50 ปีหอคอยโตเกียว...

9
50 ปหอคอยโตเกียว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุ20090101 หนา 1 จาก 9 50 ปหอคอยโตเกียว: จุดอางอิงในการศึกษาการออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุผูชวยศาสตราจารยกุลธิดา เตชวรสินสกุล ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บทความนี้เปนรายงานการศึกษาฉบับที่สองของโครงการวิจัยภายใตโครงการรูปธรรมศึกษาฯ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชื่อโครงการ การสรางแผนที่ทบทวน: งานออกแบบญี่ปุนหลังสงครามโลกครั้งที2 จากมุมมองไทย (Redraw Mapping: Japanese Design after World War II from Thai Perspective) คําสําคัญ: หอคอยโตเกียว การออกแบบอุตสาหกรรม ชีวิตประจําวัน เทคโนโลยี Made in Japan “__Japan has traditionally been home to large numbers of skilled craft workers, and it is fortunate that excellent work was done in the area of craftsmanship. It is also fortunate that, as Japan experienced its years of isolation from the rest of the world, it came to understand the importance of developing technology with limited materials and the need to polish its eye for beauty. Currently, Asian countries, of all the nations of the world, are the most likely to adopt concepts of craftsmanship that imitate those of Japan in its period of rapid growth.__” Toshiyuki Kita 1 บทนํา ในบริบทของการฟนฟูพัฒนาประเทศหลังสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศญี่ปุนมีนโยบายจัดตั้ง หนวยงานตางๆขององคกรรัฐบาลในการสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑเพื่อการสงออก ตัวอยางไดแก Japan Industrial Design Promotion Organization เพื่อชวยกระตุนเศรษฐกิจและกอใหเกิดการขยายตัวของผลิตภัณฑ มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ที่เห็นเปนรูปธรรมไดอยางชัดเจนในระยะสั้น หลังจาก พบวาภาพพจนของผลิตภัณฑสงออกที่ผลิตในประเทศญี่ปุนยังไมเปนที่ยอมรับในระดับสากล ทั้งในแงคุณภาพ และการออกแบบ ดังนั้น พัฒนาการดานการออกแบบอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุจึงเปนที่สนใจในแง กรณีศึกษาอยางกวางขวาง ในกลุมประเทศที่พัฒนาแลวที่เปนผูนําดานการออกแบบเชน เยอรมัน อิตาลี สหรัฐอเมริกา และกลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียดวยกัน เนื่องจากประเทศญี่ปุนสามารถพัฒนาประเทศใหมี ความกาวหนาดานการออกแบบไปพรอมกับเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง คําวา Made in Japan ไดเปลี่ยนแปลงจาก สัญลักษณของความดอยคุณภาพในยุคสิ้นสุดสงครามโลกครั้งที่สอง กลับมาเปนที่ยอมรับในระดับโลกในปจจุบัน นอกจากนีเมื่อพิจารณาจากยุคสมัยแหงชวงเวลาที่มีความตื่นตัวและเห็นการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการดาน การออกแบบไดอยางชัดเจน สงผลกระทบเชิงสังคมอยางมากตอวิถีชีวิตของชาวญี่ปุนอันเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงของผลิตภัณฑที่ใชในชีวิตประจําวัน ชวงเวลาดังกลาวไดถูกนํามาถายทอดทั้งในรูปแบบสารคดีโดย NHK Project X documentary ภาพยนต Always, Sunset on 3 rd Street ภาคหนึ่งและภาคสอง รวมถึงการตูนทีนําเสนอบนเคาโครงสารคดี Project X documentary ซึ่งแพรหลายไปในหมูผูอานการตูนทุกเพศทุกวัย จะพบวา ชีวิตในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น มีความผูกพันกับสัญลักษณของการฟนฟูประเทศจากซากเศษ ปรักหักพังจากสงคราม โดยอาศัยเมกะโปรเจกตอยางการกอสรางหอคอยโตเกียว อันเปนสิ่งทาทาย ความสามารถในการออกแบบและเทคโนโลยีการกอสรางของประเทศญี่ปุและมีจุดมุงหมายใหเปนสัญลักษณ ของญี่ปุนยุคใหมตอชาวโลก หอคอยโตเกียวถือเปนศูนยรวมของความมานะพยายามบากบั่นและรวมมือรวมใจ กันในการพัฒนาประเทศญี่ปุการครบรอบ 50 ปของโตเกียวทาวเวอรและการนําเสนออดีตประเทศญี่ปุนทั้งเชิง สารคดีและความบันเทิงตอผูบริโภคที่เปนชาวญี่ปุนและชาวตางชาติ สามารถสรางความประทับใจไดอยางลึกซึ้ง และกระตุนใหเกิดการรับรูถึงภาพลักษณของประเทศญี่ปุนในฐานะที่ฝาฟนสรางประเทศจากสภาพผูแพสงคราม 1 Kita Toshiyuki, Toward a New Era in Design, Design Japan: 50 Creative Years with the Good Design Award. Japan Industrial Design Promotion Organization, 2007. pp. 6 – 10.

Transcript of 50 ปีหอคอยโตเกียว...

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 1 จาก 9

50 ปหอคอยโตเกียว: จุดอางอิงในการศึกษาการออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน ผูชวยศาสตราจารยกุลธิดา เตชวรสินสกุล ภาควิชาการออกแบบอุตสาหกรรม คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย บทความนี้เปนรายงานการศึกษาฉบับที่สองของโครงการวิจัยภายใตโครงการรูปธรรมศึกษาฯ คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ชื่อโครงการ การสรางแผนที่ทบทวน: งานออกแบบญี่ปุนหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 จากมุมมองไทย (Redraw Mapping: Japanese Design after World War II from Thai Perspective) คําสําคัญ: หอคอยโตเกียว การออกแบบอุตสาหกรรม ชีวิตประจําวัน เทคโนโลยี Made in Japan

“__Japan has traditionally been home to large numbers of skilled craft workers, and it is fortunate that excellent work was done in the area of craftsmanship. It is also fortunate that, as Japan experienced its years of isolation from the rest of the world, it came to understand the importance of developing technology with limited materials and the need to polish its eye for beauty. Currently, Asian countries, of all the nations of the world, are the most likely to adopt concepts of craftsmanship that imitate those of Japan in its period of rapid growth.__” Toshiyuki Kita1 บทนํา

ในบริบทของการฟนฟูพัฒนาประเทศหลังส้ินสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ประเทศญี่ปุนมีนโยบายจัดตั้งหนวยงานตางๆขององคกรรัฐบาลในการสนับสนุนอุตสาหกรรมผลิตภัณฑเพ่ือการสงออก ตัวอยางไดแก Japan

Industrial Design Promotion Organization เพ่ือชวยกระตุนเศรษฐกิจและกอใหเกิดการขยายตัวของผลิตภัณฑมวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product: GDP) ที่เห็นเปนรูปธรรมไดอยางชัดเจนในระยะสั้น หลังจากพบวาภาพพจนของผลิตภัณฑสงออกที่ผลิตในประเทศญี่ปุนยังไมเปนที่ยอมรับในระดับสากล ทั้งในแงคุณภาพและการออกแบบ ดังนั้น พัฒนาการดานการออกแบบอุตสาหกรรมของประเทศญี่ปุน จึงเปนที่สนใจในแงกรณีศึกษาอยางกวางขวาง ในกลุมประเทศที่พัฒนาแลวที่เปนผูนําดานการออกแบบเชน เยอรมัน อิตาลี สหรัฐอเมริกา และกลุมประเทศในภูมิภาคเอเชียดวยกัน เนื่องจากประเทศญี่ปุนสามารถพัฒนาประเทศใหมีความกาวหนาดานการออกแบบไปพรอมกับเทคโนโลยีการผลิตขั้นสูง คําวา Made in Japan ไดเปล่ียนแปลงจากสัญลักษณของความดอยคุณภาพในยุคส้ินสุดสงครามโลกครั้งที่สอง กลับมาเปนที่ยอมรับในระดับโลกในปจจุบัน นอกจากนี้ เมื่อพิจารณาจากยุคสมัยแหงชวงเวลาที่มีความตื่นตัวและเห็นการเปลี่ยนแปลงของพัฒนาการดานการออกแบบไดอยางชัดเจน สงผลกระทบเชิงสังคมอยางมากตอวิถีชีวิตของชาวญี่ปุนอันเกิดจากการเปล่ียนแปลงของผลิตภัณฑที่ใชในชีวิตประจําวัน ชวงเวลาดังกลาวไดถูกนํามาถายทอดทั้งในรูปแบบสารคดีโดยNHK Project X documentary ภาพยนต Always, Sunset on 3rd Street ภาคหนึ่งและภาคสอง รวมถึงการตูนที่นําเสนอบนเคาโครงสารคดี Project X documentary ซึ่งแพรหลายไปในหมูผูอานการตูนทุกเพศทุกวัย จะพบวาชีวิตในยุคหลังสงครามโลกครั้งที่สองนั้น มีความผูกพันกับสัญลักษณของการฟนฟูประเทศจากซากเศษปรักหักพังจากสงคราม โดยอาศัยเมกะโปรเจกตอยางการกอสรางหอคอยโตเกียว อันเปนส่ิงทาทายความสามารถในการออกแบบและเทคโนโลยีการกอสรางของประเทศญี่ปุน และมีจุดมุงหมายใหเปนสัญลักษณของญี่ปุนยุคใหมตอชาวโลก หอคอยโตเกียวถือเปนศูนยรวมของความมานะพยายามบากบั่นและรวมมือรวมใจกันในการพัฒนาประเทศญี่ปุน การครบรอบ 50 ปของโตเกียวทาวเวอรและการนําเสนออดีตประเทศญี่ปุนทั้งเชิงสารคดีและความบันเทิงตอผูบริโภคที่เปนชาวญี่ปุนและชาวตางชาติ สามารถสรางความประทับใจไดอยางลึกซึ้งและกระตุนใหเกิดการรับรูถึงภาพลักษณของประเทศญี่ปุนในฐานะที่ฝาฟนสรางประเทศจากสภาพผูแพสงคราม

1 Kita Toshiyuki, Toward a New Era in Design, Design Japan: 50 Creative Years with the Good Design Award. Japan Industrial Design Promotion Organization, 2007. pp. 6 – 10.

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 2 จาก 9

มาสูสถานะประเทศผูนําทางดานเศรษฐกิจ เทคโนโลยี และ ผูนําดานการออกแบบระดับโลกในปจจุบัน อาจกลาวไดวา หอคอยโตเกียวซึ่งมีอายุครบรอบ 50 ปใน ค.ศ. 2008 เปนตัวแทนของวิถีชีวิตของชาวญี่ปุน และการออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุนในยุคที่มีความมุงมั่นอุตสาหะ ไมยอมแพตออุปสรรคนานาประการและอุทิศตัวอยางถึงที่สุด เพ่ือความเจริญกาวหนาของประเทศ ปรัชญาการออกแบบ จาก Made in Japan สู Designed in Japan

กลายเปนกรณีศึกษาที่ประกอบดวยแงมุมเชิงสังคมวัฒนธรรม และ เชิงเศรษฐกิจ เทคโนโลยี มีมิติที่นาสนใจและมีความหลากหลายเมื่อพิจารณาจากมุมมองของประเทศในภูมิภาคเอเชียเชนประเทศไทย ในฐานะผูบริโภคเชิงวัฒนธรรมและเชิงเทคโนโลยีจากประเทศญี่ปุนดังที่เปนอยูปจจุบัน ย่ิงไปกวานั้น หอคอยโตเกียวใหมที่ไดรับการต้ังชื่อวา Sky Tree Tower ที่กําลังเริ่มกอสรางเพื่อรองรับความตองการและการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดานการสื่อสารโทรคมนาคมที่กาวหนา ไดนําไปสูบริบทใหมของการออกแบบยุคดิจิตอลที่ตองติดตามตอไป

ภาคแรก: กําเนิดหอคอยโตเกียว ค.ศ.1958

ปโชวะที่ 30 หรือ ค.ศ. 1955 เกือบทศวรรษหลังส้ินสุดสงครามโลกครั้งที่สอง ไดมีความพยายามผลักดันใหเกิดโครงการเมกะโปรเจคตขนาดใหญเพ่ือรองรับการขยายตัวของความตองการการกระจายสัญญาณวิทยุโทรทัศน เปนโครงการกอสรางหอคอยเหล็กที่ชาวญี่ปุนเรียกกันในชื่อ โตเกียวทาวเวอร (รูปที่ 1 ) โดยจะมีความสูงที่สุดในโลกขณะนั้น วิศวกรผูออกแบบคือ ศาสตราจารย ดร.ทะจู ไนโต Professor Tachu Naito ผูมีผลงานออกแบบหอคอยในญี่ปุนมากอนเชนหอคอยนาโงยา หอคอยโอซากา เปนตน จนไดรับฉายาวาเปน ดอกเตอรหอคอย โครงการออกแบบเบ้ืองตนสําเร็จในเดือนพฤษภาคม ค.ศ. 1957 มีความสูงประมาณ 380 เมตร แตหลังจากการประชุมพิจารณาความเหมาะสมเชิงเศรษฐกิจ ไดมีการเปล่ียนระดับความสูงมาเปน 333 เมตร เปนความสูงของหอคอย 253 เมตร และ เสาสงสัญญาณ 80 เมตร ทั้งนี้ความเปลี่ยนแปลงดังกลาวสงผลใหตองทําการคํานวณแกไขทั้งหมด ในยุคที่การคํานวณโครงสรางหอคอยเหล็กยังเปนการใชคนและอุปกรณเพียงลูกคิดและสไลดรูลเทานั้น หากแตวาการเปลี่ยนแปลงนี้ไมทําให ศ.ดร.ทะจู ไนโต ซึ่งเปนหัวหนาคณะทํางานทอถอยแตประการใด และสามารถทําแบบกอสรางไดสําเร็จสมบูรณในเดือนกรกฎาคม ปเดียวกัน หลักการสําคัญในการออกแบบคือ พิกัดความปลอดภัย (safety factor) หอคอยโตเกียวนี้จะตองสามารถทนรับแรงแผนดินไหวที่มีความแรงเปนสองเทาของแผนดินไหวคันโต (7.9 – 8.4 ริคเตอร) ที่เคยเกิดขึ้นและสรางความเสียหายใหกับโตเกียวและปริมณฑลโดยรอบเชน โยโกฮามา ชิบะ คานากาวา และ ชิสุโอกะ เปนความเสียหายรายแรงในวงกวางของพ้ืนที่แถบคันโต ในค.ศ. 1923 การถายทอดเรื่องราวการออกแบบและกอสรางที่แทบจะเปนไปไมได ในยุคนั้น ในรูปแบบของภาพยนตรเรื่อง Always : Sunset on 3rd street และการตูน Project X: Tokyo Tower เปนการนําเสนอวิถีชีวิตชาวญี่ปุนและสภาพสังคมที่แสดงรายละเอียดของผลิตภัณฑที่ใชในยุคนั้นไดอยางนาสนใจ ในทศวรรษ 1960

อุปกรณผลิตภัณฑอุตสาหกรรมที่อํานวยความสะดวกในชีวิตประจําวันที่ถือเปนตัวแทนของชีวิตยุคใหม ที่ปรากฏในภาพยนตรดังกลาวไดแก โทรทัศน ตูเย็น และ เครื่องซักผา และไดรับการเปรียบเปรยวาเปนประหนึ่ง อุปกรณเครื่องใชไฟฟาสามประการของพระเจา (คะเด็นซันชุโนะจินหงิ / ka-den-san-shu-no-jin-gi / 家電3種の神器) ที่จําเปนตองมีไวใชในชีวิตประจําวันเพ่ือเปนเครื่องหมายของมาตรฐานคุณภาพชีวิตครอบครัวที่ดีหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 แตสัญลักษณที่ถือเปนตัวเอกตลอดทั้งเรื่อง ไดแก สามลอหรือรถบรรทุกขนาดเล็ก Matsuda CHTA

K360 ที่มีรูปรางหนาตาละมายคลายคลึงกับ ตุกตุก ที่พบเห็นทั่วไปในกรุงเทพฯ หรือ ที่แทบจะเหมือนกันกับ

รูปที่ 1 โตเกียวทาวเวอร

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 3 จาก 9

สามลอที่จังหวัดตรังนั้น ไดรับการขนานนามวาเปน การออกแบบรถบรรทุกสามลอที่เปนขาของชาติ เนื้อหาการใชงานอุปกรณเครื่องไฟฟาสามประการนั้น ไดรับการเนนผานชีวิตของชุมชนเล็กๆ ซอยสาม รวมถึงความพยายามพัฒนาการผลิตยานพาหนะของชาวณี่ปุนที่ผูกพันกับการมองเห็นความกาวหนาในการกอสรางหอคอยโตเกียวไดโดยตลอด ความบันเทิงของชุมชนจากการไดชมการแขงขันมวยปลํ้าผานจอโทรทัศนขาวดําเปนครั้งแรก ความเศราใจของชายสงน้ําแข็งสําหรับใสตูเย็นไมกรุสังกะสีแบบเกาตามบานที่ไดเห็นตูเย็นนั้นถูกทิ้งขางถนนเมื่อตูเย็นไฟฟาเขามาแทนที่ หรือการที่ภาระแรงงานและเวลาที่ผูหญิงญี่ปุนไดอุทิศใหครอบครัวในการดําเนินกิจกรรมชีวิตประจําวัน ไดรับการแบงเบาภาระไปอยางมากดวยเครื่องซักผา ดังจะเห็นไดจากแสตมปที่ระลึกพัฒนาการแตละทศวรรษหลังสงครามโลก (รูปที่ 2 ) วาในยุค 1950 – 1960 ผลิตภัณฑที่เปนส่ือแสดงถึงความเจริญในยุคนี้เปนบรรดาเครื่องใชไฟฟาในชีวิตประจําวันที่อํานวยความสะดวกใหกับแมบานยุคใหมทําใหมีเวลาสําหรับการเดินทางทองเที่ยว และอาจกลาวไดวาความสะดวกที่เปนรูปธรรมชัดเจนที่สุดไดแก หมอหุงขาวไฟฟา ที่ไมตองเตรียมเชื้อเพลิง ติดเตา ซาวขาว และเฝารอขาวสุก ผลิตภัณฑนี้เองที่ไดกลายมาเปนนวัตกรรมชิ้นแรกของญี่ปุนในยุคนั้น ซึ่งสรางความเปลี่ยนแปลงใหกับสังคมเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีการบริโภคขาวเชนกัน เรื่องราวของโตเกียวทาวเวอรกับผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาในบานกับสภาพแวดลอมทางสังคมของชนชาติญี่ปุน เปนการบอกเลาถึงวิถีชีวิตของผูที่ใชผลิตภัณฑอุตสาหกรรมเครื่องใชไฟฟาญี่ปุนที่เปล่ียนไปดวยผลงานการออกแบบเหลานี ้ 1. องคกรรัฐบาลกับการสนับสนุนการออกแบบในยุคหลังสงคราม ทศวรรษ 1950

ลักษณะเฉพาะของญี่ปุนในการพัฒนาประเทศดวยกลไกการตั้งหนวยงานตางๆของรัฐเพ่ือสนับสนุนอุตสาหกรรมในฐานะตัวขับเคล่ือนหลักของระบบเศรษฐกิจ ตัวอยางองคกรและการจัดประกวดการออกแบบที่มีบทบาทในการพัฒนาการออกแบบอุตสาหกรรมของญี่ปุน ไดแก Japan Industrial Design Promotion

Organization (JIDPO) และ G-Mark Organization ในค.ศ.1957 โดยการใหรางวัลผลิตภัณฑที่มีการออกแบบดีเดน (Good Design Award) เพ่ือสนับสนุนการยกระดับคุณภาพมาตรฐานผลิตภัณฑใหเปนที่ยอมรับและสามารถแขงขันในตลาดโลกได ความพยายามสรางอัตลักษณและความเปนผูนําดานการออกแบบในระดับสากล ตัวอยางการใหรางวัล G-Mark ค.ศ.1958 เชน หมอหุงขาวไฟฟา Toshiba รุน

RC – 10 K ที่เกิดจากความพยายามอยางตอเนื่องและไมยอมแพ โดยเรียนรูจากบทเรียนที่เปนความบกพรองของบริษัทที่เปนผูเริ่มตนผลิตออกจําหนายเชน บริษัท National/Panasonic/Matsushita (เปนชื่อกลุมบริษัทและตราสินคาภายใตชื่อบริษัท Matsushita) และ บริษัท Sony ดวยความพยายามของเหลานักออกแบบและวิศวกรที่ไดทุมเทในการคนหาความลับของการหุงขาวเปนเวลากวาหาป จนเปนหมอหุงขาวที่มีประสิทธิภาพในการใชงานเปนที่ยอมรับของผูบริโภคชาวญี่ปุนที่เขมงวดในดานคุณภาพและการออกแบบไดในที่สุด รูปที่ 3 หมอหุงขาว รุน RC – 10 K

ผลิตภัณฑญี่ปุนในชวงหาสิบปหลังการกอสรางหอคอยโตเกียวที่ผานมา ไดรับการนิยามอยางเปนทางการในแตละทศวรรษจาก JIDPO ดังนี้ ยุคทศวรรษที่หนึ่ง 1960s: Promotion of Export การสนับสนุนเพ่ือการสงออก ยุคทศวรรษที่สอง 1970s: Seeking Superiorly Designed Products คนหาผลิตภัณฑที่ไดรับการออกแบบเหนือชั้นกวา ยุคทศวรรษที่สาม 1980s: Ensuring Quality of Life สรางความมั่นใจในคุณภาพชีวิต ยุคทศวรรษที่ส่ี 1990s: Establishing New International Standards กําหนดมาตรฐานใหมระดับนานาชาติ และ ยุคทศวรรษที่หา

รูปที่ 2 แสตมปที่ระลึก

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 4 จาก 9

หลังจาก ค.ศ.2000: New Issues for the Good Design Awards จะเปนประเด็นใหมสําหรับความพยายามที่จะชนะรางวัล G-Mark ของ JIDPO 2.ปรัชญาการออกแบบอุตสาหกรรม

ทามกลางความขัดสนและความลําบากยากเข็ญในชวงส้ินสุดสงครามโลกครั้งที่สอง การขาดแคลนอาหาร ปจจัยพ้ืนฐานตางๆที่จําเปนตอการดํารงชีวิต อุปกรณผลิตภัณฑตางๆในชีวิตประจําวันที่ไมไดรับการบันทึกไวเชน เครื่องชวยมวนบุหรี่ขนาดเล็กที่อาศัยกระดาษจากพจนานุกรม เปนเสมือนจุดเริ่มตนของแนวความคิด การสรางผลิตภัณฑ (โมโนทสึคุริ / mo-no-tsukuri /ものづくり) ของประเทศญี่ปุนที่ไดรับการสืบทอดตอมา วันที่ 15 สิงหาคม 1945 วันที่องคจักรพรรดิประกาศผานวิทยุกระจายเสียง ยอมปฏิบัติตามสนธิสัญญาปอตสดัม ซึ่งมีความหมายเทียบเทากับการยอมแพสงคราม เปนครั้งแรกในประวัติศาสตรที่ประชาชนในชาติไดรับฟงเสียงขององคจักรพรรดิ ถือเปนจุดพลิกผันของวัฒนธรรมและวิถีแบบญี่ปุน รวมถึงการเขามาตั้งฐานทัพของกองทัพอเมริกันที่มาในรูปของการใหความชวยเหลือฟนฟูประเทศ นับเปนการนําเขาวัฒนธรรมตะวันตกแบบอเมริกันอยางเต็มรูปแบบ ในค.ศ.1952 เปนปที่สมาคมนักออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน Japan

Industrial Design Association ไดถูกกอต้ังขึ้นดวยกระแสความเฟองฟูของการออกแบบอุตสาหกรรมแบบอเมริกัน เปนกระแสอิทธิพลตะวันตกที่สําคัญย่ิงนับจากรัชสมัยเมจิที่จําเปนตองเปดประเทศใหกับกองทัพเรืออเมริกันเปนครั้งแรกในรอบสองรอยปกอนหนานี้ แนวความคิดเรื่องมาตรฐานการดํารงชีวิตแบบอเมริกันที่ญี่ปุนมุงหวังจะเปนนั้นถือเปนเปาหมายสําคัญประการหนึ่งของสมาคมนักออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน การจัดงานนิทรรศการแสดงสินคาระดับชาติในยุค ค.ศ. 1970 เชน งานนิทรรศการผลิตภัณฑนานาชาติ ที่ โอซากาเอกซโป กอใหเกิดกระแสการออกแบบญี่ปุนเกิดเปนคําขวัญตางๆ ที่มุงเนนที่ความมีขนาดเล็กกะทัดรัดแตมีประสิทธิภาพและสวยงามเชน จิ๋วแตแจว (small but powerful / small but beautiful) โดยในขณะเดียวกัน ประเทศญี่ปุนไดพยายามสรางเอกลักษณของงานออกแบบญี่ปุนใหทัดเทียมกับประเทศตะวันตกที่เปนผูนําดานการออกแบบ โดยการนําผลงานการออกแบบและผลิตภัณฑอุตสาหกรรมออกสูตางประเทศในรูปแบบของนิทรรศการระดับนานาชาติ และมีการนิยามคุณลักษณะที่เปนการออกแบบญี่ปุนที่มีการเปลี่ยนแปลงบริบทการใชงานไปตามยุคสมัยและเทคโนโลยี แตยังคงไวซึ่งจิตวิญญาณความเปนญี่ปุน (วะคนโยไซ / wa-kon-yo-sai / 和魂用材) การศึกษาการออกแบบญี่ปุนผานนิทรรศการผลงานออกแบบญี่ปุนระดับนานาชาติ ที่องคกรหนวยงานรัฐบาลเปนผูจัดและเปนผูกําหนดนิยามความเปนญี่ปุนในงานออกแบบเพื่อส่ือตอสากล ดังจะพบตัวอยางไดจากขอมูลงานนิทรรศการ ที่จัดแสดงรอบโลกในชื่อ “Japanese Design: A Survey Since 1950” เริ่มแสดงที่ฟลาเดลเฟย ประเทศสหรัฐอเมริกา ใน ค.ศ.1994 ที่มิลาน ประเทศอิตาลี ค.ศ.1995 ที่ดุสเซลดอรฟ ประเทศเยอรมนี และ ที่ ปารีส ประเทศฝรั่งเศส ในปเดียวกัน สุดทายกลับมาจัดแสดงที่โอซากา ประเทศญี่ปุน ค.ศ.1996 นิยามการออกแบบในงานนี้ กําหนดจากหลักการ 5 ประการ ไดแก ความเปนชางฝมือ (craftsmanship) ความไมสมดุล (asymmetry) ความกะทัดรัด (compactness) ความมีอารมณขัน (humor) และ ความเรียบงาย (simplicity) ขณะท่ี นิทรรศการลาสุดที่จัดขึ้นที่ กรุงเทพฯ ประเทศไทย ค.ศ.2006 ในชื่อ “DNA of Japanese Design” ไดถอดรหัสการออกแบบของญี่ปุนเพ่ือใชอธิบายเปรียบเทียบถึงผลงานใน 3 ยุค ไดแก ยุคหัตถกรรมที่เปนงานชางฝมือ ยุคเริ่มตนของงานออกแบบอุตสาหกรรมและยุคปจจุบันในศตวรรษที่ 21 รหัส 15 ประการในการออกแบบไดแก A: เล็ก เบา บาง B: หลากความสามารถ C: พกพาติดตัว D: ขยายขอบเขตเวลาและพื้นที่ E:

ตัดสวนเกินรุงรังทิ้ง F: เปนชองทางการสื่อสาร G: อัตโนมัติและประหยัดแรงงาน H: ใครๆก็เปนมืออาชีพได I: สรางความหลากหลาย J: ใครๆก็ใชได K: สะทอนธรรมชาติ L: จัดระบบเปนหมวดหมู M: เลือกใชวัสดุ N:

บุกเบิกการใชวัสดุใหม O: หีบหอสวยงาม รหัสพันธุกรรมการออกแบบทั้ง 15 รหัสนี้ ไดรับการเพิ่มเติมแงมุมดานเทคโนโลยีวัสดุและการผลิต ตลอดจนแนวความคิดวิถีชีวิตและวัฒนธรรมแบบญี่ปุนที่ปรับตัวตามกระแสสังคมโลก ทําใหนิยามงานออกแบบญี่ปุนจากงานนิทรรศการ สะทอนถึงอัตลักษณของผลงานและผูสรางผลงานไดอยางหลากหลายและลึกซึ้ง มีความเปนพลวัตปรับแปรไปตามยุคสมัยและตามความเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี แตเปนที่นาสังเกตวา รหัสการออกแบบที่ถูกเพ่ิมขึ้นมานั้น สวนใหญเปนปจจัยภายนอกที่มีลักษณะ

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 5 จาก 9

เปนสากลและเชิงการใชงาน ขณะที่แงมุมความเปนตัวตนเชิงอารมณถูกลดทอนไป เมื่อเปรียบเทียบกับนิยามที่เรียบงายเพียงหาประการในค.ศ. 1994

เมื่อพิจารณาถึงคุณลักษณะเดนชัดในงานออกแบบที่ชาวตางชาติยอมรับ ปรัชญาจากพิธีชงชา (วาบิซาบิ / wabi-sabi / わびさび) มักถูกนํามาใชอางอิงในการศึกษาแงสุนทรียะอันเกิดจากกาลเวลาและธรรมชาติของความไมสมบูรณ ความสมถะ ความสันโดษ ที่ส่ือออกมาในผลงานการออกแบบ ความสุขและความพึงพอใจที่ผูบริโภคไดรับจึงเกิดจากทั้งการไดรับประโยชนจากหนาที่ใชงาน ความสะดวก ความมีประสิทธิภาพ ทุนแรงทุนเวลา และความพึงพอใจจากอารมณความรูสึกที่ไดรับจากประสบการณที่แตกตางกันไปในแตละบุคคล ตัวอยางผลงานการออกแบบเครื่องปงขนมปง [รูปที่ 4 ] โดย ฟุกาซาวะ นาโอโตะ เจาของผลงานออกแบบเครื่องเลนซีดีแบบติดผนัง รูปที่ 4 เครื่องปงขนมปง ใหกับ MUJI ที่เปนนิยมและรูจักทั่วโลก ผลงานออกแบบเครื่องปงขนมไดรับรางวัล G-MARK เปนอุปกรณเครื่องใชไฟฟาในชีวิตประจําวันสําหรับสังคมที่เนนการประหยัดเวลาของญี่ปุนในปจจุบัน เปนการปงขนมปงเพียงแผนเดียว เหมาะกับชีวิตเรงรีบยามเชาของคนโสดในที่ตองการอาหารเชาแบบเบาๆ และพักอาศัยในพ้ืนที่จํากัด แตกตางจากเครื่องปงที่ปกติจะเปนแผนคู ดวยขนาดที่กะทัดรัด เรียบงายเขากับการตกแตงภายในไดดี ตอบสนองความตองการทั้งดานประโยชนใชสอยและดานจิตใจ ปรัชญาการออกแบบจึงถูกนํามาใชทั้งในแงสุนทรียะและแงเทคโนโลยี เพ่ือชีวิตยุคใหมของสังคมญี่ปุนและระดับนานาชาต ิ

ภาคสอง: กําเนิดหอคอยโตเกียวใหม ค.ศ.2008

การศึกษากรณีโครงการกอสรางหอคอยโตเกียวใหมและโตเกียวทาวเวอร สัมพันธกับการออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน ที่พิจารณาถึงปญหาการถูกบดบังคล่ืนสัญญาณดวยอาคารสูงโดยรอบในปจจุบัน เกิดเปนความตองการรองรับการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีดานการสื่อสารโทรคมนาคมที่กาวหนา ตลอดจนถึงเหตุผลดานความตองการกลับเปนเจาของสถิติหอคอยที่สูงที่สุดในโลกอีกครั้ง เพ่ือสรุปบริบทการออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุนหลังค .ศ .2000 (ที่มาของภาพโตเกียวทาวเวอร http: / /mitearuki2.sakura.ne.jp/sousintou-east/sousintou/kanto-koiki/tokyotower/tokyotower.html )

รูปที่ 5 บน โตเกียวทาวเวอรทามกลางตึกสูงระฟา ค.ศ. 1984 ลางซาย มุมมองจากสะพานสายรุงในปจจุบัน กลาง จากลานจอดรถดิสนียแลนด ลางขวา จากดานหนาของตึกรัฐสภา

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 6 จาก 9

1.เหตุผลดานเทคโนโลยีการสื่อสารโทรคมนาคม โตเกียวทาวเวอรต้ังอยูในเขตมินาโตะซึ่งแปลวาทาเรืออยูในสวนกลางของโตเกียว 35° 39′30″ N 139°

44′43″ E พ้ืนที่ 14,973 ตารางเมตร น้ําหนักโครงสรางเหล็กรวมโดยประมาณคือ 4,000 ตัน นอยกวาหอคอยไอเฟลที่ปารีส ซึ่งน้ําหนักประมาณ 10,000 ตัน แตมีความสูงกวาประมาณ 13 เมตร โครงสรางทั้งหมดทาสีขาวสมตามระเบียบขอบังคับความปลอดภัยการบิน (Aviation Safety Regulations) การใหแสงสามารถออกแบบเปลี่ยนตามโอกาสพิเศษทําใหโตเกียวทาวเวอรเปล่ียนเปนสีตางๆไดอีกดวย ในยุคกระตุนเศรษฐกิจหลังสงคราม ค.ศ. 1950 เปนตนมา โครงการเมกะโปรเจคตสรางโตเกียวทาวเวอรเพ่ือเปนศูนยกลางการกระจายคลื่นสัญญาณวิทยุโทรทัศนเริ่มวางแผนดําเนินการตั้งแต ค.ศ. 1955 สรางเสร็จ ค.ศ. 1958 โดยกลุมบริษัทกอสราง TAKENAKA

ดวยงบประมาณราว 2.8 พันลานเยน แมจะเปนโครงสรางเหล็กที่สูงที่สุดในโลกขณะนั้น แตการกอสรางอาคารสูงอยางตอเนื่องในญี่ปุนหลังสงครามโลก โดยเฉพาะบริเวณรอบโตเกียวทาวเวอร และในเขตชินจุกุ เขตอิเคะบุคุโระ ที่มีราคาที่ดินสูง เริ่มทําใหสัญลักษณความเปนหอคอยเหล็กที่สูงที่สุดในประเทศลดถอยลง แมวาจะมีการเปรียบเทียบความเปนแลนดมารค เชนเดียวกันกับหอคอยไอเฟลที่นักทองเที่ยวตองแวะชม โตเกียวทาวเวอรสวนที่เปนอาคารคอนกรีตบริเวณฐานโครงสราง ชั้นแรกเปนพิพิธภัณฑสัตวน้ํากวา 50,000 ตัว ชั้นสามเปนพิพิธภัณฑหุนขี้ผึ้ง และชั้นที่ส่ีเปนสวนสนุก ชั้นชมทัศนียภาพมี 2 ชั้น ที่ความสูง 150 เมตร และท่ี 250 เมตร เปนชั้นชมทัศนียภาพพิเศษ ซึ่งในวันที่อากาศดี จะสามารถมองเห็นโตเกียวโดยรอบและภูเขาไฟฟูจิทางฝงทิศใตไดอยางสวยงาม นอกจากความเปนจุดทองเที่ยวแลว โตเกียวทาวเวอรยังเปนรูปสัญลักษณหรือ icon ของโตเกียวที่ถูกนํามาใชอยางฟุมเฟอย ไมวาจะภาพยนตร การตูน อนิเมชั่น โดยเฉพาะภาพยนตรโทรทัศนประจําสัปดาหชุดยอดมนุษยอุลตราแมน มักจะถูกถลมดวยสัตวประหลาดตางๆ ทั้งก็อตซิลลา มอสซิลา รวมถึงสัตวประหลาดทั้งหลายจากตางดาวอยางหลีกเล่ียงไมได แมกระทั่งในภาพยนตรภาคสองของ Always: Sunset on 3rd

street ที่อุทิศฉากแรกในภาพยนตรใหกับก็อตซิลลาที่ไลถลมชุมชนซอยสามเปนตน ในระดับสากล โตเกียวทาวเวอรถือเปนสัญลักษณของการบูรณะประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง แสดงถึงศักยภาพและศูนยรวมจิตใจของชนในชาติ เปนหอคอยกระจายสัญญาณวิทยุโทรทัศนที่สูงที่สุดในประเทศมายาวนานกวาหาสิบป แตในสถานการณปจจุบัน โตเกียวทาวเวอรไดมาถึงจุดหัวเล้ียวหัวตอ ดวยสาเหตุอันเนื่องมาจากพัฒนาการของเทคโนโลยีดานการสื่อสารและการกอสราง ในยุคปจจุบัน [รูปที่ 5] พ้ืนที่โดยรอบโตเกียวทาวเวอรเปล่ียนสภาพจากอาคารในระนาบแนวนอนยุคหลังสงคราม เปนอาคารสํานักงานและที่พักอาศัยยุคใหมที่มีจํานวนชั้นประมาณ 30 – 54 ชั้น ความสูงประมาณ 248 เมตร เมื่อสัญลักษณหอคอยที่สูงที่สุดถูกบดบังดวยอาคารสูงโดยรอบมีปญหาการเกิดจุดบอดในการกระจายคลื่นสัญญาณ ทําใหมีการพิจารณาโครงการเมกะโปรเจคตกอสรางหอคอยโตเกียวใหม ตอบสนองตอการยุติการกระจายสัญญาณในระบบอนาล็อก เปล่ียนเปนระบบดิจิตอลสมบูรณใน ค.ศ. 2011

โดยที่เครื่องโทรทัศนที่วางตลาดอยูในญี่ปุนปจจุบันไดถูกผลิตใหสามารถรับสัญญาณดิจิตอลไดแลว ย่ิงไปกวานั้น โทรศัพทเคล่ือนที่ไดถูกคาดหวังใหสามารถรับคล่ืนโทรทัศนระบบดิจิตอลไดในเร็วๆนี้ สถานีโทรทัศน NHK ซึ่งเปนของภาครัฐและบรรดาสถานีโทรทัศนเอกชน ตางมุงไปสูการเปล่ียนใชระบบการกระจายคลื่นสัญญาณใหมเชนเดียวกันกับอุตสาหกรรมอิเลคโทรนิคสที่กระตือรือลนตอการแทนที่โทรทัศนในระบบเดิม รวมถึงอุปกรณเครื่องใชไฟฟาตางๆที่เกี่ยวของ เชน เครื่องเลนดีวีดี ชุดโฮมเธียเตอร ที่จะเปนรายไดจํานวนมหาศาล 2.เหตุผลดานสถิติอาคารและหอคอยที่สูงท่ีสุดในโลก

ในแงการแขงขันความสูงของส่ิงกอสรางทั่วโลกยุคสหัสวรรษใหม โตเกียวทาวเวอรตองหลีกทางใหกับอาคารและหอคอยทั้งในประเทศตะวันตก เชน CN Tower ในโตรอนโต ประเทศแคนาดา อันดับที่ 1 สรางเสร็จในค.ศ.1975 หรือกระทั่งประเทศในแถบเอเชียที่ญี่ปุนเคยแผอิทธิพลทั้งในยุคประวัติศาสตรหรือในชวงสงครามโลก

เชน หอคอย N Seoul Tower กรุงโซล ประเทศเกาหลี ตึก Petronas กรุงกัวลาลัมเปอร ประเทศมาเลเซีย หอคอยไขมุก Oriental Pearl Tower ที่เซี่ยงไฮ ประเทศจีน ตึก Taipei 101 ประเทศไตหวัน ตึก Burj Dubai กรุงดูไบ ประเทศสหรัฐอาหรับอิมิเรตส เมื่อค.ศ.2007 และ ที่ครองอันดับที่ 17 ไดแก Macau Tower ที่เขตการปกครอง

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 7 จาก 9

พิเศษ มาเกา ประเทศจีน เมื่อ ค.ศ.2001 ที่ความสูง 338 เมตร เบียดโตเกียวทาวเวอรไปอยูอันดับที่ 21 ของหอคอยสูงในโลกปจจุบัน โดยสูงกวาหอคอยโตเกียวเพียง 5 เมตร ดวยสภาวะดังกลาว ต้ังแต ค.ศ. 2003 เขตตางๆในกรุงโตเกียว 15 เขต รวมถึงปริมณฑล เมือง และจังหวัดโดยรอบ ตางเสนอตัวเปนเจาของพื้นที่โครงการกอสรางหอคอยโตเกียวใหม เขตมินาโตะที่ต้ังของโตเกียวทาวเวอรปจจุบันราคาที่ดินที่พุงขึ้นสูงและอาคารสูงมากมายในพื้นที่ประกอบกับความเขมงวดของระเบียบขอบังคับอาคารสูงและความปลอดภัยทางการบิน ทําใหขาดโอกาสในการแขงขันกับพ้ืนที่โดยรอบที่ราคาที่ดินต่ํากวาและมีความยืดหยุนในดานกฎระเบียบมากกวา คูแขงอันดับตนๆไดแก เขตสุมิดะ และ จังหวัดไซตามะ ที่ภาครัฐทองถ่ินจับมือกับภาคเอกชนในการเสนอเงื่อนไขเพ่ือการกอสราง ในที่สุด เขตสุมิดะ และกลุมการรถไฟเอกชน บริษัทโตบุ เจาของที่ดินรายใหญในเขต เปนฝาย

ชนะและไดเปนเจาของพ้ืนที่ ดวยเงื่อนไขการเดินทางที่สะดวก มีสถานีเชื่อมเปล่ียนรถไฟ 4 สถานี สามารถเดินทางถึงสนามบินในประเทศ ฮาเนดะ และ สนามบินนานาชาติ นาริตะ ไดสะดวก อีกทั้ งอ ยู ใกล แหล งทอง เที่ ยว สําคัญ สําหรับนักทองเที่ยวตางชาติ และนักทองเที่ยวชาวญี่ปุนเองในแถบแมน้ําสุมิดะ เชน อาซากุสะ ที่มีวัดโซเอนจิ สนามแขงขันซูโม และ พิพิธภัณฑโตเกียวเอโดะ สถานีรถไฟโตเกียว อยูหางเพียงระยะ 5 กิโลเมตร นอกจากนี้ โครงการสาธารณูปโภคพ้ืนฐาน และ โครงการเชิงพาณิชยขนาดใหญจํานวนมากกําลังจะเริ่มดําเนินการในเขตใกลพ้ืนที่กอสราง หอคอยเมื่อสรางเสร็จ [รูปที่ 5] จะมีความสูงประมาณ 610 เมตร เปนโครงสรางที่มี่ฐานสามเหล่ียมและสอบขึ้นเปนทรงกลม มีชั้นชมทัศนียภาพที่ความสูง 350 เมตร และ 450 เมตร มีทั้งสวนธุรกิจพาณิชย ภัตตาคาร และสวนสํานักงาน การกระจายคลื่นสัญญาณวิทยุโทรทัศน งบประมาณลงทุนเบ้ืองตนประมาณ 60 พันลานเยน งบประมาณกอนเปดประมาณ 5 พันลานเยน ดวยการผนึกกําลังระหวาง องคการบริหารสวนทองถ่ิน กับ ภาคเอกชน กลุมธุรกิจพาณิชยและชุมชนการคาในพ้ืนที่ ถือเปนปจจัยสําคัญในการพิจารณาขอเสนอ จากการเล็งเห็นความสําคัญของการเพิ่ม

มูลคาของพื้นที่ การสราง งาน และโอกาสทางธุรกิจที่จะเกิดขึ้น

จากโครงการกอสรางขนาดใหญ รวมถึงโอกาสการไดเปนแหลงทองเที่ ยวสําคัญแหงใหมของโตเกียว แมวาแงมุมดานลบของผลกระทบของโครงการที่จะเกิดขึ้นกับชุมชนทั้งระยะส้ันและระยะยาวจะไดรับการพิจารณาบางก็ตาม แตเ ง่ือนไขความตองการเปนชาติที่เปนเจาของสถิติอาคารสูงในโลกอีกครั้งทําใหโครงการไดรับการสนับสนุนใหดําเนินการตอไป ในค.ศ. 1993 ประเทศญี่ปุนไดสรางอาคาร Yokohama Landmark Towerที่เมืองโยโกฮามา จังหวัดคานางาวะ จํานวน 73 ชั้น ความสูง 296 เมตร ถือเปนอาคารสูงลาสุด ดังนั้นโครงการหอคอยโตเกียวใหม New Tokyo

Super Tower “Sky Tree” จะเปนโอกาสใหประเทศญี่ปุนไดกลับมาเปนเจาของสถิติหอคอยสูงที่สุดในโลกอีกครั้ง

รูปที่ 5 หอคอยใหม “Sky tree”

รูปที่ 6 ทัศนียภาพเม่ือสรางเสร็จ โดยตึกบริษัทอาซาฮีเบียรอยูทางขวา

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 8 จาก 9

ในค.ศ. 2011 แมวาจะเปนชั่วระยะเวลาสั้นๆก็ตาม ขอสังเกตหรือคําถามเกี่ยวกับผลกระทบจากความขัดแยงของสถาปตยกรรมยุคใหม เชน หอคอยโตเกียวใหม หรือที่เกิดขึ้นกอนหนาไดแก ตึกรูปเบียรของบริษัทอาซาฮี [รูปที่ 6] ที่ไดรับการออกแบบโดย ฟลิปส สตารคในพื้นที่ใกลเคียงฝงแมน้ําสุมิดะ ตรงขามกับวัดโซเอนจิ อาซากุสะ ที่มีวัด และสถานที่สําคัญเชิงประวัติศาสตรของชุมชนทองถ่ินที่กระจายอยูมากมาย การออกแบบที่สามารถประนีประนอมกับความตองการเชิงอนุรักษพ้ืนที่ประวัติศาสตร และการลดผลกระทบแงลบเชนเงาอาคารสูงที่บดบังอาคารโดยรอบในชวงเวลาตางๆตอนกลางวัน อาจเปนแนวทางที่ตองการอาศัยการพิจารณารวมกันทั้งจากฝายเจาของโครงการและผูที่อาศัยอยูในชุมชนอยางเทาเทียมกัน ดีไซนคอนเซปตที่วา “To be a new symbol of

tradition and the cutting edge” ของ “Sky Tree” คงตองรอการพิสูจนในอนาคต สรุป: การออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุนหลังค.ศ. 2000

จากความพายแพในประวัติศาสตรโดยเฉพาะเชิงเศรษฐกิจชวงหลังยุคสงครามโลกครั้งที่สอง นําไปสูความพยายามพัฒนาประเทศ ดวยความตองการเปนผูนําในระดับโลก ประเทศญี่ปุนไดทุมเทพัฒนาทั้งดานอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีจนเปนที่ยอมรับ รวมถึงการพัฒนาเชิงสังคมไลตามประเทศตะวันตกในลักษณะของ Westernization และในที่สุด ไดเขาสูสภาพสังคมผูสูงอายุ เจริญรอยตามกลุมประเทศพัฒนาแลว จากความเปล่ียนแปลงในบริบทสังคม ทําใหการออกแบบเพื่อตอบสนองความตองการของผูบริโภคในยุคฟนฟูประเทศหลังสงครามโลกครั้งที่สอง ในแงปจจัยเชิงกายภาพพื้นฐานเพ่ือการดํารงชีวิตอยางสะดวกสบาย (Gross Domestic

Product: GDP) ที่สามารถตระหนักไดจากผลิตภัณฑอุตสาหกรรม เชน เครื่องใชไฟฟาพ้ืนฐานในชีวิตประจําวัน ไดแก โทรทัศน ตูเย็น เครื่องซักผา หมอหุงขาวไฟฟา เปล่ียนไปสูปจจัยเชิงจิตใจเพ่ือการดํารงชีวิตยุคสารสนเทศอยางมีความหมายและเปนสุข (Gross Nation Happiness: GNH) เพ่ือผูบริโภคในสังคมไดอยูรวมกันอยางเปนสุขและเทาเทียมกัน

จากจุดเริ่มตนของการออกแบบ Made in Japan ที่อาศัยการศึกษาเลียนแบบและทําตาม สู Designed

in Japan ที่พยายามสรางอัตตลักษณการออกแบบดวยปรัชญาการออกแบบของญี่ปุนผสมผสานกับค ว า ม ก า ว ห น า พั ฒ น าเทคโนโลยียุคใหมเปนของตนเอง เชน การออกแบบอางในครัวของ INAX [รูปที่ 7] ที่สามารถบําบัดน้ําแลวนําไปใชในการปลูกพืชไฮโดรโพรนิคสตอไดเลย ทันที โดยไดรับรางวัล G-Mark ในค.ศ.2005 การพัฒนาหุนยนตเพ่ือสรางระบบชวยเหลือผูสูงอายุ เด็ก และ ผูพิการ การออกแบบบรรจุภัณฑที่ยอยสลายไดงายตามธรรมชาติ หรือ การออกแบบที่เปนมิตรตอส่ิงแวดลอม ดัชนีชี้วัดความสุขประชาชาติเริ่มเปนคําสําคัญสอดคลองกับแนวความคิดในการออกแบบที่ตองการตอบสนองความตองการเชิงอุดมคติ เชน การออกแบบสากล (Universal Design) คุณภาพการดํารงชีวิต (quality of life)

ความอยูเย็นเปนสุข (well-being) และ การผลิตและการบริโภคอยางยั่งยืน (sustainable consumption and production)

ตอจากนี้ ประเด็นการนิยามการออกแบบที่ดีสําหรับการใหรางวัล G-Mark และความพยายามสืบทอดอัตตลักษณญี่ปุน ทั้งในแงสุนทรียะ ความเปนชางฝมือ ความพยายามกระตุนจิตวิญญาณความเปนญี่ปุนในผลงานการออกแบบ เพ่ือสรางความเปนชาตินิยม นําหนาการออกแบบของชาติอ่ืนโดยเฉพาะในภูมิภาคเอเชียดังเชนในคํานําตอนตนบทความของคิตะ โทชิยูกิที่วา “__ ประเทศญี่ปุนแตดั้งเดิมไดเปนแหลงที่รวมของชางฝมือจํานวนมาก และโชคดีที่งานชั้นยอดเปนงานที่ถูกสรางขึ้นในดานของงานหัตถกรรม และความโชคดีอีกประการคือ ดวยประสบการณจากระยะเวลาของการปดประเทศโดดเดี่ยวจากโลกภายนอก ทําใหชาติญี่ปุนตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีดวยทรัพยากรที่จํากัด และความตองการการขัดเกลาการรับรู

รูปที่ 7 ระบบอางในครัวของ INAX

50 ปหอคอยโตเกยีว จุดอางอิงในการศึกษางานออกแบบอุตสาหกรรมญี่ปุน 20090101 หนา 9 จาก 9

ความงาม ปจจุบัน เหลาประเทศในเอเชียทั้งหลาย กําลังกลายเปนกลุมที่จะประยุกตใชแนวความคิดความเปนชางฝมือ เลียนแบบตามประเทศญี่ปุนในยุคที่เกิดความเจริญเติบโตอยางรวดเร็ว__” อาจจะเปนประเด็นที่นําไปสูบริบทใหมของการออกแบบยุคดิจิตอลเพ่ือสังคมโลกยุคปจจุบัน

บรรณานุกรม 1. Japan Industrial Design Promotion Organization, Design Japan: 50 Creative Years with the Good Design Award. Stone Bridge Press, Japan 2007. 2. http://www.always3.jp/ (movies: Always, sunset on 3rd street) 3. โทชิโอะ คิคุจิ / ปนัดดา แสงทองอโณทัย, Project X โตเกียวทาวเวอร. กรุงเทพฯ: บงกชพับลิชช่ิง, 2550. 208 หนา

4. http://www.g-mark.org/library/40th/japan/toshiba.html 5. http://www.jidpo.or.jp/ 6. Kusago Takayoshi, Rethinking of Economic Growth and Life Satisfaction in Post-WWII Japan – A Fresh Approach. Social Indicators Research (2007) 81: 79–102, Springer 2006. (DOI 10.1007/s11205-006-0016-9) 7. Pekarik Andrew, Japanese Design: A Survey Since 1950. Design Issues, Vol.11, No.2. Summer, 1995, pp. 71 – 84. http://links.jstor.org/sici?sici=0747-9360%28199522% 2911%3A2%3C71%3AJDASS1%3E2.0.CO%3B2-6 8. Moriyama Akiko 森山明子, Nippon design 1957 – 1966. http://doraku.asahi.com/kiwameru/design/1957_1966.html 9. Satake Hiroshi 佐竹博, The Current of the Consumer Electronics in Japan. Josai Management Review, 城西大学経 営紀要 Vol.2 (20060300) pp. 151-163 Josai University ISSN: 18801536 10. Sian Evans, Contemporary Japanese design. Collins & Brown, London, 1991. 224 pp. 11. Sparke Penny, Japanese design. Michael Joseph, London, 1987. 144 p. 12. Trade Fair Department. DNA of Japanese Design. Japan External Trade Organization. Japan 2006. 13. 日本・プロダクトデザイナの証言、50年!(คําใหการของนักออกแบบ, 50 ป ผลิตภัณฑญ่ีปุน)JIDA Japan Industrial Designer Association, Tokyo, Japan, 2006. 175 p.(in Japanese) 14. http://museum.toshiba.co.jp/history/1goki/1955rice.html 15. http://www.skyscrapercity.com/showthread.php?t=346504