350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว...

23
ลิขสิทธิคณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/48 350-03-024 เอกสารประกอบคําบรรยาย วิชา . 350 เรื่อง ธนาคารโลกและกองทุนการเงินระหวางประเทศ รวบรวมมาจากเอกสารของธนาคารแหงประเทศไทย และเอกสารตาง ในงานประชุมกองทุนการเงินระหวางประเทศ ที่อาคารศูนยสิริกิต 2534 โดย ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา จัดทําโดย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร กรกฎาคม 2536

Transcript of 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว...

Page 1: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/48

350-03-024

เอกสารประกอบคําบรรยาย

วิชา ศ. 350

เร่ือง

ธนาคารโลกและกองทนุการเงินระหวางประเทศ

รวบรวมมาจากเอกสารของธนาคารแหงประเทศไทย และเอกสารตาง ๆ ในงานประชุมกองทุนการเงินระหวางประเทศ ที่อาคารศูนยสิริกิต ป 2534

โดย

ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา

จัดทําโดย คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร

กรกฎาคม 2536

Page 2: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

1

1. ธนาคารโลก

กลุมธนาคารโลก (The World Bank Group) เปนกลุมสถาบันการเงินระหวางประเทศ หาสถาบัน อันประกอบดวย ธนาคารระหวางประเทศเพื่อการบูรณะและววิัฒนาการ (Inter-national Bank for Reconstruction and Development หรือ IBRD) สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ (International Finance Corporation หรือ IFC) ศูนยระหวางประเทศเพื่อระงับขอพพิาทเกี่ยวกับการลงทุน (International Centre for Settlement of Investment Disputes หรือ ICSID) และสถาบันประกันการลงทุนแบบพหุภาคี (The Multilateral Investment Guarantee Agency หรือ MIGA) ทั้งนีถื้อวา IBRD เปนสถาบันหลักของกลุม 1.1 ความเปนมา

IBRD ซ่ึงเปนองคกรหลักและองคกรแรกของกลุม ถือกําเนิดเนื่องจากความลมเหลวของระบบเศรษฐกิจและการคาของโลกที่เร่ิมกอตัวตั้งแตปลายทศวรรษที่ 1920 ซ่ึงเปนชวงที่ราคาสินคาขั้นปฐมตกต่ําลงอยางมาก ทําใหหลายประเทศแกไขปญหาโดยการแขงขนักันลดคาเงนิของตนเอง เพื่อชะลอการนําเขา และเพื่อใหสินคาของตนสามารถสงออกแขงขันกับสนิคาอยางเดยีวกันของประเทศอื่นได บางประเทศก็แกปญหาโดยใชมาตรการกีดกนัทางการคาตาง ๆ เชน กําหนดโควตา มีขอกําหนดที่เขมงวดเกี่ยวกบัการนําเขาสินคา ซ่ึงสงผลใหปริมาณการคาระหวางประเทศหดตัวลง นอกจากนีย้ังมีการเปลี่ยนแปลงทศิทางการหมุนเวียนของเงินทนุภาคเอกชน โดยธนาคารพาณิชยสวนใหญไมมั่นใจในความมั่นคงของประเทศลูกหนี้ จึงพยายามถอนเงินออกจากประเทศที่คิดวาไมมีความมั่นคงเพียงพอ หรือออกจากสกุลเงินทีค่ิดวาจะมีการประกาศลดคาเงินกอนสกุลอ่ืนสงผลใหหลายประเทศตกอยูในภาวะขาดแคลนเงินทุน ซ่ึงเปนจุดเริ่มตนของภาวะเศรษฐกิจตกต่ําทั่วโลก (Great Depression) นอกจากนั้นความเสียหายที่เกิดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ก็ยิ่งทําใหภาวะเศรษฐกิจโลกทรุดลงไปอีก ดวยเหตนุี้ ประเทศตาง ๆ จึงไดรวมกันหาแนวทางปรับระบบเศรษฐกิจโลก เพื่อแกปญหาและปองกันความเสียหายทีจ่ะเกดิขึ้นอีก ทั้งนี ้ ในสวนของความผันผวนของการเคลื่อนยายเงินทุนนัน้ ไดจัดตั้งองคกรเพื่อตอบสนองดานเงินลงทุนระยะยาวขึ้นมาคือ ธนาคารโลก (IBRD) ตามมติของที่ประชุมที่เมือง Bretton Woods รัฐ New Hampshire สหรัฐอเมริกา เมื่อเดือนกรกฎาคม

Page 3: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

2

พ.ศ.2487 (1944) โดยธนาคารโลกเปดดําเนินการเมื่อ พ.ศ.2489 (1946) มีสํานักงานตั้งอยูทีก่รุงวอชิงตัน ดีซี สหรัฐอเมริกา (ปเดียวกับเริ่มเปดดําเนนิการขององคการ IMF) 1.2 วัตถุประสงคสําคัญของธนาคารโลก

ธนาคารโลกจัดตั้งขึ้นโดยมวีตัถุประสงคเพื่อดําเนินการชวยเหลือบรรดาประเทศที่กําลังพัฒนาใหสามารถยกระดับการครองชีพของประชากรในประเทศนั้น ๆ ใหดีขึ้นกวาเดมิ โดย 1. ใหความชวยเหลือเกีย่วกบัการลงทุนเพือ่ความเจริญทางเศรษฐกิจ ฟนฟูเศรษฐกิจที่ถูกทําลายไปในชวงสงคราม สงเสริมการพัฒนาและปรับปรุงการผลิต ตลอดจนการใชทรัพยากรในประเทศกําลังพัฒนา 2. สงเสริมใหสถาบันเอกชนลงทุนในโครงการพัฒนาของประเทศสมาชิก โดยธนาคาร โลกเปนผูค้ําประกัน หรือมีสวนรวมในการใหเงินกูและการลงทุนในรูปอื่น ๆ 3. สงเสริมการขยายการคาระหวางประเทศในระยะยาว และรักษาไวซ่ึงความสมดุลในดุลการชําระเงนิของประเทศสมาชิก โดยสงเสริมการลงทุนระหวางประเทศ 4. จัดหาเงนิกูหรือค้ําประกนัเงินกูสําหรับการกูยืมระหวางประเทศ เพือ่การลงทุนในโครงการในโครงการที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจสูง 1.3 สมาชิกภาพ หุน และคะแนนเสียง

1.3.1 สมาชิกภาพ ประเทศที่จะสมัครเปนสมาชิกของธนาคารโลกได จะตองเปนสมาชิกของกองทุนการเงินระหวางประเทศอยูแลว อํานาจการรับสมาชิกใหมอยูกับสภาผูวาการ ทั้งนี้ โดยมิไดคํานึงถึงระบบการเมืองและเศรษฐกิจของประเทศเปนสมาชิก ในปจจุบันสมาชิกของธนาคารโลกมีทั้งสิ้น 155 ประเทศ (ประเทศสุดทาย คือ สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย) 1.3.2 หุน ภาษาทางการของหุนในธนาคารโลก เรียกวา "Authorized capital" ธนาคารโลกมี Authorized capital เร่ิมแรก 10 พันลานดอลลาร โดยแบงออกเปน 100,000 หุน มูลคาหุนละ 100,000 ดอลลาร สรอ. (ตามมูลคาเมื่อป 2487) ตอมาไดมีการเพิ่ม Authorized capital หลายครั้งดวยกัน เพื่อใหสอดคลองกับกิจกรรมการกูยืมและการใหกูแกประเทศสมาชิกและจํานวนสมาชิกที่เพิ่มขึ้นของธนาคาร โดยธนาคารโลกไดเพิ่ม Authorized capital คร้ังหลังสุดเมื่อวันที่ 24 เมษายน 2531 ซ่ึงทําให Authorized capital ของธนาคารเพิ่มเปน 171.4 พันลานดอลลาร สรอ. แตจํานวนหุนที่ประเทศสมาชิกถือจะแตกตางกนัไปตามฐานะเศรษฐกิจและการคาของแตละประเทศ ปจจุบัน1 จํานวนหุนที่ประเทศสมาชิกบอกรับทั้งสิ้นเทากบั 1,133,013 หุน มีเงินคาหุนที่

Page 4: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

3

1 ขอมูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2533 จากรายงานในวันจัดประชุมกองทุนการเงินระหวางประเทศที่ประเทศไทยในการเพิ่มหรือลดทุนของธนาคาร และการแบงสรรรายไดสุทธิของธนาคารซึ่งกําหนดใหเปนอํานาจของสภาผูวาการโดยตรง เรียกชําระแลว ประมาณ 9.3 พันลานดอลลาร สรอ. ประเทศที่มีหุนอยูในธนาคารโลกจํานวนมากที่สุดไดแก สหรัฐอเมริกา ซ่ึงถือหุนรอยละ 15.65 ของหุนบอกรับทั้งหมด รองลงมาไดแก ญ่ีปุน รอยละ 9.03 เยอรมน ี รอยละ 6.97 สหราชอาณาจกัร รอยละ 6.68 และฝรั่งเศส รอยละ 5.32 1.3.3 คะแนนเสียง คะแนนเสียงของประเทศสมาชิกแตละประเทศขึน้อยูกับจํานวนหุนที่สมาชิกนัน้ถืออยู โดยเปนคะแนนเสยีงตามหุน ๆ ละ 1 เสียง รวมกับคะแนนเสียงพื้นฐานอกีประเทศละ 250 เสียง 1.4 การจัดองคกรและการบริหารงานของธนาคารโลก

องคกรการบริหารงานของธนาคารโลกประกอบดวย สภาผูวาการ คณะกรรมการ-บริหาร ประธานธนาคาร และเจาหนาที่ประจํา 1.4.1 สภาผูวาการ (Board of Governors) อํานาจสูงสุดในการบรหิารธนาคารโลกอยูที่สภาผูวาการ ซ่ึงประกอบดวยผูวาการ (Governors) และผูวาการสํารอง (Alternate Governors) ซ่ึงไดรับการแตงตั้งจากประเทศสมาชิกแตละประเทศในตาํแหนงละ 1 คน ตามปกติ จะไดแก รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง หรือผูวาการธนาคารกลางของประเทศสมาชิก หรือเจาหนาที่อ่ืนที่อยูในตําแหนงระดับเดยีวกัน ผูวาการแตละคนมีคะแนนเสียงตามคะแนนเสียงของแตละประเทศ โดยปกติสภาผูวาการจะประชุมเพียงปละครั้ง ในราวเดือนกนัยายน โดยจดัประชุม ณ กรุงวอชิงตัน 2 คร้ัง สลับกับสถานที่ในประเทศสมาชิก 1 คร้ัง และการประชุมในป พ.ศ. 2534 กาํหนดจะจดัขึน้ที่กรุงเทพฯ เพื่อพิจารณาผลการดําเนินงานและนโยบายของธนาคาร ในระหวางปถามีเร่ืองสําคัญที่จะตองลงมติจะจัดใหมกีารลงมติโดยทางไปรษณียหรือโทรเลข สวนการบริหารงานปกติจะมอบหมายใหคณะกรรมการ บริหารเปนผูดําเนินงานยกเวนเฉพาะการรับสมาชิกใหม การระงับสมาชิกภาพ อํานาจของสภาผูวาการโดยตรง 1.4.2 คณะกรรมการบริหาร (Executive Board) ทําหนาที่รับผิดชอบในการบริหารงานทั้งหมดของธนาคาร ตามนโยบายที่ไดรับมอบจากสภาผูวาการ ในปจจบุันคณะกรรมการบริหาร ประกอบดวย กรรมการบริหาร 22 คนเปนกรรมการบริหารที่ไดรับแตงตั้งโดยสมาชิกที่มหีุนมากที่สุด 5 ประเทศ ๆ ละ 1 คน คือ สหรัฐอเมริกา ญ่ีปุน เยอรมน ี สหราชอาณาจักร และฝรั่งเศส สวนกรรมการบริหารที่เหลือ 17 คน ไดรับการเลือกตั้งโดยประเทศสมาชิกที่เหลือใหทําหนาที่เปน

Page 5: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

4

ตัวแทนของกลุมสมาชิกที่เลือกตั้งตนขึ้นมาเปนกรรมการบริหารแตละคนจะมีคะแนนเสียงเทากับคะแนนเสียงทัง้หมดของประเทศที่แตงตั้งหรือเลือกตั้งมา กลุมสมาชิกของไทย ประกอบดวย พมา ฟจิ อินโดนีเซีย ลาว มาเลเซีย เนปาล สิงคโปร ไทย ตองกา และเวยีดนาม มีคะแนนเสียงรวมกันคิดเปนรอยละ 2.79 ของคะแนนเสียงทั้งสิ้น ไทยและมาเลเซียสลับกันแตงตั้งกรรมการบริหารเพื่อเปนตัวแทนของกลุมรวมบริหารงานในคณะกรรมการบริหาร ปจจุบันกรรมการบริหารของกลุม ไดแก นายวิบูลย อังสนันท 1.4.3 ประธานธนาคาร (President) ประธานธนาคารไดรับการคัดเลือกโดยคณะกรรมการบริหาร และเปนประธานคณะกรรมการบริหารโดยตําแหนง ประธานธนาคารเปนหัวหนาเจาหนาที่ของธนาคาร รับผิดชอบในการบริหารงานทั้งหมด ภายใตการแนะนําของคณะกรรมการบริหาร โดยมีวาระการดํารงตําแหนงคราวละ 5 ป แตมีสิทธิที่จะไดรับการคัดเลือกอีกวาระหนึ่ง สําหรับบุคคลที่จะไดรับการพิจารณาคัดเลอืกใหดํารงตําแหนงนี ้เปนทีเ่ขาใจกนัระหวางประเทศสมาชิกวา ไดแก ชาวอเมริกัน (ชาวยุโรปจะไดรับแตงตั้งใหดํารงตําแหนงกรรมการจัดการ Managing Director ในกองทุนการเงินระหวางประเทศซึ่งเปนตําแหนงเทียบเทากัน) ประธานธนาคารโลกคนปจจุบัน (คนที่ 7) ไดแก นาย Barber B. Conable ซ่ึงจะพนจากตําแหนงในปนี้ และนาย Lewis Thompson Preston ซ่ึงเคยเปนประธานกรรมการของ J.P.Morgan and Morgan Guaranty Trust Company จะเขาดํารงตําแหนงแทน โดยจะเขารับผิดชอบตั้งแตเดือนกันยายน 2534 เปนตนไป และมีตาํแหนงรองประธานอาวุโส 3 คน รับผิดชอบในสายงานนโยบาย วิจัย ตางประเทศปฏิบัติการ และการเงิน 1.4.4 เจาหนาที่ประจํา (Staff) ดานการจดัองคงานธนาคารโลกแบงสายงานออกเปน 7 สายงาน คือ ดานการเงิน ปฏิบัติการ เศรษฐกิจและวิจยั การพนักงานและธุรการ วิเทศสัมพันธ กฏหมายและเลขานุการ ธนาคารโลกมีเจาหนาทีแ่ละพนักงานทั้งสิน้กวา 6,000 คน ซ่ึงเปนผูที่มีความรูความสามารถจากประเทศตาง ๆ กวา 100 ประเทศ 1.5 แหลงท่ีมาของเงินทุน

แหลงที่มาของทุนของธนาคารโลกมาจากแหลงทุนสําคัญ 3 แหลง คือ 1.5.1 เงินคาหุน ธนาคารโลกใชเงินทุนทีเ่รียกชําระแลวในการดําเนินงานของ� ธนาคาร โดยปจจุบันสมาชกิไดบอกรับหุนเปนเงินทีเ่รียกชําระแลวประมาณรอยละ 7 (ประมาณ 9.3 พันลานดอลลาร สรอ.)

Page 6: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

5

1.5.2 เงินกูยืม ทรัพยากรสวนใหญที่ธนาคารโลกใหกูแกประเทศสมาชิก ไดมาจาก การกูยืมในตลาดเงินทุนดวยการออกพันธบัตรทั้งในรูปของการออกขายทั่วไป (public issues) และการวางขายเฉพาะ (private placements) ในตลาดเงินทนุของประเทศสมาชิก นอกจากนี้ธนาคาร โลกไดหาทางเพิ่มทรัพยากรของตน โดยการออกตั๋วซ้ือลด ซ่ึงเปนตัว๋ที่มีอายุส้ันกวาอายุพนัธบัตรที่ขายในตลาดสหรัฐอเมริกา ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มความคลองตัวในการกูยืมในชวงที่ธนาคารโลกตองการเงินกูมาก ยอดการกูยืมคงคางของธนาคารโลก ณ ส้ินเดือนธนัวาคม 2533 มีจํานวนทั้งสิ้นประมาณ 93.7 พันลานดอลลาร สรอ. ซ่ึงในจํานวนนี้เปนการกูยืมระยะสั้นประมาณ 5.2 พันลานดอลลาร สรอ. หรือเทากับรอยละ 5.6 ของยอดกูยืมทั้งหมด 1.5.3 รายไดสุทธ ิ นับแตป พ.ศ. 2491 ธนาคารโลกมีกําไรจากการดําเนินงานมาตลอด ซ่ึงรายไดสวนนี้นําไปใชเปนเงนิสํารองเพิ่มเติม และที่เหลือจากการสํารองโอนไปเปนเงนิทุนของสมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ (IDA) ในปงบประมาณ 2533 ธนาคารโลกมีรายไดสุทธิประมาณ 1.0 พันลานดอลลาร สรอ. รวมเปนรายไดสะสม (Reserve) ประมาณ 9.2 พันลานดอลลาร สรอ. 1.6 นโยบายการใหกูของธนาคารโลก

ธนาคารโลกทําหนาที่ระดมเงินจากประเทศที่รํ่ารวย มาใหประเทศยากจนกูยืม โดยใหกูแกรัฐบาลของสมาชิกหรือองคการของรัฐบาลหรือเอกชนในประเทศสมาชิก ซ่ึงมีรัฐบาลค้ําประกันเงินกู ในระยะทีจ่ัดตัง้ขึ้นใหม ๆ ธนาคารมีนโยบายใหกูเพื่อพัฒนาประเทศในยุโรปที่ไดรับ ความเสียหายจากสงครามโลกครั้งที่สอง ในชวงทศวรรษที่สองและสาม ธนาคารใหความสําคญัแกการพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน ไดแก การคมนาคม และการพลังงาน เปนตน และการพัฒนาคุณภาพชีวิต ไดแก การสาธารณสุขในประเทศยากจน ในชวงทศวรรษที่ส่ี คือตั้งแตประมาณป พ.ศ. 2523(1980) เปนตนมา ภาวะเศรษฐกิจโลกประสบความผันผวนหลายประการ ทั้งในดานราคาน้ํามัน ราคาสินคาออกขั้นปฐม อัตราดอกเบี้ย และอัตราแลกเปลี่ยนเงนิตราระหวางประเทศ ซ่ึงเปนอุปสรรคในการพัฒนาประเทศยากจน ในชวงเวลาดังกลาวธนาคารจึงใหความสําคัญแกเงินกูเพือ่การปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจของประเทศสมาชิก ใหเศรษฐกจิดาํเนินไปอยางมีประสิทธิภาพสูงขึ้น และทันตอการเปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกจิโลก ซ่ึงเงินกูดงักลาวมักจะมเีงื่อนไขทางดานการดําเนินนโยบายเศรษฐกจิในประเทศสมาชิกเกีย่วโยงอยูดวยเสมอ

Page 7: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

6

นอกจากการใหกูแกโครงการใดโครงการหนึ่ง (Project lending) แลว ธนาคารยังใหกูแบบไมใชโครงการ (Non-project Lending) ไดในกรณทีี่มีความจําเปนที่จะฟนฟแูละบูรณะเศรษฐกิจของประเทศสมาชิกที่ประสบกับภัยธรรมชาติ สงคราม การนําเขาปจจยัการผลิตที่ทําใหมีการใชประสิทธิภาพการผลิตอยางเต็มที่ การลดลงในรายไดจากการสงออกโดยเฉพาะการพึ่งสินคาออกชนดิเดียว และกรณีที่ประเทศสมาชิกมีราคาสินคาเขาออกเปรียบเทยีบ (Terms of Trade) ลดลงอยางรวดเรว็เพราะราคาสินคานําเขาเพิ่มขึน้ ในป 2523 ธนาคารโลกไดขยายขอบเขตของการใหกูแบบไมใชโครงการออกไปใหครอบคลุมถึงการใหกูเพื่อปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจ (Structural Adjustment Lending - SAL) ดวย ทั้งนี้เพื่อใหความชวยเหลือแกประเทศกําลังพฒันาที่ประสบปญหาการขาดดุลการชําระเงนิอยางรุนแรง โดยใหประเทศสมาชิกดําเนนินโยบายเศรษฐกิจเพื่อแกไขฐานะดุลการชําระเงินใหอยูในระดับที่เหมาะสมภายในระยะเวลา 3-5 ป ภายหลังจากนั้น ในป 2526 ธนาคารโลกไดรวมการใหกูเพื่อปรับโครงสรางทางเศรษฐกิจเขาอยูในโครงการชวยเหลือพิเศษ (Special Assistance Program) ซ่ึงเปนโครงการที่จัดตั้งขึ้นเพื่อชวยประเทศกําลังพัฒนาในการพัฒนาเศรษฐกิจในชวงที่สถานการณเศรษฐกิจภายนอกไมอํานวย โดยใหคําแนะนําดานนโยบายและชวยเหลือทางการเงินเปนพิเศษ โครงการดังกลาวนี้ประกอบดวยมาตรการเรงรัดการเบิกจายเงนิใหกู และใหความสําคัญแกการอนุมัติเงินกูสําหรับโครงการที่ใหผลตอบแทนโดยเรว็ (Fast yielding) นอกจากการใหกูดวยตนเองแลว ธนาคารโลกยังมีนโยบายใหกูรวมกบัสถาบันอื่น ๆ หรือที่เรียกวา Co-financing ซ่ึงไดแก การใหกูแกโครงการใดโครงการหนึ่งแตเพียงบางสวนของรายจายทั้งหมด ที่เหลือจะใหสถาบันอื่น เชน ทางการสถาบันสินเชื่อเพื่อการสงออก และสถาบันการเงินเอกชน เขามารวมใหกู การใหกูแบบนี้จะสามารถเพิ่มพูนเงินกูที่ประเทศกําลังพัฒนาจะไดรับ เนื่องจากการที่ธนาคารโลกเปนผูประเมินโครงการใหโดยละเอียดถ่ีถวน และเขามามีสวนรวมในการใหกู ทําใหสถาบันเอกชนยินยอมใหกูแกโครงการดังกลาว ทั้งยังอาจคิดคาปวยการนอยกวาในกรณีทีไ่มไดเปนการใหกูรวมกับธนาคารโลกอีกดวย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2533 ธนาคารโลกไดใหเงนิกูแกประเทศสมาชิกไปทั้งสิ้นเปนเงินประมาณ 144 พันลานดอลลาร สรอ. เปนยอดเงินกูคงคางประมาณ 97 พันลานดอลลาร สรอ. 1.7 เงื่อนไขเงนิกูของธนาคารโลก

ปจจุบันธนาคารโลกกําหนดอัตราดอกเบี้ยเงินใหกูทุก 6 เดือน เพื่อโอนความผันผวนใน

Page 8: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

7

อัตราดอกเบี้ยไปยังประเทศผูกูโดยตรง โดยคิดคํานวณจากตนทุนเฉลี่ยของเงินกูทั้งหมดของธนาคารบวกดวยสวนตางรอยละ 0.5 สําหรับอัตราดอกเบี้ยในปจจุบัน คือในชวง 1 มกราคม - 30 มิถุนายน 2534 เทากับรอยละ 7.73 ระยะเวลาเงินกูมอีายุประมาณ 15-20 ป รวมทั้งระยะปลอดหนี้ 5 ป 1.8 กิจกรรมอื่น ๆ ของธนาคารโลก นอกจากการใหกูยืมแกประเทศสมาชิกแลว ธนาคารโลกยังดําเนินกิจกรรมอื่น ๆ อีก ดังนี ้ 1.8.1 การประสานนโยบายใหความชวยเหลือแกประเทศกําลังพัฒนา ทั้งนี้ โดยจัดใหมีการประชุมระหวางหนวยงานตาง ๆ ที่มีสวนเกีย่วของกับการใหความชวยเหลือแกประเทศสมาชิกบางประเทศเปนประจําป ทั้งที่เปนสถาบันตางประเทศ สถาบันในภูมภิาค และหนวยงานของประเทศผูใหความชวยเหลือตาง ๆ เชน กองทุนการเงินระหวางประเทศ และองคการความรวมมือทางเศรษฐกิจเพื่อการพฒันา (OECD) เปนตน เพื่อประสานความชวยเหลือของประเทศพัฒนาแลวที่มตีอประเทศกําลังพัฒนาประเทศใดประเทศหนึ่ง ใหเปนไปในทิศทางเดยีวกัน เชน มิใหมีเงื่อนไขของเงินกูที่ขัดแยงกัน เปนตน 1.8.2 การรวมมือกับองคการอาหารและเกษตรของสหประชาชาติ (FAO) และโครงการพัฒนาการของสหประชาชาติ (UNDP) ใน Consultative Group on International Agricultural Research (CGIAR) เพื่อสนับสนุนการวจิัยเกีย่วกับการเกษตร โดยมีวตัถุประสงคเพื่อเพิ่มผลผลิตในประเทศกําลังพัฒนา 1.8.3 การใหความชวยเหลือทางวิชาการแกสมาชิก 1.8.4 การดําเนินงานวิจยัของธนาคารเอง 1.9 ความสัมพันธระหวางธนาคารโลกกับประเทศไทย

ประเทศไทยไดเขาเปนสมาชิกธนาคารโลก เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2492 ณ ส้ินเดือนธันวาคม 2533 ไทยถือหุนในธนาคารโลกทั้งสิ้น เปนจาํนวน 3,563 หุน คิดเปนมูลคา 430 ลาน-ดอลลาร สรอ. หรือรอยละ 0.34 ของหุนทั้งหมด และมคีะแนนเสียง 3,813 เสียงหรือรอยละ 0.35 ของคะแนนเสียงทั้งหมด ประเทศไทยไดรับเงินกูจากธนาคารโลกครั้งแรก เมื่อป 2493 เปนจํานวน 21 ลานดอลลาร สรอ. เพื่อใชในโครงการกอสรางทางรถไฟและการชลประทาน และจนถึงสิ้นเดอืน

Page 9: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

8

ธันวาคม 2533 ประเทศไทยมีวงเงนิกูกับธนาคารโลกประมาณ 2.9 พนัลานดอลลารสรอ. และยังเปนหนี้ธนาคารโลก ประมาณสองพันลานดอลลาร สรอ. สวนใหญเปนเงินกูในโครงการดานโครงสราง เชน การชลประทาน การพลังงาน การคมนาคม และโทรคมนาคม แตก็มีโครงการอยางอ่ืนดวย เชน การศึกษา การประปา การพัฒนาเมือง การเกษตร และการพัฒนาชนบท เปนตน สําหรับเงินกูเพื่อปรับปรุงโครงสรางทางเศรษฐกิจระยะยาว (Structural Adjustment Loans หรือ SAL) นั้น ไทยไดขอกูเงิน SAL จากธนาคารโลกเปนครั้งแรก ในป 2524 เพื่อใชในการปรับปรุงโครงสรางทางเศรษฐกิจตามแผนงานที่จัดทําไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาต ิฉบับที่ 5 ระหวางป 2524-2529 โดยมีขอบขายครอบคลุมใน 5 สาขาหลัก คือ การคลัง การเกษตร การอุตสาหกรรม การพลังงาน และการปรับปรุงสถาบันเงินกูดังกลาวไดรับการอนมุัติจากธนาคาร โลก 2 คร้ัง ในครั้งแรก (SAL I) เมื่อเดือนมีนาคม 2525 จํานวน 150 ลานดอลลาร สรอ. โดยมีอัตราดอกเบี้ยรอยละ 11.6 ตอป เร่ิมเบิกใชในเดอืนพฤษภาคม 2525 และเบกิใชหมดในเดอืนกรกฎาคม ปเดียวกัน การกูคร้ังที่ 2 (SAL II) เมื่อเดือนเมษายน 2526 จํานวน 175.5 ลานดอลลาร สรอ. อัตราดอกเบี้ยเร่ิมตน รอยละ 10.97 ตอป และเปลี่ยนแปลงทุก ๆ 6 เดอืน เร่ิมเบิกใชในเดือนมิถุนายน และเบิกใชหมดในเดือนกนัยายน 2526 สํานักงานตัวแทนธนาคารโลกสวนภูมิภาค (The World Bank Regional Mission in Bangkok) ตั้งอยูที่อาคารอุดมวิทยา ถนนพระราม 4 กรุงเทพฯ โดยมนีาย Philippe E" Annez เปนผูแทนธนาคารโลกสวนภูมภิาค (chief) 1.10 สถาบนัในเครือของธนาคารโลก

1.10.1 สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ (International Development Association หรือ IDA) จัดตั้งขึน้เมื่อเดือนกันยายน 2503 ตามขอเสนอของสหรัฐอเมริกาในป 2501 ที่ใหมกีารจัดตั้งสถาบันเพื่อใหความชวยเหลือในเงื่อนไขผอนปรนแกประเทศที่มีรายไดต่ํา เพื่อชวยบรรเทาปญหาภาระหนี้ของประเทศเหลานี้ สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศเปนสถาบันในเครือของธนาคารโลก และมีเจาหนาที่รวมกับธนาคารโลก สมาชิกภาพของสมาคมพัฒนาการระหวางประเทศเปดใหแกประเทศทีเ่ปนสมาชิกของธนาคารโลกทุกราย ปจจุบันสมาคมฯ มีสมาชิก 139 ประเทศ โดยแบงออกเปน 2 ประเภท คือ

Page 10: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

9

ก. สมาชิกประเภท 1 ("Part I") ไดแก ประเทศพัฒนาแลวที่มีฐานะทางการเงินและเศรษฐกิจดี ซ่ึงเปนประเทศผูใหประโยชน สมาชิกแรกเริม่มี 17 ประเทศ ปจจุบนัมี 22 ประเทศ กําหนดใหชําระคาสมาชิกทั้งหมดเปนเงินตราที่พึงแลกเปลี่ยนไดเพื่อนํามาใหกูอีกตอหนึง่ ข. สมาชิกประเภทสอง ("Part II") ไดแก ประเทศกําลังพัฒนาและเปนประเทศผูรับประโยชน แรกกอตั้งมี 51 ประเทศ ปจจบุนัมี 117 ประเทศ กําหนดใหชําระคาสมาชิกเพียงรอยละ 10 ของคาสมาชิกของตนเปนเงนิตราพึงแลกเปลี่ยนได สวนที่เหลืออีกรอยละ 90 ใหชําระเปนเงนิตราของแตละประเทศสมาชิก ซ่ึงสมาคมจะนําออกใหกูไดก็ตอเมือ่ไดรับความยนิยอมจากประเทศสมาชิกเจาของเงินตรานั้นกอนเทานั้น

1.10.2 แหลงที่มาของเงินทุน แหลงที่มาของเงินทุนของสมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ ไดจากคาหุน

(Subscription) เงินบริจาคเพิ่มเติมจากประเทศร่ํารวยเปนครั้งคราว เงินบริจาคสมทบพิเศษโดยสมาชิกบางประเทศ การโอนรายไดจากธนาคารโลก และรายไดสุทธขิองสมาคมพัฒนาการ ณ ส้ินเดือนธันวาคม 2533 สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศมีทรัพยากรทั้งสิ้นประมาณ 74.0 พันลานดอลลาร สรอ. ซ่ึงสวนใหญไดมาจากเงนิคาหุนและเงนิบริจาคของสมาชิกสมาคมฯ จํานวน 66.2 พันลานดอลลาร สรอ. สวนที่ไดรับจากธนาคารโลกในรูปของการใหเปลา มีจํานวนประมาณ 2.8 ลานดอลลาร สรอ. การเพิ่มทุนครัง้ลาสุด เปนการบริจาคจากประเทศผูบริจาค 31 ประเทศ ในชวงป 2534 - 2536 จํานวน 11.7 พันลานสิทธิพิเศษถอนเงิน ประมาณครึ่งหนึ่งของเงินจาํนวนนี้ นําไปใชในการพัฒนาประเทศยากจนในภูมิภาค Sub-Saharan Africa และอีกรอยละ 30 ของเงินบริจาคนั้นจะนําไปใหกูแกอินเดียและจีน โดยใหกูรวมกับเงินกูปกติของธนาคารโลก 1.10.3 คะแนนเสียง คะแนนเสียงของสมาชิกขึ้นอยูกับจํานวนคาสมาชิก ซ่ึงกําหนดคะแนนเสียงขั้นแรกไว 500 เสียง บวกอีก 1 คะแนน สําหรับคาสมาชิกทุก ๆ 5,000 ดอลลาร สรอ. ประเทศที่มีคะแนนเสียงมากที่สุดในกลุมสมาชิกประเภทที่ 1 ไดแก สหรัฐอเมริกา (17.22) ญ่ีปุน (9.63) เยอรมนี (6.93) และสหราชอาณาจักร (5.68) สวนกลุมสมาชิกประเภทที่ 2 ที่มีคะแนนเสียงมากที่สุด ไดแก ซาอุดิอาระเบีย (3.28) อินเดยี (3.17) และโปแลนด (2.45) ตามลําดับ 1.10.4 การใหเงินกู สมาคมพัฒนาการระหวางประเทศใหเงินกูแกรัฐบาล รัฐวิสาหกจิ เอกชนที่รัฐบาลเปนผูค้ําประกันในประเทศกําลังพัฒนา ซ่ึงในทางปฏิบัติสมาคมพัฒนาการระหวางประเทศจะใหสินเชื่อ

Page 11: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

10

แกรัฐบาลของประเทศสมาชิกกําลังพัฒนาที่มีรายไดตอบคุคลไมเกิน 1,135 ดอลลาร สรอ. ตอป และมักเปนประเทศที่มีฐานะไมดีพอที่จะไดรับเงินกูจากธนาคารโลก สําหรับประเทศที่มีรายไดต่ํามาก มีกําหนดชําระคนื 40 ป รวมทั้งระยะปลอดหนี้ 10 ป และไมมีดอกเบีย้แตตองเสยีคาบริการในอัตรารอยละ 0.75 ตอป สําหรับเงินเครดิตทีไ่ดเบิกจายแลว และคาผูกพันวงเงนิรอยละ 0.5 สําหรับเงินเครดิตที่ยังไมไดเบิกจาย อยางไรก็ตาม หลักเกณฑอ่ืน ๆ เกี่ยวกบัการประเมินโครงการและการติดตามโครงการใชหลักเกณฑเดียวกับธนาคารโลก เงินกูของสมาคมพัฒนาการระหวางประเทศสวนใหญ ไดแก โครงการที่เปนโครงสรางพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เชน ถนน รถไฟ ไฟฟา ชลประทาน การศึกษา โทรศัพท และการอุตสาหกรรมเปนตน สวนทีเ่หลือไดใหแกการสั่งสินคาเขาประเภทอุตสาหกรรม รถเครื่องจักร และปจจยัอุตสาห-กรรมที่สําคัญ ๆ อ่ืน ๆ เพื่อใชในการเพิ่มผลผลิตของอุตสาหกรรมที่มีอยูในประเทศ และจําเปนตองอาศัยเงินกูแบบผอนปรนจากสมาคมพัฒนาการฯ นี้ นอกจากใหเงินกูแลวยังไดใหความชวยเหลือทางดานวิชาการแกโครงการเฉพาะอีกดวย นับตั้งแตเร่ิมดาํเนินงานมาจนถึงวันที่ 30 มิถุนายน 2533 สมาคมพัฒนาการระหวาง ประเทศ ไดอนุมัติเงินกูไปแลวทั้งสิ้นจํานวนประมาณ 45 พันลานดอลลาร สรอ. ประเทศไทยไดเขาเปนสมาชิกสมาคมพัฒนาการระหวางประเทศ เมื่อป 2503 เคยไดรับอนุมัติเงนิกูจํานวนรวม 125 ลานดอลลาร สรอ. สําหรับโครงการพัฒนา 7 โครงการ สวนใหญเปนโครงการเพื่อการเกษตร และการศึกษา อยางไรก็ตาม นับตั้งแตป 2523 เปนตนมา ประเทศไทยมีรายไดตอบุคคลมากเกินกวาขอกําหนดของสมาคม จึงไมมีสิทธิไดรับเงินกูเงื่อนไขผอนปรนจากสมาคม

เงินกูคงคางของไทยกับธนาคารโลกและ IDA ณ ส้ินเดือนธันวาคม 2533

(ลานดอลลาร สรอ.) IBRD IDP 1. สาขาพลังงาน 673 2. สาขาเกษตร 403 33 3. สาขาคมนาคม 326 - 4. สาขาสาธารณูปโภค 79 - 5. สาขาการศึกษา 33 49 6. สาขาอุตสาหกรรม 25 - 7. สาขาพัฒนาชุมชน 59 -

Page 12: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

11

8. สาขาสาธารณสุข - 29 9. อ่ืน ๆ 146 - รวม 1,744 111 1.10.4 บรรษัทการเงินระหวางประเทศ บรรษัทการเงินระหวางประเทศ (International Finance Corporation หรือ IFC) เปนสถาบันการเงินในเครือธนาคารโลก ที่ตั้งขึ้นในป 2499 มีวัตถุประสงคเพื่อสงเสริมการขยายตัวทางการลงทุนในภาคเอกชน และสนับสนุนธุรกิจภาคเอกชนที่จะมีสวนในการพัฒนาเศรษฐกจิของประเทศกําลังพัฒนา โดยการใหความชวยเหลือดานการเงิน เทคนิค และดานการจัดการที่จําเปนในการพัฒนาโอกาสลงทุนในประเทศกาํลังพัฒนา ทั้งนี ้ บรรษัทการเงินระหวางประเทศทําหนาทีใ่หเงินกูทั้งในรูปของเงินใหกูโดยตรงและการให Syndicated loans รวมกับธนาคารพาณิชย รวมถึงการถือหุนในกิจการ (Equity investment) กับภาคเอกชนโดยไมจําเปนตองมีรัฐบาลเปนผูค้ําประกันใหแตประการใด 1.10.5 สมาชิกภาพ ทนุ ปจจุบันสมาชิกของบรรษัทการเงินระหวางประเทศ มีจํานวน 140 ประเทศ (ประเทศที่จะสมัครเปนสมาชิกจะตองเปนสมาชิกของธนาคารโลกกอน) การคํานวณคะแนนเสียงใชวิธีเดยีวกับธนาคารโลก กลาวคือ สมาชิกแตละประเทศจะมีคะแนนเสียงพื้นฐาน 250 เสียงบวกดวยคะแนนเสียงตามหุน ๆ ละ 1 เสียง การบริหารงานบรรษัทการเงินระหวางประเทศ มีประธานธนาคารโลกเปนประธานคณะกรรมการบริหารของบริษัทฯ โดยตําแหนง และมพีนักงานเจาหนาที่แยกตางหากจากธนาคารโลก เงินทุนเริ่มแรกของบรรษัทฯ มีจํานวน 100 ลานดอลลาร สรอ. ตอมาไดมีการเพิ่มทุนหลายครั้ง จนปจจุบันมีทนุเปนจํานวน 1,300 ลานดอลลาร สรอ. เงินทุนที่ใชในการกูยืมและการรวมลงทุน (Equity) ของบรรษัทฯ นอกจากจะไดจากเงินทุนที่เรียกชําระแลวเปนสวนใหญ ยังไดจากเงินกูยมืจากธนาคารโลก รายไดสะสมและเงินกูยืมจากสถาบันการเงินระหวางประเทศอื่น ๆ ในปริมาณลดหลั่นตามลําดบั 1.10.6 งานในหนาที่ของบรรษัทการเงินระหวางประเทศ (1) การลงทุนโดยตรง โดยอาศัยการพจิารณาหลักเกณฑ 3 ประการคือ (ก) โครงการนั้นจะมทีางไดผลกาํไรหรือไม (ข) โครงการนั้นจะเปนประโยชนแกเศรษฐกิจของประเทศซึ่งเปนที่ตั้งหรือไม และ (ค) นักลงทุนในทองถ่ินจะมีโอกาสเขา

Page 13: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

12

รวมลงทุนดวยหรือไม นอกจากนี้ โครงการดังกลาวตองเปนโครงการที่ไมสามารถหาทรัพยากรการเงินไดโดยสะดวกในเงื่อนไขที่พอสมควร มีแผนการเกี่ยวกับการเงนิที่เหมาะสม มีตลาดสําหรับขายสินคาที่จะผลิต และมีผูบริหารที่มีประสิทธิภาพ เปนตน (2) การ underwrite หุนที่บริษัทตาง ๆ นําออกขาย (3) การใหคําแนะนําเกี่ยวกับวิธีการระดมเงินทนุจากตลาดและการขอความชวยเหลือทางการเงิน (4) การลงทุนในบรรษัทเงินทุนเพื่อการพัฒนาของประเทศตาง ๆ (5) การขายหุนที่ตนถืออยูแกนักลงทุนอื่น ๆ เมื่อถึงเวลาอันสมควร การใหความชวยเหลือทางการเงินของบริษัทฯ สวนใหญจะประกอบดวยทั้งการลงทุน ซ้ือหุนของกิจการใดกิจการหนึ่ง และการใหกูระยะยาวในเงือ่นไขที่ขึ้นอยูกับโครงการแตละราย แตสวนใหญจะมีอายุ 7-12 ป ระยะเวลาปลอดหนี้โดยเฉลี่ย 3 ป อัตราดอกเบี้ยขึ้นกับอตัราดอกเบี้ยตลาด และมีคาผูกพนัเงินกูรอยละ 1 สําหรับจํานวนเงินที่ยังไมไดเบิกถอน ในปจจุบันการใหกูและการรวมหุนของบรรษัทการเงินระหวางประเทศ มีจํานวนเงินประมาณ 1.7 พันลานดอลลาร สรอ. โดยใหกูและรวมทุนกับบริษทัเอกชนในประเทศกําลังพัฒนากวา 70 ประเทศ เทาที่ผานมาการใหกูและรวมทุนของบรรษัทฯ สวนใหญอยูในภาค อุตสาหกรรม โดยเฉพาะอุตสาหกรรมซีเมนตและวัสดุกอสราง รองลงมาไดแก สถาบันการเงินในตลาดทุน การเหมืองแร ธุรกิจการเกษตร และการบริการ เชน อุตสาหกรรมโรงแรม บริษัททองเที่ยว เปนตน แตในปจจุบนับรรษัทฯ เนนที่จะเพิ่มสดัสวนการใหกูและการรวมทุนในดานการพลังงาน การเกษตรกรรม และอุตสาหกรรมการเกษตร โดยเฉพาะอยางยิ่งการผลติอาหาร นอกจากนี้ เพื่อเปนการปรับตัวใหรองรับความตองการที่เปล่ียนไปของประเทศสมาชิก และจากภาวะ-การณปจจุบันในตลาดการเงนิ บรรษัทฯ ไดใหความชวยเหลือมากขึ้นแกสถาบันและหนวยงานตาง ๆ ของประเทศกําลังพัฒนาเพือ่ใหเขาถึงตลาดเงินระหวางประเทศ ประเทศเปนสมาชิกของบริษัทฯ โดยถือหุน 5,510 หุน ณ 31 ธันวาคม 2533 คิดเปนรอยละ 0.49 ของจํานวนหุนทั้งหมด และมีคะแนนเสียงคิดเปนรอยละ 0.49 ของคะแนนเสียงทั้งหมด บรรษัทการเงินระหวางประเทศไดเขามามีสวนในดานการลงทุนภาคเอกชนในประเทศไทยเปนครั้งแรก เมื่อป 2512 และไดมีสวนในการใหกูยืมเงินและรวมทนุกับภาคเอกชนของไทยเพิ่มขึ้น ณ 31 มีนาคม 2534 คิดเปนเงินทั้งสิ้นประมาณ 600 ลานดอลลาร สรอ. แยกเปนเงินใหกูยืม 501 ลานดอลลาร สรอ. และรวมทุนเปนหุน 99 ลานดอลลาร สรอ. โดยลงทุนในบริษัทตาง ๆ ในประเทศไทย เชน บริษัทปูนซีเมนตนครหลวง ไทยแลนดแทนทาลัม อุตสาหกรรมแกว โรงพยาบาลพญาไท และบริษัทกองทุนรวม จํากดั เปนตน

Page 14: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

13

1.11 ศูนยระหวางประเทศเพื่อระงับขอพิพาทเกี่ยวกับการลงทุน

ศูนยระหวางประเทศเพื่อระงบัขอพิพาทเกีย่วกับการลงทนุ (International Centre for Settlement of Investment Disputes หรือ ICSID) จัดตั้งขึ้นโดยการสนับสนุนของธนาคารโลก มีอํานาจพิจารณาขอพิพาททางดานกฎหมายอันเกิดจากการลงทุนระหวางรัฐกับเอกชน โดยประเทศผูเขารวมโครงการจะตองเขาเปนภาคีอนุสัญญาวาดวยการระงับขอพิพาทเกี่ยวกับการลงทุนระหวางรัฐและคนชาตขิองรัฐอื่น ๆ (Convention on the Settlement of Investment Disputes between States and Nationals of Other States) อนุสัญญาดังกลาวเริ่มมีผลใชบังคับตั้งแตวันที่ 14 ตุลาคม 2509 เพื่อทําหนาที่เตรียมการและ อํานวยความสะดวกในการไกลเกลี่ย (Conciliation) และชี้ขาด (Arbitration) ขอพิพาทเกีย่วกับการลงทุนระหวางรัฐกับคนชาติของรัฐอื่น โดยถือหลักความยินยอมของคูพิพาทเปนเกณฑ ปจจุบันศูนยระหวางประเทศฯ มีภาคีซ่ึงใหการรับรองอนุสัญญาแลว รวม 105 ประเทศ (ประเทศสุดทาย คอื เกรนาดา ไดรับรองอนุสัญญาและใหสัตยาบันแกอนสัุญญาดวยเมือ่ 24 พฤษภาคม 2534) แตสมาชิกที่สมบูรณโดยใหสัตยาบนัแกอนุสัญญาแลว มี 94 ประเทศ (ประเทศสุดทาย คือ เกรนาดา) สําหรับประเทศไทยนัน้ ไดมีการพิจารณาเพื่อเขารวมเปนภาคีอนสัุญญานี้หลายครั้งจนเมื่อวนัที่ 23 กรกฎาคม 2528 คณะรัฐมนตรีไดมีมติอนุมัติใหไทยสมัครเขาเปนภาคีศูนยฯ ดังกลาวตามขอเสนอของกระทรวงการตางประเทศ แตที่ประชุมคณะทํางานยกรางพระราชบัญญัติใหอํานาจกระทรวงการคลังปฏบิัติการเกี่ยวกับศูนยระหวางประเทศวาดวยการระงับขอพิพาทเกีย่วกับการลงทุนระหวางรัฐและเอกชน เหน็พองกันที่จะใหมกีารศึกษาในรายละเอียดวาการจะกําหนดขอสงวนในการยอมรับอํานาจการปฏิบัติการของศูนยอยางไร จึงมีมติใหแตงตั้งผูแทนจากกระทรวงการตางประเทศ และกระทรวงอุตสาหกรรมเขารวมในคณะทํางานเพิ่มเติม เนื่องจากเปนเรื่องที่เกี่ยวกับการดําเนินนโยบายดานตางประเทศ และการดําเนินโครงการลงทุนภาคอุตสาหกรรมเปนสําคัญ จนกระทั่งปจจบุันยังไมมขีอสรุปเพิ่มเติม ไทยจึงยังไมไดสมัครเขาเปนภาคีของศูนยฯ ดังกลาว 1.12 สถาบนัค้ําประกันการลงทุนแบบพหุภาค ี

Page 15: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

14

สถาบันค้ําประกันการลงทุนแบบพหุภาค ี (The Multilateral Investment Guarantee หรือ MIGA) เปนหนวยงานที่ทําหนาที่ค้าํประกันการลงทุนในระดับพหุภาคี ที่ไดรับการจัดตั้งอยางเปนทางการ เมื่อวันที่ 12 เมษายน 2531 หลังจากที่ไดมีการรางและลงนามในอนุสัญญาจัดตั้ง ตั้งแตป 2528 นับเปนองคกรใหมลาสุดในเครือธนาคารโลก (World Bank Group) ซ่ึงมีสถานะทางกฏหมายและการบัญชีแยกเปนเอกเทศจากธนาคารโลก ประธานของธนาคารโลก โดยตําแหนงเปนประธานของ MIGA ดวยเชนกัน 1.12.1 วัตถุประสงค วตัถุประสงคหลักในการจดัตัง้ MIGA คือการสงเสริมใหมีการเคลื่อนยายเงนิลงทุนเพื่อโครงการที่เปนประโยชนแกประเทศกําลังพัฒนา โดยการประกันความเสี่ยงที่ไมเกีย่วกับการพาณิชย และเนนการประกันความเสี่ยงทางการเมืองเปนสําคัญ (Long-term political risk insurance) ใหแกผูลงทุน พรอมทั้งการใหคําแนะนําและใหบริการทีป่รึกษาแกผูลงทุน ณ ส้ินมิถุนายน 2533 มีสมาชิก 58 ประเทศ จากจํานวนประเทศที่ไดลงนามในสนธิสัญญาจัดตั้งทั้งหมด 85 ประเทศ ที่ไดใหสัตยาบันแกอนุสัญญา Convention Establishing the Multilatieral Investment Guarantee Agency เรียบรอยแลว อยางไรก็ตาม ประเทศไทยยงัไมไดเขาเปนสมาชิกขององคกรดังกลาว 1.12.2 การเขาเปนสมาชิก การเขาเปนสมาชิก MIGA กระทําไดโดย 1. การลงนาม และใหสัตยาบนัอนุสัญญาฯ พรอมทั้งดําเนนิมาตรการที่จาํเปนภายใตกฏหมายทองถ่ิน ใหรัฐบาลสามารถดําเนินตามเงื่อนไขทุกขอของอนุสัญญาฯ 2. การซื้อหุน (Subscribe) ของ MIGA ตามมูลคาที่ตราไว ตามสัดสวนที่กําหนดไวสําหรับแตละประเทศ โดยกาํหนดอัตราแลกเปลี่ยน 1 SDR ตอ 1.082 เหรียญ สรอ. 3. การชําระเงินโดยมีขอกําหนดวา รอยละ 10 ชําระในรูปของเงนิสด และรอยละ 10 ในรปูของตั๋วสัญญาใชเงิน สําหรับประเทศกําลังพัฒนานั้นไดรับอนุโลมใหชําระรอยละ 25 ของสวนที่ตองชําระเงินสดในรูปของเงินสกุลทองถ่ิน สวนที่เหลือสามารถเลิกชําระในสกุลใดกไ็ดซ่ึงเปนที่ยอมรับทั่วไป โดยยดึมาตรฐานของกองทุนการเงนิระหวางประเทศ (IMF) เปนหลัก ไดแก เงินมารคเยอรมนี เยน ปอนดสเตอรลิง ฟรังคฝร่ังเศส และดอลลาร สรอ. 1.12.3 การดําเนินงาน หนวยงาน MIGA ดําเนินงานรวมกับรัฐบาลทั้งของประเทศเจาถ่ิน (Host government) และประเทศถิ่นกําเนิดของการลงทุน (Home government) เพื่อสรางบรรยากาศที่เอื้ออํานวยตอการลงทุน นอกจากการอํานวยความสะดวก เพื่อใหเกิดการลงทุนจากประเทศพัฒนาสู

Page 16: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

15

ประเทศกําลังพัฒนาแลวนั้น MIGA จะสนับสนุนใหมกีารลงทุนในระหวางกลุมประเทศกําลังพัฒนาดวยกันเองดวย ในทางปฏิบัติ MIGA จะทําหนาที่เสริมบทบาทของหนวยงานหรือโครงการที่ทําหนาที่ค้ําประกันของประเทศตาง ๆ รวมทั้งบริษัทประกันภัยเอกชน การค้ําประกันของ MIGA มิไดเจาะจงเฉพาะการค้ําประกนัภาคการผลิตเพียงอยางเดยีว หากแตเปนการลงทุนทุกประเภททีก่อใหเกิดประโยชน สวนใหญเปนการคุมครองการลงทุนใหม (New investments) ระหวางประเทศสมาชิก โดยโครงการที่ลงทุนมีถ่ินที่ตั้งในประเทศกําลังพัฒนา อยางไรก็ตาม การลงทุนใหมครอบคลุมถึงการขยายกจิการการปรับปรุงกิจการใหทันสมัย การปรับโครงสรางทางการเงินของกิจการ การซื้อกิจการ (acquistion) โดยการใหความคุมครองในสวนที่เปนของผูถือหุน

2. กองทุนการเงนิระหวางประเทศ 2.1 ความเปนมา

กองทนุการเงนิระหวางประเทศกอต้ังหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 เนื่องจากผลของภาวะเศรษฐกิจตกต่าํทัว่โลกซึง่เริ่มข้ึนตั้งแตปลายทศวรรษ 1920 (2463) ทาํใหการคาระหวางประเทศอยูในภาวะชะงกังัน ประเทศตาง ๆ พยายามรักษาสถานะทางเศรษฐกจิของตนไวดวยการใชมาตรการตาง ๆ เชน แขงขันลดคาเงนิ และตั้งขอกดีกันการนําเขาและการชาํระเงนิ นอกจากนัน้ความเสียหายอันเกิดจากสงครามโลกครั้งที่ 2 ยังกระตุนใหปญหาเศรษฐกิจโลกรนุแรงยิง่ขึ้น ดังนัน้ รัฐบาลของกลุมประเทศพันธมิตรจึงไดรวมกอต้ังกองทุนการเงนิระหวางประเทศขึ้น ในป 2490 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อดูแลความเรียบรอยของระบบการเงินระหวางประเทศ อันจะเอือ้อํานวยใหการคาของโลกขยายตัวไดโดยสะดวก เปนพืน้ฐานสําหรับการขยายตัวทางเศรษฐกิจ และการลงทนุของโลกตอไป พรอมกันนั้นไดต้ังธนาคารระหวางประเทศเพื่อการบูรณะและวิวัฒนาการหรือที่เรียกอกีชื่อวา ธนาคารโลก (International Bank for Reconstruction and Development - IBRD-World Bank) เพื่อฟนฟูเศรษฐกิจของประเทศตาง ๆ หลังสงคราม ซึง่จะเปนแหลงเงินทนุเพื่อการพัฒนาระยะยาว นอกจากองคกรแยกที่กลาวแลวยังไดมีความคิดที่จะใหมี International Trade Organization เกิดขึ้นเพื่อดูแลดานการคา แตไมผานรัฐสภาสหรัฐอเมริกา ในที่สุดกเ็กิดเปนองคกรในรูปของ ขอตกลงทั่วไปวาดวยภาษีศุลกากรและการคา (General Agreement on Tariffs and Trade- GATT) แทนโดยเริ่มดําเนนิการในป 2491 (1948)

Page 17: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

16

กองทนุการเงนิระหวางประเทศเริ่มเปดดําเนินการเมื่อป 2489 (1946) มีสํานกังานใหญอยูกรุงวอชงิตนั ดีซี มีฐานะเปนทบวงการชํานัญพิเศษของสหประชาชาติ 2.2 วัตถุประสงคและหนาท่ี

วัตถุประสงคหลักของกองทุนการเงินฯ คือ (1) ดูแลใหสมาชิกมีระบบอตัราแลกเปลี่ยนที่มั่นคง และมีระบบการชําระเงินระหวางประเทศสมาชิกดวยกนัที่มีระเบียบ โดยหลีกเลี่ยงการมขีอจํากัดตาง ๆ เกี่ยวกับการปริวรรตเงินตราหรือการควบคมุการแลกเปลีย่นเงิน (2) หาทางใหการคาระหวางประเทศขยายตัวอยางสมดุล เพื่อสงเสริมใหเกิดการจางงานรายได และพฒันาการทางการผลิตในระดบัสูง (3) ใหความสนับสนนุดานการเงินแกประเทศสมาชิก ในอันที่จะปรับฐานะดุลการชําระเงนิใหดีข้ึน โดยไมตองใชมาตรการตาง ๆ ซึ่งกอใหเกิดผลเสียทัง้ตอเศรษฐกิจของประเทศนัน้ และประเทศสมาชิกอืน่ ๆ โดยสวนรวม เชน การตั้งขอจํากัดทางการคาและการชําระเงิน เปนตน (4) ลดความไมสมดุลในดุลการชําระเงินระหวางประเทศของประเทศสมาชิก สําหรับหนาทีข่องกองทุนการเงินฯ นั้นมี 3 ประการ คือ (1) วางวิธีปฏิบัติ (Code of conduct) เกี่ยวกับนโยบายอตัราแลกเปลี่ยน และการควบคุมปริวรรตเงินตรา (2) ใหความชวยเหลือทางการเงินและดานวิชาการ เพื่อใหสมาชิกสามารถปฏิบัติตามวิธีปฏิบัติที่วางไว (3) เปนเวทีทีป่ระเทศสมาชิกใชในการปรกึษาหารือกนัและรวมดําเนนิการเกีย่วกับการเงินระหวางประเทศ 2.3 สมาชิกภาพ หุน และคะแนนเสียง

สมาชิกภาพ ประเทศที่สมัครเปนสมาชิกกองทุนการเงนิฯ จะตองเปนสมาชิกขององคการสหประชาชาติอยูกอนแลว ในปจจบุันกองทุนการเงินฯ มีสมาชิก 155 ประเทศ สมาชิกลาสุดคือ สาธารณรัฐประชาชนมองโกเลีย (ขอมูลเมื่อประชุม IMF ที่ประเทศไทย ป 2534)

Page 18: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

17

หุน ภาษาทางการของหุนในกองทุนการเงินฯ เรียกวา "โควตา" จํานวนโควตาของประเทศสมาชิกกําหนดจากขนาดของเศรษฐกิจ เงนิสํารอง รวมทั้งฐานะและความผันผวนทางดุลบัญชีเดินสะพดัของประเทศนั้น ๆ ตามปกติกองทุนการเงนิฯ จะทําการทบทวนโควตาทุก 3-5 ป เพื่อปรับปรุงโควตาของแตละประเทศใหเหมาะสมกบัฐานะทางเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลงไป รวมทัง้เพื่อเพิม่ทุนดาํเนินการของกองทุนการเงินฯ ใหพอเพียงกับความจําเปน (นับต้ังแตเร่ิมเปดดําเนนิงาน กองทุน การเงนิฯ ไดทบทวนโควตาเปนการทัว่ไป รวมทัง้สิ้น 8 คร้ัง แตตกลงเพิ่มโควตารวม 6 คร้ัง คือในป 2502 เพิ่มแบบพิเศษ 2508 2513 2521 2523 และ 2526 ตามลําดับ) ปจจุบัน กองทนุการเงินฯ มีโควตาทั้งสิน้ประมาณ 90 พันลาน SDR ประมาณ 120 ลานดอลลาร สรอ.) และเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน 2533 สภาผูวาการไดมมีติใหเพิม่โควตาอกีรอยละ 50 เปน 135 พนัลาน SDR (ประมาณ 180 พันลานดอลลาร) ซึ่งขณะนีก้ําลังอยูระหวางดําเนนิการใหมีผลทางปฏิบัติ จํานวนโควตาของแตละประเทศจะมีความสัมพันธโดยตรงตอสิทธิของสมาชิกนั้น กลาวคือ กองทุนการเงินฯ ใชโควตาเปนหลักในการกําหนดคะแนนเสียง วงเงินการขอใชเงินกู และจํานวน SDR ที่จะไดรับจัดสรร สําหรับสมาชิกนั้น ๆ ประเทศทีถ่ือโควตามากที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา ซึง่มีโควตารอยละ 19.67 ของโควตาทั้งหมด รองลงมาไดแก สหราชอาณาจกัร รอยละ 6.80 เยอรมนี รอยละ 5.93 ฝร่ังเศสรอยละ 4.92 และญี่ปุนรอยละ 4.64 แตโครงสรางการถือโควตาของประเทศหลกัเหลานี้จะเปลีย่นแปลงไป หลังการเพิม่โควตาครั้งใหม โดยสัดสวนของเยอรมนีและญี่ปุนจะมีจาํนวนเทา ๆ กนั เปนอัน ดับสองรองจากสหรัฐอเมริกา คะแนนเสยีง สมาชิกแตละประเทศจะไดรับคะแนนเสียงเบื้องตนเทากนั จํานวน 250 คะแนน บวกดวยคะแนนเสียงที่คิดตามของโควตาของแตละประเทศนั้น ๆ ในอัตรา 1 คะแนน ตอโควตา 100,000 SDR ขอมูลป 2534 สหรัฐอเมริกามีคะแนนเสียงสูงสุด คิดเปนรอยละ 18.9 ของคะแนนเสียงทั้งสิ้น รองลงมาคือ สหราชอาณาจักร รอยละ 6.55 เยอรมนี รอยละ 5.72 ฝร่ังเศส รอยละ 4.75 ญ่ีปุน 4.47 และซาอุดิอาระเบีย รอยละ 3.40 2.4 โครงสรางขององคกรและการบริหารงาน

2.4.1 สภาผูวาการ (Board of Governors) เปนหนวยงานทีม่อํีานาจสูงสุดในการบริหารงานของกองทนุการเงินฯ ประกอบดวยผูวาการและผูวาการสาํรองที่ไดรับแตงตั้งจากประเทศสมาชิก ตําแหนงละ 1 คนตอประเทศ ผูดํารงตําแหนงผูวาการในกองทนุการเงินฯ มักไดแก

Page 19: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

18

รัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง หรือผูวาการธนาคารกลาง ปกติจะมกีารประชุมสภา ผูวาการปละ 1 คร้ัง 2.4.2 คณะกรรมการบริหาร (Executive Board) ทําหนาที่ในการบริหารงานปกติ ของกองทนุการเงนิฯ ตามที่ไดรับมอบหมายจากสภาผูวาการ มีอํานาจตัดสนิใจในนโยบายการบริหารงานทั่วไปของกองทนุการเงนิฯ และจัดเตรียมขอเสนอแกสภาผูวาการในเรื่องที่ตองตัดสินดวยมติของสภาผูวาการ เชน การรับสมาชิกใหมและการเพิ่มทรัพยากรของกองทนุการเงนิฯ ปจจบัุนคณะกรรมการบริหารมีจํานวนทั้งสิน้ 22 คน ในจาํนวนนี้ 6 คน เปนผูที่ไดรับการแตงตั้งใหเขารับตําแหนง จากประเทศทีม่ีโควตาสูงสุด 5 ประเทศ ๆ ละ 1 ตําแหนง ไดแก สหรัฐอเมริกาสหราชอาณาจักร เยอรมนี ฝร่ังเศส และญี่ปุน และ อีก 1 ตําแหนง คือ ซาอุดิอาระเบีย ในฐานะที่เปนเจาหนี้รายใหญของกองทนุการเงนิฯ สวนกรรมการบริหารที่เหลืออีก 16 คน ไดรับการเลอืกตั้งจากประเทศสมาชิกอืน่ ๆ ที่มีคะแนนเสยีงนอยและรวมกันเปนกลุม โดยเลือกตั้งกรรมการบริหารเขามาทําหนาที่เปนตัวแทนของกลุมไดกลุมละ 1 คน แตละกลุมจะตองมีคะแนนเสียงไมตํ่ากวาจาํนวนที่กองทนุการเงนิฯ กําหนดในการเลือกตั้งแตละครั้ง ซึ่งจะมีข้ึนทุก 2 ป 2.4.3 กรรมการจัดการ (Managing Director) มฐีานะเปนประธานของคณะกรรมการบริหาร และเจาหนาที่ประจําของกองทุนการเงินฯ ในการนี้ คณะกรรมการบริหารจะเปนผูพิจารณาคัดเลือกกรรมการจัดการ ซ่ึงโดยปกตจิะเปนชาวยุโรป ดํารงตําแหนงคราวละ 5 ป และตออายุไดอีกไมเกิน 5 ป กรรมการจัดการคนปจจุบัน ไดแก นาย Michel Camdessus ชาวฝรั่งเศส เขารับตําแหนงครั้งแรกเมื่อวนัที่ 16 มกราคม 2530 2.4.4 เจาหนาที่ประจํา (Staff) สวนใหญเปนนักเศรษฐศาสตร รับสมัครจากประเทศสมาชิกทั่วไป นอกจากนี้ยังมกีลไกสําคัญที่เกี่ยวของกับการบริหารงานดานนโยบายเศรษฐกิจการเงนิ และการพัฒนาอีกสององคคือ คณะกรรมการชั่วคราว และคณะกรรมการพัฒนาการ ตัง้ขึ้นเมื่อตุลาคม 2517 ตามมติของสภาผูวาการ โดยปฏิรูปมาจากคณะกรรมการของกลุมยี่สิบ (Committee of Twenty) ช่ือเต็มวา Committee on the Reform of the International Monetary System and Related Issues (เร่ิมขึ้นในป 2515) (1) คณะกรรมการชั่วคราว (Interim Committee) คณะกรรมการชั่วคราวมีชื่อเต็มวา Interim Committee of the Board of Governors on the International Monetary System มีหนาที่ใหคําแนะนาํและรายงานตอสภาผูวาการฯ ในเร่ืองตาง ๆ ทีเ่กี่ยวกับระบบการเงินระหวางประเทศ การแกไขขอตกลงวาดวยกองทุนการเงินฯ

Page 20: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

19

ตลอดจนการเสนอแนะทางแกไขปญหาตาง ๆ ที่อาจกระทบกระเทือนระบบการเงนิระหวางประเทศ และประเด็นอืน่ ๆ ที่สภาผูวาการมอบหมาย โดยปกติคณะกรรมการชัว่คราวจะประชุมปละ 2 คร้ัง (2) คณะกรรมการพัฒนาการ (Development Committee) คณะกรรมการพัฒนาการมชีื่อเต็มวา Joint Ministerial Committee of the Boards of Governors of the Bank and the Fund on the Transfer of Real Resources to Developing Countries เปนองคกรรวมระหวางสภาผูวาการ ธนาคารโลก และกองทุนการเงินฯ มหีนาที่พิจารณาและเสนอแนะตอสภาผูวาการของทัง้สองสถาบนัเกี่ยวกับการเคลื่อนยายเงนิทนุไปสูประเทศกําลงัพัฒนา ซึ่งคลุมถึงเงินชวยเหลือทางการ (ODA) การเขาถงึตลาดเงนิทนุ ความชวยเหลือทางการเงนิจากกองทนุการเงนิฯ และสถาบนัพหุภาคี การรักษาเสถียรภาพของราคาและรายไดจากโภคภัณฑ โดยปกติคณะกรรมการพัฒนาการจะประชุมปละ 2 คร้ัง ในเวลาใกลเคียงกับการประชุมคณะกรรมการชัว่คราว 2.5 แหลงท่ีมาของเงนิทุน

เงินทุนหรือทีก่องทุนการเงนิฯ ใชคําวา ทรัพยากร (resources) ไดมาจากการชําระเงินคาโควตาของประเทศสมาชิกเปนสําคัญ นอกจากนัน้ ยังไดจากการกูยมืจากรัฐบาลและธนาคารพาณิชยในประเทศที่มีฐานะดีภายใตขอตกลงเงินกูระหวางกันที่เรียกวา General Arrangements to Borrow (GAB) อนึ่ง นอกเหนอืจากขอตกลง GAB กองทุนการเงินฯ ยังสามารถกูจากรัฐบาลหรือองคกรทางการเงินของประเทศสมาชิกเพื่อโครงการเงินกูเฉพาะการ (specific programs) ซ่ึงเห็นวาเปนประโยชนตอสมาชกิ อยางไรก็ตาม กองทุนการเงนิฯ มีนโยบายจะรักษาสัดสวนของทรัพยากรที่เปนเงินกูไวไมใหเกินรอยละ 60 ของมูลคาโควตาทั้งหมด เพื่อคงคุณสมบัติของความเปน "กองทุน" ซ่ึงตามหลักการควรใชทรัพยากรจากสวนที่สมาชกิชําระคาโควตาเปนทรัพยากรหลัก อันมีลักษณะแตกตางจากการเปน "ธนาคาร" ซ่ึงสามารถทําธุรกิจโดยการกูยืมเพื่อมาปลอยกูตอได 2.6 นโยบายและวิธีการใหความชวยเหลอืแกสมาชิก

2.6.1 ความชวยเหลือทางการเงิน กองทนุการเงนิฯ ไดเตรียมทรัพยากรไวใหความชวยเหลือแกสมาชกิ ภายใตโครงการเงินกู (facility) หลายชนิดตามลักษณะปญหาดุลการชําระเงนิแตละกรณี 1 ในการใชทรัพยากรของ

Page 21: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

20

กองทนุการเงนิฯ นัน้ ลักษณะไมเหมือนการกูเงนิเสียทีเดียว เนื่องจากเวลาที่สมาชิกไดรับเงนิตราตางประเทศจากกองทนุการเงินฯ สมาชกินัน้ตองจายเงินตราทองถิ่นของตนใหแกกองทนุการเงนิฯ เปนจํานวนเทยีบเทากนั จงึมีลักษณะเสมอืนหนึ่งวาผูใชทรัพยากรนัน้ ตองซื้อเงนิตราตางประเทศนั้นมาดวยเงนิตราของตน ดังนัน้ กองทุนการเงนิฯ จงึเรียกการทาํธุรกรรมดังกลาววา purchase เมื่อถึงเวลาชาํระคืนเงินตราตางประเทศสมาชิกจะไดรับเงินตราทองถิน่ของตนคืนมาเปนจาํนวนเทียบเทากัน กองทุนการเงินฯ จงึเรียกธุรกรรมชําระคืนวาการซื้อคืน (repurchase) ในการใหความชวยเหลือทางการเงินแกประเทศสมาชิกนั้นกองทุนการเงินฯ มีนโยบายกวาง ๆ วา (1) สมาชิกตองมปีญหาดุลการชําระเงิน (2) การใชทรัพยากรตองเปนการชั่วคราว ปกติจะมีอายุการใชคนื 5 ป หรือเร็วกวานั้น หากสมาชิกมีฐานะตางประเทศดีขึ้นมาก 1 ปญหาดุลการชําระเงินอันเกิดจากกรณีตาง ๆ เชนวิกฤตการณทางเศรษฐกิจอนัเนื่อง จากโครงสรางทางการผลิตและการคาระหวางประเทศ การสงออกตกต่ําชั่วคราว 2.6.2 ความชวยเหลือทางวชิาการ กองทุนการเงนิฯ จะดําเนนิการปรึกษาหารือกับประเทศสมาชิกเพื่อทบทวนสถานการณ และนโยบายเศรษฐกิจการเงินของสมาชกิเปนประจาํทุกป (Article IV Consultation) การปรึกษาหาคือนี้เปนวิถทีางชวยใหกองทุนการเงนิฯ สามารถปฏิบัติหนาทีใ่นการควบคุมดูแลนโยบายอัตราแลกเปลี่ยนของสมาชกิอยางใกลชิด และขณะเดียวกนัก็ชวยในการพิจารณาใหความชวยเหลือแกประเทศที่ขอใชทรัพยากรของกองทนุการเงินฯ ความชวยเหลอือีกรูปแบบหนึ่งคือ การสงผูเชี่ยวชาญไปทาํการศึกษาและใหขอเสนอแนะดานตาง ๆ เชน เศรษฐกิจ การเงนิ การคลัง การจัดองคงาน และทาํรายงาน สถติิ ตามแตประเทศสมาชิกจะขอความชวยเหลือไปยังกองทนุการเงินฯ ปจจุบัน กองทุนการเงนิฯ มีศูนยฝกอบรมที่เรียกวา IMF Institute เพื่อใหการอบรมเจาหนาที่ธนาคารกลางและขาราชการของประเทศสมาชิก ในเรื่องตาง ๆ ที่จะเปนประโยชนตอการปฏิบัติงานในองคกรการเงินของประเทศ เชน การวเิคราะหและนโยบายทางการเงิน การคลงั และดุลการชําระเงนิ เปนตน นอกเหนือจากความชวยเหลือทางดานการเงินและวิชาการแลว กองทุนการเงินฯ ยังชวยเหลือประเทศสมาชิกในการเพิ่มสภาพคลองของตน โดยไดจัดสรรสิทธิพิเศษถอนเงิน (Special Drawing Rights = SDRs) 2.7 สิทธิพิเศษถอนเงิน

Page 22: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

21

สิทธิพเิศษถอนเงนิ (Special Drawing Rights - SDRs) เปนสนิทรพัยสํารองระหวางประเทศที่สรางขึ้นโดยกองทนุการเงินฯ เมือ่ป 2512 เพื่อเพิ่มเติมปริมาณสินทรัพยสํารองระหวางประเทศทีม่ีอยู ไดแก ทองคําและเงินตราตางประเทศสกลุสําคัญตาง ๆ โดยมีความตัง้ใจที่จะใหเปนสินทรัพยสํารองหลักในระบบการเงนิระหวางประเทศแทนทองคาํ การจัดสรร สิทธิพิเศษถอนเงินที่สรางขึ้นนี้ กองทุนการเงนิฯ จะจัดสรรใหแกประเทศสมาชิกตามสัดสวนโควตาที่มีอยูกับกองทุนการเงินฯ การกําหนดมลูคา กองทนุการเงินฯ เปนผูกําหนดมูลคาวิธีการหามลูคาของสิทธพิิเศษถอนเงิน โดยเริ่มต้ังแตป 2517 ไดกําหนดใหสิทธพิิเศษถอนเงินมีคาเทียบกับกลุมเงินตราสกุลสําคัญ 5 สกุล คือ ดอลลารสหรัฐอเมริกา มารคเยอรมนี เยนญี่ปุน ฟรังคฝร่ังเศส และปอนดสเตอรลิง ซึ่งกําหนดสัดสวนน้าํหนักตัง้แตวันที ่ 1 มกราคม 2534 เทากบัรอยละ 40 21 17 11 และ 11 ตามลําดับ ปจจุบัน SDR 1 หนวย มีมูลคาประมาณ 1.37 ดอลลาร สรอ. การใชนอกเหนือจากการใชสิทธิพเิศษถอนเงนิในการชาํระเงนิใหแกกองทนุการเงนิฯ เชน การซื้อคืนเงนิตรา การชําระคาดอกเบี้ยและคาธรรมเนียม สิทธพิิเศษถอนเงนิสามารถนาํไปใชไดหลาย ๆ ดาน เชน ธุรกรรมเดินสะพัด ชําระหนี้เงินกู หรือคํ้าประกนัเงนิกู เปนตน ในกรณีที่สมาชิกมีความจําเปนดานดุลการขําระเงนิ สมาชกิอาจใชสิทธพิิเศษถอนเงินของตนแลกเงนิตราของสมาชิกอืน่ โดยผานกองทุนการเงนิฯ นอกเหนือจากการใชเปนสินทรัพยสํารองชนิดหนึ่งแลว กองทุนการเงินฯ ยังใช SDR เปนหนวยลงบัญชีสําหรับธุรกรรมตาง ๆ ของกองทุนการเงินฯ อีกดวย ปจจุบันสถาบันการเงินอื่น ๆ ก็ไดใชเปนหนวยลงบัญชีเชนกัน ไดแก ธนาคารพัฒนาเอเชีย ธนาคารพัฒนาแอฟรกิา กองทุนการเงินอาหรับ เปนตน สวนในภาคเอกชน ธนาคารพาณิชยหลายแหงรับฝากเงินที่กําหนดมลูคาเปนสิทธิพิเศษถอนเงิน (SDR) Denominated deposit 2.8 ความสัมพันธกับประเทศไทย

ประเทศไทย สมัครเขาเปนสมาชิกกองทนุการเงินฯ เมื่อวันที ่ 3 พฤษภาคม 2492 (1949) พรอมกับธนาคารโลก โควตาปจจบัุนเทากับ 386.6 ลาน SDR คะแนนเสียง 4,116 คะแนน เทียบเทากับ รอยละ 0.43 ของคะแนนเสียงทัง้สิ้น ไดรับจัดสรร SDR รวม 84.7 ลานบาท ในการมีสวนรวมกับการดําเนินงานของกองทนุการเงนิฯ ประเทศไทยไดเขารวมกลุมกับประเทศตาง ๆ ในแถบเอเชียอาคเนย รวม 10 ประเทศ ไดแก พมา ฟลิปปนส อินโอนีเซยี ลาว มาเลเซยี เนปาล สิงคโปร ไทย ตองกา และเวียดนาม และเลือกตั้งกรรมการบริหารของกลุม เขาไปบริหารงานในคณะกรรมการบริหารกองทนุการเงินฯ และสภาผูวาการ

Page 23: 350-03-024 . 350...ล ขส ทธ คณะเศรษฐศาสตร มหาว ทยาล ยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศ ภจรรยา

ลิขสิทธิ์ คณะเศรษฐศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร และ ผศ.วรวรรณ ศุภจรรยา, 15/11/18

22

นับตั้งแตเปนสมาชิกกองทุนการเงินฯ ประเทศไทยเคยไดรับการชวยเหลือการเงินจากกองทุนฯ เปนเงินทั้งสิ้น 1,621 ลาน SDR เอกสารชุดนี้ รวบรวมมาจากธนาคารแหงประเทศไทย และเอกสารตาง ๆ ในงานประชุมกองทุนการเงนิระหวางประเทศ ที่อาคารศูนยสิริกิต