัยจะแจกแบบสอบถามแกบัณฑิตที่ยังไมไดตอบแบบสอบถามในวันที่ 16 มกราคม 2553

- วันที่ 6 กุมภาพันธ 2553 เปนวันที่บัณฑิตเขารับการฝกซอมรับพระราชทานปริญญาบัตร คร้ัง

ที่สองคณะผูวิจัยจะแจกแบบสอบถามแกบัณฑิตที่ยังไมเคยตอบแบบสอบถามในวันที่ 16 และ 23

มกราคม 2553

33

3.4 การวิเคราะหขอมูล

การวิเคราะหขอมูลเกี่ยวกับการสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตตอหลักสูตรที่ใชศึกษาของ

วิทยาลัยราชพฤกษจําแนกตามรายสาขาวิชา โดยใชสถิติรอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

จากน้ันนําคาเฉลี่ยมาแปลเปนระดับตางๆ ดังน้ี

เกณฑการประเมินในขอคําถามตอนที่ 1 ความคิดเห็นของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน

ของวิทยาลัยราชพฤกษ มีดังน้ี

คาเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง เห็นดวยมากที่สุด

คาเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง เห็นดวยมาก

คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง

คาเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง ไมเห็นดวย

คาเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง ไมเห็นดวยมากที่สุด

เกณฑการประเมินในขอคําถามตอนที่ 2 ความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูจากกลุม

วิชาเอกบังคับไปประยุกตใช และตอนที่ 3 ความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูในกลุมวิชาอ่ืนๆ

นอกเหนือจากกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใช มีรายละเอียดดังน้ี

คาเฉลี่ย 4.50 – 5.00 หมายถึง สามารถนําความรูไปใชในระดับมากที่สุด

คาเฉลี่ย 3.50 – 4.49 หมายถึง สามารถนําความรูไปใชในระดับมาก

คาเฉลี่ย 2.50 – 3.49 หมายถึง สามารถนําความรูไปใชในระดับปานกลาง

คาเฉลี่ย 1.50 – 2.49 หมายถึง สามารถนําความรูไปใชในระดับนอย

คาเฉลี่ย 1.00 – 1.49 หมายถึง สามารถนําความรูไปใชในระดับนอยที่สุด

สําหรับขอคําถามในตอนที่ 4 สอบถามกลุมตัวอยางผูที่มีงานทําหลังจากสําเร็จการศึกษาแลว

วามีศาสตรความรูใดที่จําเปนตอการปฎิบัติงานแตไมเคยเรียนมากอน

ขอคําถามปลายเปดในตอนที่ 5 สอบถามถึงศาสตรความรูใดที่จําเปนตอการปฏิบัติงานแตไม

เคยเรียนมากอน และตอนที่ 5 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา ขอคําถามปลายเปด เหลาน้ีจะทําการ

วิเคราะหเน้ือหา (Content Analysis)

บทที่ 4

ผลการวิเคราะหขอมูล

การศึกษาเร่ือง ความคิดเห็น ของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตร บัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี

วิทยาลัยราชพฤกษในคร้ังน้ี ผูวิจัยนําเสนอผลการวิเคราะหขอมูลเปน 3 สวน สวนแรกเปนการ

พรรณาลักษณะทั่วไปของบัณฑิต สวนที่ 2 เปนการวิเคราะห ความคิดเห็นของบัณฑิตที่มีตอการเรียน

การสอน การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใช การนําความรูจากหลักสูตรกลุม

วิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใช โดยใชสถิติคาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานในการแปลผล สวนที่ 3 การ

วิเคราะหเน้ือหาในขอคําถาม 2 ขอคือ หลังจากสําเร็จการศึกษาแลว มีศาสตรความรูใดที่จําเปนตอการ

ปฏิบัติงานแตไมเคยเรียนมากอน และขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา รายละเอียดของการวิเคราะหในแต

ละสวนมีดังน้ี

4.1 สถานภาพท่ัวไปของบัณฑิต

การนําเสนอสถานภาพทั่วไปของบัณฑิตเปนการนําเสนอลักษณะทั่วไปภายใตตัวแปรอายุ กลุมการ

เรียน สถานภาพการมีงานทํา เหตุผลที่ทานไมมีงานทํา และรายไดตอเดือน ผูวิจัยนําเสนอขอมูลของ

ตัวแปรระดับกลุมเหลาน้ีโดยใชการแจกแจงความถี่และการกระจายอัตรารอยละ ลักษณะทั่วไปของ

บัณฑิตสาขาวิชาการบัญชี ปรากฏในตารางที่ 1 มีรายละเอียดดังน้ี

ตาราง 1 จํานวนและรอยละ จําแนกตามอายุ

อายุ จํานวน รอยละ

18 - 22 ป 25 23.36

23 - 27 ป 67 62.62

28 - 32 ป 8 7.48

33 - 37 ป 3 2.80

38 - 42 ป 3 2.80

43 ปขึ้นไป 1 0.93

รวม 107 100.00

35

ตารางที่ 1 คุณลักษณะดานอายุ พบวา บัณฑิตคณะบัญชี กวาคร่ึงของกลุมตัวอยางมีอายุ 23-27

ป (รอยละ 62.62) รองลงมาคือ กลุมอายุ 18-22 ป (รอยละ 23.36) กลุมอายุ 28-32 ป (รอยละ 7.48) กลุม

อายุ 33 - 37 ป กับกลุมอายุ 38 - 42 (รอยละ 2.80) และกลุมอายุ 43 ปขึ้นไป (รอยละ0.93) ตามลําดับ

ตาราง 2

จํานวนและรอยละ จําแนกตามกลุมการเรียน

กลุมการเรียน จํานวน รอยละ

ภาคปกติ 33 30.84

ภาคเสาร – อาทิตย 56 52.34

ภาคค่ํา 18 16.82

รวม 107 100.00

ตารางที่ 2 พบวา บัณฑิตคณะบัญชี กวาคร่ึงเปนผูที่ศึกษาในภาคเสาร - อาทิตย (รอยละ

52.34) รองลงมา คือ ภาคปกติ (รอยละ 30.84) และนอกจากน้ันศึกษาในภาคค่ํา (รอยละ 16.82)

ตามลําดับ

ตาราง 3 จํานวนและรอยละ จําแนกตามสถานภาพการมีงานทํา

สถานภาพการมีงานทํา จํานวน รอยละ

กอนเขาศึกษา

ไมมีงานทํา 39 36.45

มีงานทํา 68 63.55

ปจจุบัน

ไมมีงานทํา 16 14.95

มีงานทํา 91 85.05

36

ตารางที่ 3 พบวา กอนเขาศึกษา บัณฑิตสวนใหญเปนผูมีงานทํามีสัดสวนสูงกวาผูไมมีงานทํา

(รอยละ 63.55 เปรียบเทียบกับรอยละ 36.45) เมื่อถามถึงสถานภาพการมีงานทําในปจจุบัน พบวาบัณฑิต

มีงานทํามีสัดสวนสูงกวาบัณฑิตที่ไมมีงานทํา (รอยละ 85.05 เปรียบเทียบกับรอยละ 14.95)

ตาราง 4 จํานวนและรอยละ จําแนกตามเหตุผลที่ทานไมมีงานทํา

เหตุผลท่ีทานไมมีงานทํา จํานวน รอยละ

ไมไดสมัครงาน 6 37.50

รอสัมภาษณ 8 50.00

อ่ืนๆ 2 12.50

รวม 16 100

ตารางที่ 4 เมื่อสอบถามถึงสาเหตุการไมมีงานทํา พบวาคร่ึงนึงของกลุมตัวอยาง รอ

สัมภาษณ (รอยละ 50.00) รองลงมาคือ กลุมบัณฑิตที่ยังไมไดสมัครงาน (รอยละ 37.50) และเหตุผล

อ่ืนๆ (รอยละ 12.50) ตามลําดับ

37

ตาราง 5 จํานวนและรอยละ จําแนกตามรายไดตอเดือน

รายไดตอเดือน จํานวน รอยละ

ตํ่ากวา 7,000 บาท 2 2.19

7,000 - 8,000 บาท 21 23.10

8,001 - 9,000 บาท 21 23.10

9,001 – 10,000 บาท 13 14.28

10,001 - 11,000 บาท 10 10.98

11,001 - 12,000 บาท 7 7.69

12,001 - 15,000 บาท 7 7.69

15,001 - 18,000 บาท 2 2.19

18,001 - 21,000 บาท 3 3.30

21,001 - 24,000 บาท 1 1.09

24,000 บาท ขึ้นไป 4 4.39

รวม 91 100.00

ตารางที่ 5 พบวา บัณฑิตคณะบัญชี สวนใหญมีรายไดตอเดือน 7,000 - 8,000 บาท กับ

8,001 - 9,000 บาท (รอยละ 23.10) รองลงมาคือ กลุมรายได 9,001 – 10,000 บาท (รอยละ 14.28)

10,001 - 11,000 บาท (รอยละ 10.98) 11,001 - 12,000 บาท กับ12,001 - 15,000 บาท (รอยละ 7.69)

24,000 บาท ขึ้นไป (รอยละ 4.39) 18,001 - 21,000 บาท (รอยละ 3.30) ตํ่ากวา 7,000 บาท กับ

15,001 - 18,000 บาท (รอยละ 2.19) และ 21,001 - 24,000 บาท(รอยละ 1.09) ตามลําดับ

4.2 การวิเคราะหความคิดเห็นของบัณฑิตท่ีมีตอการเรียนการสอน การนําความรูจากหลักสูตรกลุม

วิชาเอกบังคับไปประยุกตใช และการนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอื่นๆ ไปประยุกตใช

การวิเคราะหในสวนน้ีเปนการศึกษาความคิดเห็นของบัณฑิตที่มีตอการเรียนการสอน (ปรากฏใน

ตารางที่ 6) การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับและกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใชใน

38

ชีวิตประจําวัน ในการประกอบอาชีพ และในการศึกษาตอ (ดังปรากฏในตารางที่ 7 และ 8) โดยมี

รายละเอียดดังน้ี

ตาราง 6 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอน

ของวิทยาลัยราชพฤกษ

ความคิดเห็นตอการจัดเรียนการสอน X S.D. แปลผล

1. หลักสูตรที่ใชในการเรียนการสอนมีความทันสมัย 3.82 0.546 มาก

2. อาจารยมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน 4.09 0.721 มาก

3. อาจารยมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู 3.99 0.666 มาก

4. อาจารยที่ปรึกษามีการดูแลเอาใจใสนักศึกษา 3.82 0.833 มาก

5. จํานวนและขนาดหองเรียนเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา 3.56 0.767 มาก

6. อุปกรณในหองเรียนมีความทันสมัย 3.50 0.692 มาก

7. มีหองปฎิบัติการเพียงพอสอดคลองตามสาขาวิชา 3.40 0.712 ปานกลาง

8. ศูนยวิทยบริการ (หองสมุด) มีหนังสือครบถวนใน

รายวิชาที่ตองเรียน

3.37 0.864 ปานกลาง

9. ศูนยวิทยบริการ (หองปฎิบัติคอมพิวเตอร) มีอุปกรณ

เคร่ืองมือที่ทันสมัย

3.37 0.795 ปานกลาง

10. บรรยากาศ ภูมิทัศน ของวิทยาลัย สวยงาม 3.60 0.763 มาก

11. การจัดกิจกรรมของวิทยาลัยมีความเหมาะสม 3.42 0.687 ปานกลาง

รวม 3.63 0.501 มาก

ตารางที่ 6 บัณฑิตคณะบัญชี มีความคิดเห็นตอการจัดการเรียนในภาพรวมอยูในระดับเห็น

ดวยมาก ( X = 3.63)

เมื่อพิจารณาในรายละเอียด สวนใหญพบวา บัณฑิตมีความคิดเห็นตอการจัดเรียนการสอนใน

ระดับเห็นดวยมากมี 7 ดาน โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ อาจารยมีวุฒิและประสบการณตรง

ตามสาขาวิชาที่สอน ( X = 4.09) อาจารยมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู หลักสูตรที่ใช

39

ในการเรียนการสอนมีความทันสมัย และ อาจารยที่ปรึกษา มีการดูแลเอาใจใส นักศึกษา บรรยากาศ ภูมิ

ทัศน ของวิทยาลัย สวยงาม จํานวนและขนาดหองเรียนเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา อุปกรณใน

หองเรียนมคีวามทันสมัย สวนอีก 4 ดานที่เหลืออยูในระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลง

มา คือ การจัดกิจกรรมของวิทยาลัย มีความเหมาะสม มีหองปฎิบัติการเพียงพอสอดคลองตาม

สาขาวิชา และศูนยวิทยบริการ (หองสมุด) มีหนังสือครบถวนในรายวิชาที่ตองเรียน กับศูนยวิทยบริการ

(หองปฎิบัติคอมพิวเตอร) มีอุปกรณเคร่ืองมือที่ทันสมัย ตามลําดับ

ตาราง 7 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูไปประยุกตใช

จําแนกตามกลุมวิชาเอกบังคับ

กลุมวิชาเอกบังคับ

ในชีวิตประจําวัน ในการประกอบอาชีพ ในการศึกษาตอ

X S.D. แปลผล X S.D. แปลผล X S.D. แปลผล

วิชาการบัญชีช้ันกลาง 1 3.37 0.79 ปานกลาง 3.46 0.79 ปานกลาง 3.50 0.85 มาก

วิชาการบัญชีช้ันกลาง 2 3.44 0.82 ปานกลาง 3.45 0.76 ปานกลาง 3.59 0.86 มาก

วิชาการบัญชีตนทุน 3.61 0.82 มาก 3.59 0.87 มาก 3.67 0.87 มาก

วิชาการบัญชีช้ันสูง 1 3.42 0.82 ปานกลาง 3.53 0.76 มาก 3.54 0.82 มาก

วิชาการบัญชีช้ันสูง 2 3.34 0.80 ปานกลาง 3.33 0.78 ปานกลาง 3.51 0.80 มาก

วิชาการบัญชีภาษีอากร 3.75 0.87 มาก 3.78 0.88 มาก 3.79 0.91 มาก

วิชาการสอบบัญชี 3.37 0.84 ปานกลาง 3.36 0.86 ปานกลาง 3.48 0.88 ปานกลาง

วิชาการวางรูปแบบระบบบัญชี 3.53 0.88 มาก 3.57 0.91 มาก 3.55 0.87 มาก

วิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี 3.42 0.79 ปานกลาง 3.42 0.72 ปานกลาง 3.52 0.82 มาก

วิชารายงานการเงิน 3.59 0.77 มาก 3.65 0.84 มาก 3.66 0.85 มาก

วิชาการบัญชีบริหาร 3.58 0.84 มาก 3.59 0.78 มาก 3.63 0.90 มาก

วิชาสัมมนาการบัญชีการเงิน 3.48 0.78 ปานกลาง 3.53 0.80 มาก 3.58 0.81 มาก

วิชาการวางแผนและควบคุมโดย

งบประมาณ 3.50 0.79 มาก 3.47 0.79 ปานกลาง 3.52 0.82 มาก

รวม 3.49 0.61 ปานกลาง 3.52 0.61 มาก 3.59 0.70 มาก

40

จากตารางที่ 7 บัณฑิตคณะบัญชี นําความรูจากการเรียนหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไป

ประยุกตใชใน 3 ลักษณะ คือ การนําไปใชในชีวิตประจําวันอยูในระดับปานกลาง ( X = 3.49) การ

นําไปใชในการประกอบอาชีพอยูในระดับมาก ( X = 3.52) และการนําไปใชในการศึกษาตออยูใน

ระดับมาก ( X = 3.59) เมื่อพิจาราณารายละเอียดทั้ง 3 ลักษณะ พบวา

การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พบวา สวนใหญ

อยูในระดับปานกลาง โดยมีวิชา สัมมนาการบัญชีการเงิน มีคาเฉลี่ยสูงสุด ( X = 3.48) รองลงมา คือ

วิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 กับวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญช ี วิชาการบัญชีชั้น

กลาง 1 กับวิชาการสอบบัญชี วิชาการบัญชีชั้นสูง 2 ตามลําดับ ที่เหลืออีก 6 กลุมวิชา ที่พบวาบัณฑิต

นําความรูไปประยุกตใชในระดับมาก คือ วิชา การบัญชีภาษีอากร วิชา การบัญชีตนทุน วิชา รายงาน

การเงิน วิชาการบัญชีบริหาร วิชาการวางรูปแบบระบบบัญชี และวิชา การวางแผนและควบคุมโดย

งบประมาณ ตามลําดับ

การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ พบวา

อยูในระดับมากทุกกลุมวิชา โดยมีวิชา การบัญชีภาษีอากร มีคาเฉลี่ยสูงสุด ( X = 3.78) รองลงมา คือ

วิชารายงานการเงิน วิชา การบัญชีตนทุน กับวิชา การบัญชีบริหาร วิชา การวางรูปแบบระบบบัญชี

วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 กับวิชาสัมมนาการบัญชีการเงิน ตามลําดับ ที่เหลืออีก 6 กลุมวิชา ที่พบวาบัณฑิต

นําความรูไปประยุกตใชในระดับปานกลาง คือวิชา การวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ วิชาการ

บัญชีชั้นกลาง 1 วิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 วิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี วิชาการสอบบัญชี และ

วิชาการบัญชีชั้นสูง 2 ตามลําดับ

การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชในการศึกษาตอ พบวา สวนใหญ

อยูในระดับมากเกือบทุกกลุมวิชา โดยมีวิชา การบัญชีภาษีอากร มีคาเฉลี่ยสูงสุด ( X = 3.79)

รองลงมา คือ วิชา การบัญชีตนทุน วิชารายงานการเงิน วิชาการบัญชีบริหาร วิชาการบัญชีชั้นกลาง 2

วิชา สัมมนาการบัญชีการเงิน วิชา การวางรูปแบบระบบบัญชี วิชา การบัญชีชั้นสูง 1 วิชา ระบบ

สารสนเทศทางการบัญชี กับวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ วิชาการบัญชีชั้นสูง 2 และ

วิชาการบัญชีชั้นกลาง 1 ตามลําดับ ที่เหลืออีก 1 กลุมวิชา ที่พบวาบัณฑิตนําความรูไปประยุกตใชใน

ระดับปานกลาง คือ วิชาการสอบบัญชี

41

ตาราง 8 คาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐานความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูไปประยุกตใช

จําแนกตามกลุมวิชาอ่ืนๆ

รายละเอียด

ในชีวิตประจําวัน ในการประกอบอาชีพ ในการศึกษาตอ

X S.D. แปลผล X S.D. แปลผล X S.D. แปล

ผล

กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษย

ศาสตร 3.80 0.73 มาก 3.75 0.72 มาก 3.62 0.85 มาก

กลุมวิชาภาษาศาสตร 3.61 0.81 มาก 3.63 0.81 มาก 3.55 0.89 มาก

กลุมวิชาวิทยาศาสตรและ

คณิตศาสตร 3.45 0.89

ปาน

กลาง 3.53 0.83 มาก 3.50 0.94 มาก

กลุมวิชาแกน 3.64 0.79 มาก 3.72 0.76 มาก 3.72 0.84 มาก

กลุมวิชาเอกเลือก 3.53 0.82 มาก 3.64 0.81 มาก 3.55 0.82 มาก

กลุมวิชาเลือกเสรี 3.60 0.81 มาก 3.62 0.79 มาก 3.62 0.83 มาก

รวม 3.60 0.62 มาก 3.65 0.63 มาก 3.59 0.72 มาก

จากตารางที่ 8 บัณฑิตคณะบัญชี นําความรูจากการเรียนหลักสูตรกลุมวิชาอ่ืนๆ ไป

ประยุกตใชใน 3 ลักษณะ คือ การนําไปใชในชีวิตประจําวัน การนําไปใชในการประกอบอาชีพ และการ

นําไปใชในการศึกษาตอ พบวา บัณฑิตนําความรูจากการเรียนหลักสูตรในกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใช

ทั้ง 3 ลักษณะอยูในระดับมาก โดยมีคาเฉลี่ยอยูในเกณฑใกลเคียงกัน คือ การนําไปใชในชีวิตประจําวัน

( X = 3.60) การนําไปใชในการประกอบอาชีพ ( X = 3.65) และการนําไปใชในการศึกษาตอ

( X = 3.59) เมื่อพิจาราณารายละเอียดทั้ง 3 ลักษณะ พบวา

การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พบวา สวนใหญ

อยูในระดับมากเกือบทุกกลุมวิชา โดยมีกลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มีคาเฉลี่ยสูงสุด

( X = 3.80) รองลงมา คือ กลุมวิชาแกน กลุมวิชาภาษาศาสตร กลุมวิชาเลือกเสรี และกลุมวิชาเอก

เลือก ที่เหลืออีก 1 กลุมวิชา ที่พบวาบัณฑิตนําความรูไปประยุกตใชในระดับปานกลาง คือ กลุมวิชา

วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ตามลําดับ

การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ พบวา อยู

ในระดับมากทุกกลุมวิชา โดยมีกลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มีคาเฉลี่ยสูงสุด ( X = 3.75)

42

รองลงมา คือ กลุมวิชาแกน กลุมวิชาเอกเลือก กลุมวิชาภาษาศาสตร กลุมวิชาเลือกเสรี กลุมวิชา

วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ตามลําดับ

การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใชในการศึกษาตอ พบวา อยูในระดับ

มากทุกกลุมวิชา โดยมีกลุมวิชาแกน มีคาเฉลี่ยสูงสุด ( X = 3.72) รองลงมา คือ กลุมวิชาสังคมศาสตร

และมนุษยศาสตร กับกลุมวิชาเลือกเสรี กลุมวิชาภาษาศาสตร กับกลุมวิชาเอกเลือก และกลุมวิชา

วิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ตามลําดับ

4.3 วิเคราะเน้ือหา

ขอคําถามในตอนที่ 4 ในการประกอบอาชีพมีศาสตรความรูใดบางที่จําเปนตอการปฏิบัติงาน

แตไมเคยเรียนมากอน (เฉพาะผูที่มีงานทํา) บัณฑิตมีความตองการศาสตรความรูเพิ่มเติมดังน้ี

1. การอยูรวมกับสังคม สังคมที่มีความหลากหลาย

2. การเขาสังคม การวางตัวในการทํางานเสนอใหมีวิชาพัฒนาบุคลิกภาพเพื่อใหนักศึกษาในรุน

ตอไป สามารถนําไปพัฒนาตนเองไดในการทํางานจริง

3. นําไปใชใหสอดคลองกับงานที่ปฏิบัติอยูดานบัญชี ภาษีอากร ตนทุน

4. ภาษาศาสตร เพราะสวนใหญตองใชเกี่ยวกับตัวเลขเปนสวนมาก

5. โปรแกรมสําเร็จรูป SAP

6. การเขารวมกับคนในการทํางาน การอยูรวมกับผูใหญ

7. วิชารัฐศาสตร ความสัมพันธระหวางประเทศ เปนสิ่งที่ตนเองอยากจะคนควาเพิ่มเติมจากเดิมที่

เคยเรียนมา เพราะเปนสิ่งที่ชอบและคาดวาจะทําได

8. การใชโปรแกรมคอมฯ ตาง ๆ จําเปนตอการทํางานเปนอยางมากทางวิทยาลัยควรเพิ่มการ

เรียนการสอนใหกับนักศึกษาใหมากกวาน้ี

ขอคําถามในตอนท่ี 5 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา บัณฑิตมีขอเสนอแนะดังน้ี

1. อาจารยทุกทานดีและนารักมาก แตคนของหองทะเบียนตองปรับปรุงมากหนอยเร่ืองนิสัย ใจ

คอ

2. ควรจะเปนการปฏิบัติเพื่อใหรูจริงเห็นจริงมากกกวาการสอบทฤษฎีเพราะเทาที่ศึกษาบางวิชา

เพื่อจะนําไปใชในการประกอบอาชีพ

43

3. การมีกลุมกิจกรรมเปนสิ่งที่ดี แตควรมีความจริงจังในการต้ังชมรมมากกวาขยายคณะเรียนให

มากกวาน้ี

4. การรับปริญญาในปหนาเสนอใหรับปริญญาที่วิทยาลัยเพื่อเปนการโปรโมทวิทยาลัย

5. รานคาขายอาหารยังนอยเกินไป

6. อยากใหมีการประชาสัมพันธถึงวิทยาลัยใหสังคมรูจักมากขึ้น เพราะวาฉันมีโอกาสที่จะไดเขา

ทํางานธนาคาร แตดวยชื่อเสียงของทางวิทยาลัยยังไมเปนที่รูจักก็เลยพลาดโอกาสใสการ

ทํางาน เขาบอกวาถาเรียน ม.สยาม หรือ ม.เอเซียเขาก็จะรับเลย

7. ชอบบังคับใหนักศึกษาเขารวมกิจกรรม

8. กอนจบการศึกษา นาจะมีคําแนะนําเกี่ยวกับการสมัครงานและการสัมภาษณงานใหนักศึกษา

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการหางานทํา

9. ควรมีหลักสูตรการพัฒนาบุคลิกภาพ และการเขาสังคม การทํางานเปนกลุม

10. อยากใหมีการเปดการเรียนการสอนภาค อินเทอรเนต เพื่อวิทยาลัยของเรากาวเขาสูสังคมระดับ

สากลมากขึ้น

11. ควรจัดหองสื่อ IT ใหดีกวาน้ีเพราะปจจุบันคอมฯ มีความจําเปนตอการทํางานมากคะ

บทที่ 5

สรุป อภิปรายผล และขอเสนอแนะ

บทน้ีเปนการสรุปขอคนพบที่ไดจากการศึกษา และขอเสนอแนะเชิงนโยบายและเชิงวิชาการ

อันจะเปนประโยชนแกคณะและสาขาวิชาที่เกี่ยวของรวมถึงผูสนใจศึกษาคนควาตอไป รายละเอียดของ

การสรุป อภิปรายผลการศึกษา และขอเสนอแนะมีดังน้ี

การวิจัยเร่ืองความคิดเห็น ของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตร บัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี

วิทยาลัยราชพฤกษที่สําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2552 มีวัตถุประสงค ดังน้ี

1. เพื่อสํารวจสถานภาพสวนตัวของบัณฑิตในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบัญชี สาขาวิชาการ

บัญชี

2. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบัญชี สาขาวิชา

การบัญชี

3. เพื่อสํารวจความคิดเห็นของการนําหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี ไป

ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน ในการประกอบอาชีพ และในการศึกษาตอ

4. เพื่อศึกษาภาพรวมของวิทยาลัยราชพฤกษในการจัดการเรียนการสอน ในระดับอุดมศึกษา

อาทิเชน ดานอาจารย หองเรียน อุปกรณที่ใชในการเรียนการสอน หองปฏิบัติการคอมพิวเตอร

หองสมุด บรรยากาศ ภูมิทัศน การจัดกิจกรรมของวิทยาลัย ตามความคิดเห็นของบัณฑิต

5. เสนอแนวทางการพัฒนาปรับปรุงหลักสูตรของวิทยาลัยใหสอดคลองกับการควบคุม

คุณภาพของสํานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

5.1 สรุปผลการศึกษา

ขอมูลที่ใชศึกษาไดจากแบบสอบถาม ซึ่งเปนเคร่ืองมือในการเก็บรวบรวมขอมูลจาก บัณฑิต

คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยราชพฤกษที่สําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2552 จํานวน 107

ราย จากบัณฑิตที่เขารับการฝกซอมพระราชทานปริญญาบัตรจํานวน 112 คน คิดเปนรอยละ 9 7

ดําเนินการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางเดือนมกราคม ถึง เดือนกุมภาพันธ 2553 วิเคราะหขอมูลดวยสถิติ

รอยละ คาเฉลี่ย และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน

44

ผลการศึกษาการสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิตรุนที่ 2 ตอหลักสูตรบัญชีบัณฑิต คณะบัญชี

สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยราชพฤกษ มีรายละเอียดโดยสรุปดังน้ี

ขอสรุปผลการวิจัย

1. สถานภาพท่ัวไปของบัณฑิตคณะบัญชี สาขาการบัญชี

จากการสํารวจสถานภาพทั่วไปของบัณฑิต คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยราชพฤกษที่

สําเร็จการศึกษาในปการศึกษา 2552 มีผูตอบแบบสอบถามในสาขาน้ีจํานวนทั้งสิ้น 107 ราย พบวา

บัณฑิตคณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี สวนใหญมีอายุต้ังแต 23 - 27 ป ซึ่งเปนกลุมการเรียนภาค

เสาร – อาทิตย และเปนผูมีงานทํามีสัดสวนที่สูงกวาผูไมมีงานทํา เมื่อถามสถานภาพการมีงานทําใน

ปจจุบันบัณฑิตที่มีงานทํามีสัดสวนที่สูงกวาบัณฑิตที่ไมมีงานทํา ถาถามถึงสาเหตุการไมมีงานทํา

คําตอบสวนใหญยังรอสัมภาษณงาน และรายไดเฉลี่ยตอเดือน 7,000 - 8,000 บาท และ 8,001 – 9,000

บาท ในสัดสวนที่เทากัน

2. ความคิดเห็นของบัณฑิตตอการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ

บัณฑิตคณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี มีความคิดเห็นตอการจัดการเรียนในภาพรวมอยูในระดับ

เห็นดวยมาก

เมื่อพิจารณาในรายละเอียด สวนใหญพบวา บัณฑิตมีความคิดเห็นตอการจัดเรียนการสอนใน

ระดับเห็นดวยมากมี 7 ดาน โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ อาจารยมีวุฒิและประสบการณตรง

ตามสาขาวิชาที่สอน อาจารยมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู หลักสูตรที่ใชในการเรียน

การสอนมีความทันสมัย และอาจารยที่ปรึกษามีการดูแลเอาใจใสนักศึกษา บรรยากาศ ภูมิทัศนของ

วิทยาลัยสวยงาม จํานวนและขนาดหองเรียนเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา อุปกรณในหองเรียนมีความ

ทันสมัย สวนอีก 4 ดานที่เหลืออยูในระดับปานกลาง โดยเรียงลําดับจากคาเฉลี่ยมากลงมา คือ การจัด

กิจกรรมของวิทยาลัยมีความเหมาะสม มีหองปฎิบัติการเพียงพอสอดคลองตามสาขาวิชา และศูนย

วิทยบริการ (หองสมุด) มีหนังสือครบถวนในรายวิชาที่ตองเรียน กับศูนยวิทยบริการ (หองปฎิบัติ

คอมพิวเตอร) มีอุปกรณเคร่ืองมือที่ทันสมัย ตามลําดับ

45

3. ความคิดเห็นของบัณฑิตตอหลักสูตรบัญชีบัญฑิต สาขาวิชาการบัญชี ท่ีมีตอการนําความรูจาก

หลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใช

บัณฑิตคณะบัญชี นําความรูจากการเรียนหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชใน 3

ลักษณะ คือ การนําไปใชในชีวิตประจําวันอยูในระดับปานกลาง การนําไปใชในการประกอบอาชีพอยู

ในระดับมาก และการนําไปใชในการศึกษาตออยูในระดับมาก เมื่อพิจาราณารายละเอียดทั้ง 3 ลักษณะ

พบวา

3.1 การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พบวา

วิชาสัมมนาการบัญชีการเงิน มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ วิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 วิชาการบัญชีชั้นสูง

1 กับวิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี วิชาการบัญชีชั้นกลาง 1 กับวิชาการสอบบัญชี วิชาการบัญชี

ชั้นสูง 2 ตามลําดับ ที่เหลืออีก 6 กลุมวิชา ที่พบวาบัณฑิตนําความรูไปประยุกตใชในระดับมาก คือ

วิชาการบัญชีภาษีอากร วิชาการบัญชีตนทุน วิชารายงานการเงิน วิชาการบัญชีบริหาร วิชาการวาง

รูปแบบระบบบัญชี และวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ ตามลําดับ

3.2 การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ

พบวา วิชาการบัญชีภาษีอากร มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ วิชารายงานการเงิน วิชาการบัญชีตนทุน

กับวิชาการบัญชีบริหาร วิชาการวางรูปแบบระบบบัญชี วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 กับวิชาสัมมนาการ

บัญชีการเงิน ตามลําดับ ที่เหลืออีก 6 กลุมวิชา ที่พบวาบัณฑิตนําความรูไปประยุกตใชในระดับปาน

กลาง คือวิชาการวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ วิชาการบัญชีชั้นกลาง 1 วิชาการบัญชีชั้นกลาง 2

วิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี วิชาการสอบบัญชี และวิชาการบัญชีชั้นสูง 2 ตามลําดับ

3.3 การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชในการศึกษาตอ พบวา

วิชาการบัญชีภาษีอากร มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ วิชาการบัญชีตนทุน วิชารายงานการเงิน วิชาการ

บัญชีบริหาร วิชาการบัญชีชั้นกลาง 2 วิชาสัมมนาการบัญชีการเงิน วิชาการวางรูปแบบระบบบัญชี

วิชาการบัญชีชั้นสูง 1 วิชาระบบสารสนเทศทางการบัญชี กับวิชาการวางแผนและควบคุมโดย

งบประมาณ วิชาการบัญชีชั้นสูง 2 และวิชาการบัญชีชั้นกลาง 1 ตามลําดับ ที่เหลืออีก 1 กลุมวิชา ที่

พบวาบัณฑิตนําความรูไปประยุกตใชในระดับปานกลาง คือ วิชาการสอบบัญชี

46

4. ความคิดเห็นของบัณฑิตตอหลักสูตรบัญชีบัญฑิต สาขาวิชาการบัญชี ท่ีมีตอการนําความรูจาก

หลักสูตรกลุมวิชาอื่นๆ ไปประยุกตใช

บัณฑิตคณะบัญชี นําความรูจากการเรียนหลักสูตรกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใชใน 3 ลักษณะ

คือ การนําไปใชในชีวิตประจําวัน การนําไปใชในการประกอบอาชีพ และการนําไปใชในการศึกษาตอ

พบวา บัณฑิตนําความรูจากการเรียนหลักสูตรในกลุมวิชาอ่ืนๆ ไปประยุกตใชทั้ง 3 ลักษณะอยูในระดับ

มาก โดยมีคาเฉลี่ยอยูในเกณฑใกลเคียงกัน คือ การนําไปใชในชีวิตประจําวัน การนําไปใชในการ

ประกอบอาชีพ และการนําไปใชในการศึกษาตอ เมื่อพิจาราณารายละเอียดทั้ง 3 ลักษณะ พบวา

4.1 การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอื่นๆ ไปประยุกตใชในชีวิตประจําวัน พบวา กลุม

วิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ กลุมวิชาแกน กลุมวิชาภาษาศาสตร

กลุมวิชาเลือกเสรี และกลุมวิชาเอกเลือก ที่เหลืออีก 1กลุมวิชา ที่พบวาบัณฑิตนําความรูไปประยุกตใช

ในระดับปานกลาง คือ กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ตามลําดับ

4.2 การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอื่นๆ ไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ พบวา

กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ กลุมวิชาแกน กลุมวิชาเอกเลือก

กลุมวิชาภาษาศาสตร กลุมวิชาเลือกเสรี กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ตามลําดับ

4.3 การนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอื่นๆ ไปประยุกตใชในการศึกษาตอ พบวา กลุม

วิชาแกน มีคาเฉลี่ยสูงสุด รองลงมา คือ กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร กับกลุมวิชาเลือกเสรี

กลุมวิชาภาษาศาสตร กับกลุมวิชาเอกเลือก และกลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร ตามลําดับ

5.2 อภิปรายผลการศึกษา

หลักสูตรเปรียบเสมือนหัวใจสําคัญของการจัดการศึกษาในระดับอุดมศึกษา เพราะเปน

ตัวกําหนดแนวทางที่เกี่ยวของกับการพัฒนาผูเรียน ซึ่งจะเปนเคร่ืองมือสําคัญในการกําหนดอนาคต

ทางการศึกษาของสังคมน้ันๆ เปนแนวปฏิบัติในการจัดการเรียนการสอนของอาจารย เปนเคร่ืองชี้นํา

ทางถึงความเจริญของประเทศ หากประเทศใดมีหลักสูตรที่เหมาะสม ทันสมัย และมีประสิทธิภาพ ยอม

นําไปสูคุณภาพของคนในประเทศน้ัน ดังน้ัน การจัดการศึกษาใหตอบสนองตอสังคม และความมุง

หมายของชาติจําเปนตองมีหลักสูตร เพราะวาหลักสูตรเปนเคร่ืองมือที่ถายทอดเจตนารมณหรือ

เปาหมายของการศึกษาของชาติไปสูการปฏิบัติ ถาปราศจากหลักสูตรแลว การศึกษายอมดําเนินไป

ไมได

47

จากการ ความคิดเห็น ของบัณฑิต คณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี วิทยาลัยราชพฤกษที่สําเร็จ

การศึกษาในปการศึกษา 2552 มีผูตอบแบบสอบถามในสาขาน้ีจํานวนทั้งสิ้น 107 ราย พบวา บัณฑิต

คณะบริหารธุรกิจ สาขาคอมพิวเตอรธุรกิจ สวนใหญมีอายุต้ังแต 23 - 27 ป ซึ่งเปนกลุมการเรียนภาค

เสาร – อาทิตย และเปนผูมีงานทํามีสัดสวนที่สูงกวาผูไมมีงานทํา เมื่อถามสถานภาพการมีงานทําใน

ปจจุบันบัณฑิตที่มีงานทํามีสัดสวนที่สูงกวาบัณฑิตที่ไมมีงานทํา ถาถามถึงสาเหตุการไมมีงานทํา

คําตอบสวนใหญยังรอสัมภาษณงาน และรายไดเฉลี่ยตอเดือน 7,000 - 8,000 บาท และ 8,001 – 9,000

บาท ในสัดสวนที่เทากัน

บัณฑิตคณะบัญชี สาขาวิชาการบัญชี มีความคิดเห็นตอการจัดการเรียนในภาพรวมอยูในระดับ

เห็นดวยมาก บัณฑิตนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใชใน 3 ลักษณะ คือ การ

นําไปใชในชีวิตประจําวัน การนําไปใชในการประกอบอาชีพ และการนําไปใชในการศึกษาตอ พบวา

บัณฑิตนําความรูจากการเรียนหลักสูตรในกลุมวิชาเอกไปประยุกตใชทั้ง 3 ลักษณะอยูในระดับมาก

จากผลการวิจัยดังกลาวขางตนสอดคลองกับแนวความคิดในการพัฒนาหลักสูตรของ Hida

Taba ( 1962) มาจากการเร่ิมตนศึกษาวิเคราะหความตองการของผูเรียนหรือบัณฑิตของ

สถาบันอุดมศึกษา หรือวิเคราะหขอมูลที่เกี่ยวของกอน จึงกําหนดองคประกอบอ่ืนๆ และยังสอดคลอง

กับแนวความคิดของ Ralp W .Tyler (1949) ตองมีแหลงขอมูลจากนักศึกษากอนแลวนํามากําหนด

จุดมุงหมายชั่วคราว แลวจุดมุงหมายชั่วคราวตองไดรับการตรวจสอบกลั่นกรองกอนวามีความ

สอดคลองกับทฤษฎีการเรียนรูปรัชญาการศึกาและสังคม หรือไม ถาผนการตรวจสอบจึงนํามากําหนด

เปนจุดมุงหมายจริงและกําหนดองคประกอบหลักสูตร การเลือกและการจัดประสบการณการเรียน และ

องคประกอบการประเมินผล

5.3 ขอเสนอแนะเกี่ยวกับหลักสูตรบัญชีบัณฑิต

1. ขอเสนอแนะเกี่ยวกับ หลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี ไดแก 1.1 การกําหนดใหปฏิบัติตามกรอบมาตรฐานวุฒิระดับอุดมศึกษา ( Thai

Qualifications Framework for Higher Education) เปนกรอบแนวคิดในการผลิตบัณฑิตยุคใหมใหมี

คุณภาพ โดยชี้แนะแนวทางในการปรับกระบวนทัศนการจัดหลักสูตรการเรียนการสอน การพัฒนา

คณาจารย การปรับระบบบริหารจัดการเพื่อเอ้ือใหผูเรียนสามารถพัฒนาคุณลักษณะที่พึงประสงคและ

เปดโอกาสใหสรางกลไกที่สงเสริมการศึกษาตลอดชีวิต โดยกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯดังกลาว

กําหนดใหการผลิตและพัฒนาบัณฑิตในทุกระดับคุณวุฒิและทุกสาขาตองมีมาตรฐานอยางนอย 5 ดาน

48

ไดแก (1) คุณธรรม จริยธรรม (2) ความรู (3) ทักษะทางปญญา (4) ทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล

และความรับผิดชอบ และ(5) ทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสารและการใชเทคโนโลยี

สารสนเทศ โดยเฉพาะในหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี บัณฑิตตอง เปนผูมีความรูความ

เชี่ยวชาญใน การทํางานดานการบัญชี อยางเพียงพอที่จะประกอบอาชีพ ทั้งในหนวยงานของรัฐบาล

รัฐวิสาหกิจ และเอกชน เปนผูมีวินัย คุณธรรม จริยธรรม ศีลธรรม และมนุษยสัมพันธอันดี สามารถนํา

ความรูไปประยุกตใชในการประกอบอาชีพ

1.2 ความจําเปนในการประเมินหลักสูตรอันเปนภารกิจขั้นตอนสุดทายของการพัฒนา

หลักสูตร เพื่อตรวจสอบหลักสูตรวามีขอดี ขอดอยในเร่ืองใด รวมทั้งผลการใชหลักสูตร และตัดสินใจ

วาหลักสูตรน้ันมีคุณคา บรรลุเปาหมายที่กําหนดไวหรือไม วิธีการประเมินหลักสูตรน้ันมีวิธีการทําได 3

วิธี ไดแก (1) การประเมินตนเองหรือการประเมินภายใน โดยเปดโอกาสใหผูมีสวนเกี่ยวของการใช

หลักสูตร ไดมีสวนรวมการประเมินหลักสูตร (2) การประเมินโดยบุคคลภายนอก โดยมีจุดมุงหมายของ

การประเมินเฉพาะดานขององคประกอบหลักสูตร เพื่อดูภาพรวมของระบบหลักสูตร (3) การติดตามผล

การใชหลักสูตร การประเมินสวนน้ีควรรวมมือจากกรรมการประเมินหลักสูตรทั้งภายในและภายนอก

ทําใหวิทยาลัยตองพิจารณาหลักสูตรบัญชีบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีโดยอาศัยกรอบการประเมิน

หลักสูตร ดังน้ัน ในการประเมินหลักสูตรน้ัน ควรวางแผนไวลวงหนาและตอเน่ือง ต้ังแตเร่ิมเขาศึกษา

กําลังศึกษา และจบการศึกษาไปแลว เพื่อจะไดขอมูลที่ครบถวน ไมไดประเมินที่จุดใดจุดหน่ึงเทาน้ัน

และควรมีการทบทวนและประเมินผลการดําเนินการหลักสูตรอยางนอยทุกๆ 5 ป ในการทบทวนน้ัน

ควรดําเนินการในทุกดาน เชน ความทันสมัยของเน้ือหา ความสอดคลองกับตลาดแรงงาน ความสําคัญ

ของเน้ือหาทางวิชาการ ผูสอน วิธีการสอน ตลอดจนการวัดผลและประเมินผลการเรียน 1.3 การใชกลไกประเมินคุณภาพมาตรฐานการศึกษา เพื่อใชในการแกไขปญหาการไร

ทิศทาง ความซ้ําซอน การขาดคุณภาพ การขาดประสิทธิภาพของการศึกษาในระดับอุดมศึกษา โดย

กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ป ฉบับที่ 2 (2551-2565) กําหนดใหสถาบันอุดมศึกษาตามพันธกิจ

ของ 4 กลุมมหาวิทยาลัย (กลุมวิทยาลัยชุมชน, กลุมมหาวิทยาลัยวิทยาศาสตรและเทคโลโนยี กลุม

มหาวิทยาลัยวิจัย , กลุมมหาวิทยาลัยสี่ป)โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา

และผูใชบริการอุดมศึกษา ดานหลักสูตรน้ัน กลไกการประเมินโดยอาศัยความรวมมือของแตละกลุม

มหาวิทยาลัยและสมาคมวิชาชีพ ทั้งโดยคํานึงถึงประสิทธิภาพ หลีกเลี่ยงการประเมินซ้ําซอน และมีการ

วางระบบฐานขอมูลการประเมิน รวมทั้งกระบวนการนําผลการประเมินมาใชประโยชน โดยในระยะ

ยาวการประเมินคุณภาพควรนําไปสูระบบประกันคุณภาพที่นักศึกษา และสาธารณะใหความเชื่อถือ

49

เปนฐานและเงื่อนไขในการจัดสรรงบประมาณของรัฐ และการสนับสนุนจากภาคเอกชน รวมทั้งการ

โอนยายหนวยกิต ทั้งน้ีโดยการมีสวนรวมของหนวยงานผูทําการประเมินในจํานวนที่เหมาะสม มีอิสระ

และไมหวังผลกําไร มีระบบ Peer review เพื่อประกันคุณภาพ และนําไปสูการปรับปรุงคุณภาพอยาง

ตอเน่ือง

2. ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา 2.1 เพิ่มหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ดานภาษาศาสตร เปนศาสตรที่จําเปนอยางยิ่งในการ

ปฎิบัติงานปจจุบัน

2.2 เพิ่มการสอนใชโปรแกรมคอมตางๆ ที่เกี่ยวของกับการทํางานดานบัญชี เน่ืองจาก

นักศึกษาที่ออกไปทํางานตองเจอการทํางานโดยใชโปรแกรมคอมตางๆ

เอกสารอางอิง

ภาษาไทย

กระทรวงศึกษาธิการ. (2548). เกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ.2548 และแนวทาง

การบริหารเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: สํานักงานคณะกรรมการ

อุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ

คณะอนุกรรมการปฏิรูปการเรียนรู. (2543). การปฏิรูปการเรียนรูผูเรียนสําคัญท่ีสุด. กรุงเทพฯ:

พิมพดีการพิมพ.

จีระพันธ พูลพิพัฒน. (2532). การศึกษาหลักสูตรประถมศึกษา. กรุงเทพฯ: คณะศึกษาศาสตร

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ใจทิพย เชื้อรัตนพงษ. (2539). การพัฒนาหลักสูตร: หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพฯ:

โรงพิมพอลีนเพรส.

เฉลิมเกียรติ เฟองแกว. (2549). การพัฒนาหลักสูตรศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ

การทองเท่ียวของมหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต. วิทยานิพนธปริญญาดุษฎีบัณฑิต (หลักสูตรและ

การสอน) มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.

ทวีศักด์ิ จินดานุรักษ. (2546). การประเมินหลักสูตรและการสอน หนวยท่ี 1-5. นนทบุรี: โรงพิมพ

มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมธิราช.

ธํารง บัวศรี. (2532). ทฤษฎีหลักสูตรการออกแบบและพัฒนา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพคุรุสภา

ลาดพราว.

นันทนิตย หงษศรีจินดา. (2550). การประเมินการพึงพอใจของนักศึกษาแพทยศาสตร ชั้นปที่ 3 ที่มีตอ

รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่เนนผูเรียนเปนสําคัญ วารสารพัฒนาการเรียนการสอน

ปที่ 1 ฉบับที่ 1 (มกราคม – มิถุนายน): 43-50.

นิตยา สุภาภรณ. (2551). รายงานวิจัย เร่ือง ปญหาการเรียนการสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ.

วิทยาลัยราชพฤกษ.

ปรียาพร วงศอนุตรโรจน. (2542). การจัดการและการบริการอาชีวศึกษา. กรุงเทพฯ: พิมพดีการ

พิมพ.

51

เปร่ือง กิจรัตนกร. (2543). เทคโนโลยีการศึกษาและอุตสาหกรรม: หลักการและแนวทางปฏิบัติ.

กรุงเทพฯ: โรงเรียนอบรมภาษาตางประเทศ. พัชรี ศรีสังข. (2552). “ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษา” วารสารสังคมศาสตร

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ปที่ 1 (มกราคม – ธันวาคม): 91 - 95.

ภิราช รัตนันท. (2546). ทัศนคติท่ีมีตอสภาพการจัดการเรียนการสอนหลักสูตรบริหารธุรกิจบัณฑิต

(ตอเน่ือง 2 ป) ของนิสิตภาคสมทบ คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ .

วิทยานิพนธปริญญามหาบัณฑิต คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

วาสนา ศิลปรุงธรรม. (2549). “ความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีตอหลักสูตรบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต”

วารสารคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ปที่ 2 ฉบับที่2(เมษายน): 9-19.

วิชัย วงษใหญ. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ภาคปฏิบัติ. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาสน. วิริณธิ์ กิตติพิชัย อังศินันท อินทรกําแหง และจุฑามาศ แกวพิจิตร. (2553). “การประเมินผลหลักสูตร

การพัฒนาผูบริหารสถาบันอุดมศึกษา (นบอ.) ตามโครงการเสริมสรางความเขมแข็งดานการ

บริหารมหาวิทยาลัยใหม” วารสารพฤติกรรมศาสตร 16,1 : 57-70.

อินทิรา ปุณยาทร. (2542). หลักการสอน. กรุงเทพฯ: สถาบันราชภัฏสวนสมเด็จเจาพระยา.

ภาษาอังกฤษ

Ornstein, A.C. and F.P Hunkins. (2004). Curriculum Foundations, Principles and Issues. Boston:

Allyn and Bacon.

Parkay, F.W. and G.Hass. (2000). Curriculum Planning: A Contemporary Approach. Boston: A

Pearson Education Company.

Taba, H. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace.

Tyler, R.W. (1949). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago: University of

Chicago Press.

ภาคผนวก

53

แบบสอบถาม

เร่ือง ความคิดเห็นของบัณฑิตรุนท่ี 2 ตอหลักสูตรหลักสูตรบัญชีบัณฑิตวิทยาลัยราชพฤกษ

แบบสอบถามน้ีมีวัตถุประสงค คือ เพื่อสํารวจความคิดเห็นของบัณฑิต รุนที่ 2 ตอหลักสูตรหลักสูตร บัญชี

บัณฑิต สาขาวิชาการบัญชี (ตอเน่ือง) ทานเปนบัณฑิตผูหน่ึงที่วิทยาลัยภาคภูมิใจ และแสดงความยินดีดวยอยางยิ่ง

ดังน้ันความคิดเห็นของทานจะเปนประโยชนตอการพัฒนาหลักสูตรของวิทยาลัย จึงขอความรวมมือตอบแบบสอบถาม

น้ีดวย จักขอบคุณมาก

คําชี้แจง โปรดทําเคร่ืองหมาย ลงใน ( ) ที่ทานเลือก หรือกรอกรายละเอียดขอมูล

ตอนท่ี 1 ขอมูลของผูตอบแบบสอบถาม

1. อายุ...................ป

2. E-mail…………………………………………………………………………..

3. กลุมการเรียน

( ) ภาคปกติ ( ) ภาคเสาร-อาทิตย ( ) ภาคค่ํา

4. สถานภาพการมีงานทํา

4.1 กอนเขาศึกษา ( ) ไมมีงานทํา ( ) มีงานทํา

4.2 ปจจุบัน ( ) ไมมีงานทํา (ตอบขอ 5.1) ( ) มีงานทํา (ตอบขอ 5.2)

5. สถานภาพการทํางานในปจจุบันของทาน

5.1 เหตุผลท่ีทานไมมงีานทําเน่ืองจาก

( ) ไมไดสมัครงาน ( ) รอสัมภาษณ ( ) กําลังศึกษาตอ ( ) อ่ืน.........................

5.2 สําหรับผูมงีานทําโปรดกรอกรายละเอียดการทํางาน

ชื่อหนวยงาน/ประเภทธุรกิจ...................................................................................................................................

ตําแหนงงาน.................................................................................แผนก................................................................

หัวหนางาน (ถามี) คือ............................................................................................................................................

ที่ต้ัง เลขที่.....................................................หมู......................ถนน.......................................................................

แขวง/ตําบล.......................................................................เขต/อําเภอ....................................................................

จังหวัด....................................................รหัสไปรษณีย.........................................โทร..........................................

54

6. ทานมีรายไดตอเดือนจากการทํางาน (เฉพาะผูท่ีมีงานทํา)

( ) ตํ่ากวา 7,000 บาท ( ) 7,000 – 8,000 บาท

( ) 8,001 – 9,000 บาท ( ) 9,001 – 10,000 บาท

( ) 10,001 – 11,000 บาท ( ) 11,001 – 12,000 บาท

( ) 1 2,001– 15,000 บาท ( ) 1 5,001– 18,000 บาท

( ) 1 8,001– 21,000 บาท ( ) 21,001– 24,000 บาท

( ) 24,000 บาท ขึ้นไป

7. บัณฑิตมีความคิดเห็นอยางไรตอการจัดการเรียนการสอนของวิทยาลัยราชพฤกษ

5 หมายถึง เห็นดวยอยางย่ิง 4 หมายถึง เห็นดวย 3 หมายถึง เห็นดวยปานกลาง

2 หมายถึง ไมเห็นดวย 1 หมายถึง ไมเห็นดวยอยางย่ิง

ขอความ ระดับความคิดเห็น

5 4 3 2 1

1. หลักสูตรที่ใชในการเรียนการสอนมีความทันสมัย

2. อาจารยมีวุฒิและประสบการณตรงตามสาขาวิชาที่สอน

3. อาจารยมีความรู ความสามารถในการถายทอดความรู

4. อาจารยที่ปรึกษามีการดูแลเอาใจใสนักศึกษา

5. จํานวนและขนาดหองเรียนเพียงพอตอจํานวนนักศึกษา

6. อุปกรณในหองเรียนมีความทันสมัย

7. มีหองปฎิบัติการเพียงพอสอดคลองตามสาขาวิชา

8. ศูนยวิทยบริการ (หองสมุด) มีหนังสือครบถวนในรายวิชาที่ตองเรียน

9. ศูนยวิทยบริการ (หองปฎิบัติคอมพิวเตอร) มีอุปกรณเคร่ืองมือที่ทันสมัย

10. บรรยากาศ ภูมิทัศน ของวิทยาลัย สวยงาม

11. การจัดกิจกรรมของวิทยาลัยมีความเหมาะสม

12. อ่ืน ๆ (โปรดระบุ) ……………………………………....

………………………………………………………………

……………………………………………………………....

ตอนท่ี 2 ความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาเอกบังคับไปประยุกตใช

5 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับมากท่ีสุด 4 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับมาก

3 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับปานกลาง 2 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับนอย

1 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับนอยท่ีสุด

55

กลุมวิชาเอกบังคับ ระดับการนําไปใช

5 4 3 2 1

1. การบัญชีชั้นกลาง 1 (Intermediate Accounting 1)

เนื้อหารายวิชา: การบันทึกรายการสินทรัพยตางๆ โดยละเอียด การรับรูและการวัดมูลคาของสินทรัพย การปน

สวนสินทรัพยเปนตนทุนและคาใชจายตามหลักการบัญชี การดอยคาของสินทรัพย การบัญชีสําหรับสัญญา

เชาระยะยาว การแสดงรายการสินทรัพยในงบการเงิน การเปดเผยขอมูลใหเปนไปตามแมบทการบัญชี และ

มาตรฐานการบัญชีที่รับรองทั่วไป

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

2. การบัญชีชั้นกลาง 2 (Intermediate Accounting 2)

เนื้อหารายวิชา: หลักเกณฑและกระบวนการการบันทึกบัญชีโดยละเอียดเกี่ยวกับหนี้สินและสวนของเจาของ

วาดวยการจําแนกประเภทการรับรูและการวัดมูลคาการบัญชีเกี่ยวกับหนี้สินหมุนเวียนและไมหมุนเวียน การ

แสดงรายการในงบการเงินและการเปดเผยขอมูล การบัญชีเกี่ยวกับหางหุนสวน การบัญชีเกี่ยวกับบริษัทจํากัด

และงบกระแสเงินสด

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

3. การบัญชีตนทุน (Cost Accounting)

เนื้อหารายวิชา: วัตถุประสงคของการบัญชีตนทุน องคประกอบตนทุนการผลิต วิธีการบัญชีและการควบคุม

เกี่ยวกับวัตถุดิบ คาแรงงานทางตรงและคาใชจายการผลิต การจัดทํางบตนทุนการผลิต การบัญชีตนทุนงาน

สั่งทํา วิธีการบัญชีเกี่ยวกับของเสีย ของมีตําหนิและเศษซาก การบัญชีตนทุนตอนหรือกระบวนการบัญชีตาม

กิจกรรม การบัญชีผลิตภัณฑพลอยได ปญหาการปนสวนตนทุนการผลิต ตลอดจนการบัญชีตนทุน

มาตรฐานและการวิเคราะหผลตาง

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

4. การบัญชีชั้นสูง 1 (Advanced Accounting 1)

เนื้อหารายวิชา: การฝากขาย การขายผอนชําระและเชาซื้อ การบัญชีสํานักงานใหญ สาขาและตัวแทน การ

บัญชีแลกเปลี่ยนเงินตราตางประเทศ

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

56

กลุมวิชาเอกบังคับ ระดับการนําไปใช

5 4 3 2 1

5. การบัญชีชั้นสูง 2 (Advanced Accounting 2)

เนื้อหารายวิชา: การรวมกิจการ การบัญชีของบริษัทรวม บริษัทใหญ และบริษัทยอย ทั้งในประเทศและ

ตางประเทศ ตลอดจนการทํางบการเงินรวม การบัญชีเกี่ยวกับกิจการที่มีปญหาทางการเงิน

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

6. การบัญชีภาษีอากร (Taxation Accounting)

เนื้อหารายวิชา: การบัญชีเพ่ือการภาษีอากร และกฎหมายที่เกี่ยวของกับการจัดทําบัญชี การหักภาษี ณ ที่

จายและการบันทึกบัญชี รวมทั้งบัญชีพิเศษ การคํานวณ ภาษีเงินไดนิติบุคคลจากฐานกําไรสุทธิทางการบัญชี

การบัญชีเกี่ยวกับภาษีเงินไดรอการตัดบัญชี การวางแผนภาษีเงินได บุคคลธรรมดาและการวางแผนภาษีเงิน

ไดนิติบุคคล

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

7. การสอบบัญชี (Auditing)

เนื้อหารายวิชา: ความรูทั่วไปเกี่ยวกับการสอบบัญชี กฎหมายเกี่ยวกับการสอบบัญชี มาตรฐานการสอบบัญชี

มารยาทและความรับผิดชอบของผูสอบบัญชี แนวการตรวจสอบ การวิเคราะหความเสี่ยง การประเมินการ

ควบคุมภายใน วิธีการตรวจสอบดานตาง ๆ ของสินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของกิจการ รายไดและ

คาใชจาย รายงานของผูสอบบัญชี

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

8. การวางรูปแบบระบบบัญชี ( Accounting System Formation )

เนื้อหารายวิชา: หลักการโดยทั่วไปเกี่ยวกับการวางรูปแบบระบบบัญชีของกิจการ ซึ่งประกอบดวยหลักเกณฑ

และวิธีการวางรูปแบบระบบบัญชี เอกสารทะเบียนและบัญชีตาง ๆ ของกิจการตาง ๆ การออกรายงาน การ

วางระบบควบคุมภายใน

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

57

กลุมวิชาเอกบังคับ

ระดับการนําไปใช

5 4 3 2 1

9. ระบบสารสนเทศทางการบัญชี (Accounting Information System)

เนื้อหารายวิชา: แนวความคิดเกี่ยวกับระบบสารสนเทศทางการบัญชี เทคนิคและวิธีการของระบบสารสนเทศ

การควบคุมภายในที่สําคัญ การตรวจสอบระบบสารสนเทศทางการบัญชี แนวคิดเกี่ยวกับการจัดทํารายงาน

เพ่ือชวยในการควบคุมและตัดสินใจระบบงานตาง ๆ ที่ใชอยูทั่วไปในองคการธุรกิจ ศึกษาวงจรรายได วงจร

คาใชจาย ระบบการผลิต ระบบเงินเดือนและระบบบัญชีแยกประเภท การพัฒนาระบบสารสนเทศทางการ

บัญชี รูปแบบของระบบงาน โครงสรางของขอมูลและขั้นตอนการประมวลผล รวมทั้งเทคโนโลยีสารสนเทศ

ที่เกี่ยวของ

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

10. รายงานการเงิน (Financial Reports)

เนื้อหารายวิชา: วัตถุประสงคและวิวัฒนาการของรายงานการเงิน แมบทการบัญชีและการนําเสนองบการเงิน

รูปแบบตาง ๆ ของรายงานการเงินของหางหุนสวน บริษัทเอกชนและบริษัทมหาชน การเปดเผยขอมูลทาง

บัญชี ตลอดจนการจัดเตรียมรายงานการเงิน เพ่ือใชในการวิเคราะหสถานะทางการเงินและการบริหารงาน

ดานตาง ๆ ของฝายบริหาร เชน ราคาตามบัญชีและกําไรตอหุน เหตุการณภายหลังวันที่ในงบดุล การ

เปลี่ยนแปลงวิธีการบัญชี การเสนอขอมูลทางการเงินจําแนกตามสวนงาน เปนตน รวมทั้งการประเมิน

จุดออนของขอมูลและขอจํากัดของรายงานทางการเงิน

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

11. การบัญชีบริหาร (Managerial Accounting)

เนื้อหารายวิชา: วัตถุประสงคและขอบเขตบัญชีเพ่ือการบริหาร พฤติกรรมตนทุน และเทคนิคในการประมาณ

การตนทุน วิธีการตนทุนผันแปร และตนทุนรวม การวิเคราะหความสัมพันธของตนทุน – ปริมาณ – กําไร

การจัดทํางบประมาณ และงบประมาณยืดหยุน การใชขอมูลตนทุน เพ่ือการตัดสินใจ การบัญชีตามความ

รับผิดชอบและการวัดผลการปฏิบัติงาน การกําหนดราคาโอน การกําหนดราคาขาย และวิเคราะหรายจาย

ลงทุน

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

58

กลุมวิชาเอกบังคับ ระดับการนําไปใช

5 4 3 2 1

12. สัมมนาการบัญชีการเงิน (Seminar in Financial Accounting)

เนื้อหารายวิชา: วิเคราะหเกี่ยวกับปญหาตาง ๆ ทางการบัญชี แนวคิดทางการบัญชี ทฤษฎีการบัญชี และ

แมบทการบัญชี ตลอดจนการบัญชีการเงิน ที่มีสวนสัมพันธกับการดําเนินธุรกิจในปจจุบัน

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

13. การวางแผนและควบคุมโดยงบประมาณ (Budgetary Planning and Control)

เนื้อหารายวิชา: หลักเกณฑและวิธีการในการจัดทํางบประมาณตาง ๆ ของหนวยงานทางธุรกิจ งบประมาณ

ขาย งบประมาณตนทุนขาย งบประมาณการผลิต งบประมาณจัดซื้อวัตถุดิบ งบประมาณคาแรงงาน

งบประมาณคาใชจายการผลิต งบประมาณตนทุนการผลิต งบประมาณคาใชจายตาง ๆ งบประมาณ

ดําเนินงาน งบประมาณเงินสด งบกําไรขาดทุนและงบดุลโดยประมาณ งบประมาณรายจายลงทุน

งบประมาณในการวิจัยและพัฒนา ตลอดจนศึกษาถึงการนําเอางบประมาณไปใชในการวางแผนควบคุมและ

วัดผลการดําเนินงานของธุรกิจโดยใชเทคนิคทางการเงินและเทคนิคการพยากรณอ่ืน ๆ

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

59

ตอนท่ี 3 ความคิดเห็นของบัณฑิตตอการนําความรูจากหลักสูตรกลุมวิชาอื่นๆ ไปประยุกตใช

5 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับมากท่ีสุด 4 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับมาก

3 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับปานกลาง 2 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับนอย

1 หมายถึง นําไปประยุกตใชในระดับนอยท่ีสุด

รายละเอียด ระดับการนําไปใช

5 4 3 2 1

1. กลุมวิชาสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร

เชนวิชา สังคมกับเศรษฐกิจ มนุษยกับสังคม การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

2. กลุมวิชาภาษาศาสตร

เชนวิชา การคนควาและการเขียนรายงานทางกฎหมาย ภาษาอังกฤษใน

ชีวิตประจําวัน ภาษาไทยเพ่ือการสื่อสาร

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

3. กลุมวิชาวิทยาศาสตรและคณิตศาสตร

เชนวิชา สถิติเบื้องตน คณิตศาสตรทั่วไป

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

60

รายละเอียด ระดับการนําไปใช

5 4 3 2 1

4. กลุมวิชาแกน

เชนวิชา หลักการบัญชี การเงินธุรกิจ การภาษีอากร เศรษฐศาสตรธุรกิจ กฎหมาย

สําหรับนักบัญชี 1 กฎหมายสําหรับนักบัญชี 2

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

5. กลุมวิชาเอกเลือก

เชนวิชา โปรแกรมสําเร็จรูปเพ่ืองานบัญชี ทฤษฎีบัญชี

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

6. หมวดวิชาเลือกเสรี

เชนวิชา การจัดการเชิงกลยุทธ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและสังคม จริยธรรมทาง

ธุรกิจ ระบบสารสนเทศเพ่ือการจัดการ

1) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในชีวิตประจําวัน

2) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการประกอบอาชีพ

3) สามารถนําความรูจากวิชานี้ไปใชในการศึกษาตอ

61

ตอนท่ี 4 หลังจากสําเร็จการศึกษาแลว ทานไปประกอบอาชีพมีศาสตรความรูใดบางที่จําเปนตอการปฎิบัติงานแต

ไมเคยเรียนมากอน (เฉพาะผูท่ีมีงานทํา)

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................

ตอนท่ี 5 ขอเสนอแนะเพื่อการพัฒนา

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

............................................................................................................................................................

.....................................................................................................................................................................................

...........................................................................................................................................................................