322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World...

41
ความก้าวหน้าและประเด็นท้าทายด้านการศึกษา ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อสนับสนุน การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย ดร.สมศักดิดลประสิทธิรองเลขาธิการสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา 1

Transcript of 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World...

Page 1: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

ความก้าวหน้าและประเด็นทา้ทายด้านการศึกษา ระบบเทคโนโลยีและสารสนเทศ เพื่อสนับสนุน การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย

ดร.สมศักดิ์ ดลประสิทธิ์รองเลขาธิการสํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา

1

Page 2: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

การวิเคราะห์ขีดความสามารถในการแข่งขนัของประเทศไทยด้านการศึกษา

International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015

World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report 2014 - 2015

2

Page 3: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

3

Page 4: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันภาพรวมของอาเซียนประเทศไทยอยู่อันดับที่ 30 ลดลง 1 อันดับจากปี 2014

สูงกว่าฟิลิปปนิส ์และอินโดนีเซีย3 4 5 3 3

16 14 1512 14

2730

27 29 30

41 43

38

42

4137

4239

37

42

สิงคโปร์

มาเลเซีย

ไทย

ฟิลิปปินส์อินโดนีเซีย

WCY201159 ประเทศ

WCY201259 ประเทศ

WCY201360 ประเทศ

WCY201460 ประเทศ

WCY201561 ประเทศ

ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2011-2015. 4

Page 5: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

46

8

34

319 14 6

34

51 45

47

821 25 24 30

4447

54

48

ผลประกอบการของเศรษฐกิจ

ประสิทธิภาพของรัฐ

ประสิทธิภาพภาคธุรกิจ

โครงสร้างพื้นฐาน

1213

2827

2524

4846

2930

อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันของไทย

ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2014-2015.

WCY2014WCY2015

5

Page 6: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

106 4 2 3

35 33 34 3235

51 52 51

54

48

57 57 59 59 60

53 53 52

52

54

WCY201159 ประเทศ

WCY201259 ประเทศ

WCY201360 ประเทศ

WCY201460 ประเทศ

WCY201561 ประเทศ

ที่มา : IMD World Competitiveness Yearbook 2011-2015.

สิงคโปร์

มาเลเซีย

ไทย

ฟิลิปปินส์อินโดนีเซีย

อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของอาเซียนประเทศไทยอยู่อันดับที่ 48 ดีขึ้นจาก ปี 2014 ถึง 6 อันดับ

6

Page 7: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

ที่มา : IMD 2014-2015

หมายเหตุ อันดับ IMD2014 IMD2015

อันดับขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของอาเซียนประเทศไทยอยู่อันดับที่ 3 ใน ASEAN เหนือกว่าอินโดนีเซีย และฟิลิปปินส ์และประเทศไทยมีอันดับดีขึ้น ในขณะที่ประเทศอื่นมีอันดับลดลง

7

Page 8: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ร้อยละของงบประมาณภาครัฐทีใ่ช้ในการศึกษา

ร้อยละของงบประมาณภาครัฐทีใ่ช้ในการศึกษาต่อประชากร (US$)

ร้อยละของงบประมาณภาครัฐทีใ่ช้ในการศึกษาต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา

3.94.2216

249

-37

ที่มาข้อมูล : UIS, Government Finance Statistics Yearbook 2013, Eurostat April 2014

งบประมาณภาครฐัที่ใชใ้นการศกึษาสงูเปน็อันดับ 2 ของอาเซียน โดยเฉพาะงบประมาณที่ใชใ้นการศกึษาต่อนักเรียนมัธยมศึกษาทีส่งูสดุในอาเซยีน แต่งบประมาณการศกึษาต่อหัวยังนอ้ยกว่าประเทศที่ลงทนุต่ํากว่าประเทศไทย

ข้อเสนอแนะ : สํานักงบประมาณต้องมีการแยกกิจกรรมค่าใช้จ่ายทางด้านการศึกษาที่ชัดเจน ตลอดจนรวบรวมงบประมาณอื่นๆ จากงบประมาณกลาง เช่น งบประมาณจากท้องถิ่น เป็นต้น

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

8

Page 9: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

5.85.5

3.94.2

3.53.5

3.03.1

2.72.7

มาเลเซีย (14)มาเลเซีย (18)

ไทย (42)ไทย (39)

อินโดนีเซีย (51)อินโดนีเซีย (52)

สิงคโปร์ (56)สิงคโปร์ (56)

ฟิลิปปินส์ (57)ฟิลิปปินส์ (58)

ร้อยละของงบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษา 3.94.2

ร้อยละของงบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษาเทียบกับผลผลิตมวลรวมของประเทศ (GDP) ของประเทศไทยสูงเป็นอันดับที่ 2 ของอาเซียน คิดเป็นร้อยละ 4.2 และอยู่ในอันดับที่ 39 จาก59 ประเทศ ดีขึ้นมา 3 อันดับจากปี 2014

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ) 9

Page 10: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

1,5861,723

599578

216249

125126

7171

สิงคโปร์ (21)สิงคโปร์ (20)

มาเลเซีย (39)มาเลเซีย (41)

ไทย (53)ไทย (52)

อินโดนีเซีย (56)อินโดนีเซีย (57)

ฟิลิปปินส์ (57)ฟิลิปปินส์ (58)

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ร้อยละของงบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษาต่อประชากร (US$) 216

249

งบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษาต่อประชากรของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยในปี2015 ประเทศไทยจัดสรรงบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษาต่อประชากร 249 ดอลล่าร์สหรัฐ อยู่ในอันดับที่ 52 จาก 59 ประเทศ ดีขึ้นจากปี 2014 ที่มีการใช้งบประมาณด้านการศึกษาต่อประชากร 216 ดอลล่าร์สหรัฐ (อันดับที่ 53)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ) 10

Page 11: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

37

20

17

11

9

ไทย (2)

มาเลเซีย (35)

สิงคโปร์ (44)

อินโดนีเซีย (54)

ฟิลิปปินส์ (57)

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ร้อยละของงบประมาณภาครัฐที่ใช้ในารศึกษาต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษา -37

ตัวชี้วัดงบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษาต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษาเป็นตัวชี้วัดใหม่ในปี 2015 ประเทศไทยจัดสรรงบประมาณต่อนักเรียนระดับมัธยมศึกษาสูงถึงร้อยละ 37 อยู่ในอันดับที่ 2 จาก 58 ประเทศ ในขณะที่มาเลเซียอยู่ในอันดับที่ 35 (ร้อยละ 20) และสิงคโปร์อยู่ในอันดับที่ 44 (ร้อยละ 17)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

11

Page 12: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

อัตราส่วนนักเรียนต่อครรูะดับประถมศึกษา

อัตราส่วนนักเรียนต่อครรูะดับมัธยมศึกษา1616

1919

ที่มาข้อมูล : UIS UNESCO

อัตราส่วนนักเรียนต่อครอูยู่ในเกณฑ์ที่ดี เนื่องจากเกณฑ์มาตรฐานนักเรียนต่อครูในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของไทยอยู่ที่ 25 คน ซึ่งดีกว่าเกณฑ์ แต่ในความเป็น

จริงประเทศไทยยังขาดแคลนครูอยู่ในบางพืน้ที่และสาขาต่างๆ

ข้อเสนอแนะ : ข้อมูลที่ IMD รายงานยังเป็นข้อมูลปีเก่ามาก (2008) ซึ่งหน่วยงานที่จัดการศึกษาต้องมีการจัดเก็บข้อมูลครูจําแนกรายระดับ และรายสาขาวิชา โดย ศทก.สป.ต้องเป็นผู้จัดเก็บ

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

12

Page 13: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

34.2331.44

18.0018.60

18.5915.94

16.2815.99

12.3012.60

ฟิลิปปินส์ (60)ฟิลิปปินส์ (59)

สิงคโปร์ (44)สิงคโปร์ (47)

อินโดนีเซีย (47)อินโดนีเซีย (33)

ไทย (34)ไทย (34)

มาเลเซีย (14)มาเลเซีย (16)

34.5334.81

19.9119.91

16.6214.77

14.0014.80

13.1013.10

ฟิลิปปินส์ (60)ฟิลิปปินส์ (60)

ไทย (55)ไทย (54)

อินโดนีเซีย (49)อินโดนีเซีย (41)

สิงคโปร์ (38)สิงคโปร์ (42)

มาเลเซีย (34)มาเลเซีย (35)

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับประถมศึกษา 1616

อัตราส่วนนักเรียนต่อครูระดับมัธยมศึกษา 19

19

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ) 13

Page 14: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ที่มาข้อมูล : UIS UNESCO

อัตราการเข้าเรียนสุทธิระดับมัธยมศึกษาของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ในปี 2015 ร้อยละ 79.5 อยู่ในอันดับที่ 52 ดีขึ้น 3 อันดับจากปี 2014 เป็นรองเพียงมาเลเซียและสิงคโปร์

ข้อเสนอแนะ : ต้องมีระบบติดตามที่สามารถทราบถึงสาเหตุของเด็กที่หายไป และหน่วยงานที่จัดการศึกษาต้องมีการจัดเก็บข้อมูลจําแนกรายบุคคลเพื่อเชื่อมโยงกับ ศทก.สป.

98.898.8

89.389.9

74.179.5

74.476.1

61.661.4

สิงคโปร์ (6)สิงคโปร์ (5)

มาเลเซีย (33)มาเลเซีย (32)

ไทย (55)ไทย (52)

อินโดนีเซีย (54)อินโดนีเซีย (54)

ฟิลิปปินส์ (59)ฟิลิปปินส์ (59)

อัตราการเข้าเรียนสทุธิระดับมัธยมศึกษา

74.179.5

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

14

Page 15: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ที่มาข้อมูล : UIS UNESCO โดย สํานักงานสถิติแห่งชาติ

อัตราการไม่รู้หนังสือของประเทศไทยอยู่ที่อันดับ 43 (ร้อยละ 3.3) ดีขึ้นจากปี 2014 ถึง 7 อันดับ (ร้อยละ 5.9) และอยู่ในอันดับที่ 1 ในอาเซียน

ข้อเสนอแนะ : ความถี่ในการจัดเก็บข้อมูลต้องเร็วขึ้น (เดิมจัดเก็บ 10 ปี ครั้ง โดย สสช.)

อัตราการไม่รู้หนังสือ(15 ปีขึ้นไป)

5.93.3

5.93.3

3.93.9

4.63.7

6.95.4

7.27.2

ไทย (50)ไทย (43)

สิงคโปร์ (42)สิงคโปร์ (47)

ฟิลิปปินส์ (46)ฟิลิปปินส์ (46)

มาเลเซีย (53)มาเลเซีย (54)

อินโดนีเซีย (55)อินโดนีเซีย (57)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

15

Page 16: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 1 โอกาสและความเสมอภาคทางการศึกษา

ที่มาข้อมูล : UIS UNESCO

ร้อยละของผู้หญิงที่มีการศึกษาในระดับ ป.ตรี และ ป.โท เป็นตัวชี้วัดใหม่ในปี 2015ประเทศไทยอยู่ในอันดับที่ 23 จาก 52 ประเทศ และเป็นอันดับ 1 ของอาเซียน

ข้อเสนอแนะ : เป็นตัวชี้วัดใหม่ ทําให้ยังขาดข้อมูลหลายประเทศและจําเป็นอย่างยิ่งที่จะต้องดูผลต่อไปอีก 2-3 ปีจึงจะเห็นแนวโน้มที่ชัดเจน

ร้อยละของผู้หญิงที่มีการศึกษาในระดับ ป.ตรี และ ป.โท 60.9

47.9

59.7

60.9

อินโดนีเซีย (51)

มาเลเซีย (27)

ไทย (23)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

16

Page 17: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

573551

427444

421420

375382

สิงคโปร์ (คณิต)สิงคโปร์ (วิทย์)

ไทย (คณิต)ไทย (วิทย์)

มาเลเซีย (คณิต)มาเลเซีย (วิทย์)

อินโดนีเซีย (คณิต)อินโดนีเซีย (วิทย์)

กลุ่มที่ 2 คุณภาพการศึกษา

ที่มาข้อมูล : PISA 2012 (OECD)

ตัวชี้วัดผลสัมฤทธิ์ PISA นั้นอันดับและคะแนนไม่มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากผลสัมฤทธิ์ของการสอบปี 2015 นั้นยังไม่ประกาศผล คงใช้ผลการสอบของปี 2012 อยู่

ข้อเสนอแนะ : ต้องมีการเตรียมความพร้อมของเด็กในการสอบ PISA และเน้นการเรียนการสอนให้มีการคิดวิเคราะห์มากขึ้นและไม่ห่างไกลจากชีวิตจริง

ผลสัมฤทธิ์ PISA

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

17

Page 18: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

7676

8282

8989

8989

9898

ไทย (57)ไทย (57)

อินโดนีเซีย (50)อินโดนีเซีย (50)

ฟิลิปปินส์ (32)ฟิลิปปินส์ (32)

มาเลเซีย (32)มาเลเซีย (32)

สิงคโปร์ (3)สิงคโปร์ (3)

กลุ่มที่ 2 คุณภาพการศึกษา

ที่มาข้อมูล : The TOEFL Test – Test of English as a Foreign Language ระหว่างเดือนมกราคม – ธันวาคม 2557

ความสามารถในการใช้ภาษาอังกฤษ (TOEFL) ซึ่งในปี 2015 ยังใช้ผลคะแนนจากปี 2013 มีอันดับที่ 57 และ 76 คะแนน อยู่ในอันดับสุดท้ายของอาเซียน

ข้อเสนอแนะ : ต้องมีการส่งเสริมและการเตรียมความพร้อมด้านภาษาอักฤษให้มากขึ้น

ความสามารถในการใชภ้าษาอังกฤษ(TOEFL)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

18

Page 19: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 2 คุณภาพการศึกษา

ที่มาข้อมูล : สํารวจโดย IMD

การสํารวจความคิดเห็นของภาคธุรกิจต่อทักษะด้านภาษาของประเทศไทยในปี 2015 อยู่ในอันดับ 53แย่ลง 2 อันดับจากปี 2014 และอยู่ในอันดับสุดท้ายของอาเซียน

ข้อเสนอแนะ : ต้องมีการจัดประชุมสร้างความเข้าใจต่อผู้ประกอบการภาคธุรกิจถึงการระบบการจัดการศึกษา ตลอดจนให้ภาคธุรกิจเข้ามามีส่วนร่วมด้านการศึกษาให้มากขึ้น

ความคิดเห็นต่อทักษะด้านภาษา (คะแนนเต็ม 7� �� �� �� �

7.938.34

7.527.10

7.057.52

6.655.64

3.643.38

สิงคโปร์ (9)สิงคโปร์ (7)

มาเลเซีย (15)มาเลเซีย (20)

ฟิลิปปินส์ (18)ฟิลิปปินส์ (18)

อินโดนีเซีย (23)อินโดนีเซีย (31)

ไทย (51)ไทย (53)

3.643.38

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

19

Page 20: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 2 คุณภาพการศึกษา

ที่มาข้อมูล : The TOEFL Test – Test of English as a Foreign Language ระหว่างเดือนมกราคม – ธันวาคม 2557

การสํารวจความคิดเห็นของภาคธุรกิจต่อการเรียนสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน ประเทศไทยอยู่ในอันดับ 50 จาก ลดลงจากปี 2014 ถึง 6 อันดับ และอยู่ในอันดับสุดท้ายของอาเซียน

ข้อเสนอแนะ :ต้องมีการจัดประชุมสร้างความเข้าใจต่อผู้ประกอบการภาคธุรกิจถึงการระบบการจัดการศึกษา ตลอดจนให้ภาคธุรกิจเข้ามามีส่วนร่วมด้านการศึกษาให้มากขึ้น

ความคิดเห็นต่อการเรยีนการสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรยีน (คะแนนเต็ม 7� � � � � � � �

4.053.81

8.368.44

6.986.91

5.964.81

4.704.99

4.053.81

สิงคโปร์ (1)สิงคโปร์ (1)

มาเลเซีย (5)มาเลเซีย (5)

อินโดนีเซีย (15)อินโดนีเซีย (39)

ฟิลิปปินส์ (32)ฟิลิปปินส์ (36)

ไทย (44)ไทย (50)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

20

Page 21: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 3 การอุดมศึกษา

ประชากรที่สาํเร็จการศกึษาระดับอุดมศึกษา

นักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาศึกษาในประเทศ

นักศึกษาไทยที่ไปเรียน ณ ต่างประเทศ

1818

0.300.32

0.380.38

ที่มาข้อมูล : UIS, สํานักงานสถิติแห่งชาต.ิ

ในปี 2015 ประเทศไทยมีประชากรที่สําเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 18 อยู่ในอันดับที่ 53 จาก 56 ประเทศ ลดลง 3 อันดับจากปี 2014 ในขณะที่นักศึกษาต่างชาติที่เข้ามา

ศึกษาในประเทศและนักศึกษาไทยที่ไปเรียน ณ ต่างประเทศ คงมีอัตราที่คงที่

ข้อเสนอแนะ : ข้อมูลที่ IMD รายงานยังเป็นข้อมูลปีเก่า ซึ่งหน่วยงานที่จัดการศึกษาต้องมีการจัดเก็บข้อมูลจําแนกรายระดับ และประเทศที่เข้าออก โดย ศทก.สป. ต้องเป็นผู้จัดเก็บข้อมูล และส่งเสริมการจัดการเรียนการสอนในระดับอุดมศึกษาที่สามารถตอบสนองความต้องของผู้เรียนได้หลายรูปแบบ

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

21

Page 22: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 3 การอุดมศึกษา

ประชากรที่สาํเร็จการศกึษาระดับอุดมศึกษา

1818

72.071.1

30.931.3

26.221.3

18.018.0

10.011.1

สิงคโปร์ (1)

สิงคโปร์ (1)

มาเลเซีย (32)

มาเลเซีย (34)

ฟิลิปปินส์ (39)

ฟิลิปปินส์ (49)

ไทย (50)

ไทย (53)

อินโดนีเซีย (54)

อินโดนีเซีย (56)

ในปี 2015 ประเทศไทยมีประชากรที่สําเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาคิดเป็นร้อยละ 18 อยู่ในอันดับที่ 53 จาก 56 ประเทศ ลดลง 3 อันดับจากปี 2014 (อันดับ 50) สิ่งที่น่าสังเกตคือร้อยละของประชากรที่สําเร็จการศึกษาระดับอุดมศึกษาคงที่มาตั้งแต่ปี 2008 แม้ร้อยละของตัวชี้วัดดังกล่าวจะไม่เปลี่ยนแปลง แต่ขณะที่ประเทศอื่นๆ มีร้อยละที่สูงขึ้น

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

22

Page 23: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 3 การอุดมศึกษา

นักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาศึกษาในประเทศ

0.300.32

9.249.97

2.191.91

0.300.32

0.030.03

0.030.03

สิงคโปร์ (3)สิงคโปร์ (2)

มาเลเซีย (27)มาเลเซีย (27)

ไทย (47)ไทย (49)

ฟิลิปปินส์ (54)ฟิลิปปินส์ (56)

อินโดนีเซีย (55)อินโดนีเซีย (57)

แม้จํานวนนักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาศึกษาในประเทศไทยเพิ่มขึ้นจากปี 2014 จากนักศึกษา 0.30 คนต่อประชากร1,000 คน เป็นนักศึกษา 0.32 คนต่อประชากร 1,000 คน แต่อันดับกลับแปรผกผันคืออันดับแย่ลงจากอันดับ47 ในปี 2014 เป็นอันดับ 49 ในปี 2015 เมื่อเทียบกับประเทศกลุ่มอาเซียน สิงคโปร์อยู่ในอันดับ 2 (9.97 คนต่อประชากร 1,000 คน) และมาเลเซียอยู่ในอันดับ 27 (1.91 คนต่อประชากร 1,000)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

23

Page 24: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 3 การอุดมศึกษา

นักศึกษาไทยที่ไปเรียน ณ ต่างประเทศ

0.380.38

4.074.10

1.891.88

0.380.38

0.140.14

0.120.12

สิงคโปร์ (6)สิงคโปร์ (8)

มาเลเซีย (10)มาเลเซีย (17)

ไทย (38)ไทย (51)

อินโดนีเซีย (57)อินโดนีเซีย (59)

ฟิลิปปินส์ (56)ฟิลิปปินส์ (61)

จํานวนนักศึกษาไทยที่ไปเรียน ณ ต่างประเทศคงที่อยู่ที่ 0.38 คนต่อประชากร 1,000 คน อยู่ในอันดับที่ 51 แย่ลงจากปี 2014 อยู่ 1 อัน ดับ ซึ่งหากเทียบกับประเทศในกลุ่ มอาเซียน ในปี 2015 ประเทศไทยเป็นรองเพียงมาเลเซียและสิงคโปร์ คือ มาเลเซียอยู่ในอันดับ 17 (1.88 คน) และสิงคโปร์อันดับ 8 (4.10 คน)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

24

Page 25: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 4 การตอบสนองต่อภาคธุรกิจ

ระบบการศึกษา (คะแนนเต็ม 7) ����

การศึกษาระดับมหาวิทยาลยั (คะแนนเต็ม 7) ����

ความต้องการภาคธุรกิจ (คะแนนเต็ม 7) � � � �

3.623.39

4.534.16

4.894.73

ที่มาข้อมูล : สํารวจโดย IMD

ความคิดเห็นต่อการตอบสนองความสามารถในการแข่งขันทางเศรษรฐกิจต่อระบบการศึกษา การศึกษาระดับการศึกษา และความต้องการภาคธุรกิจ (คะแนน 1- 7)

ในปี 2015 อยู่ในอันดับสุดท้ายของอาเซียน

ข้อเสนอแนะ :ต้องมีการจัดประชุมสร้างความเข้าใจต่อผู้ประกอบการภาคธุรกิจถึงการระบบการจัดการศึกษา ตลอดจนให้ภาคธุรกิจเข้ามามีส่วนร่วมด้านการศึกษาให้มากขึ้น

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

25

Page 26: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 4 การตอบสนองต่อภาคธุรกิจ

ระบบการศึกษา (คะแนนเต็ม 7) ����

3.623.39

4.534.16

การศึกษาระดับมหาวิทยาลัย (คะแนนเต็ม 7) ����

8.178.27

6.166.70

5.894.76

5.315.51

3.623.39

สิงคโปร์ (3)สิงคโปร์ (3)

มาเลเซีย (17)มาเลเซีย (16)

อินโดนีเซีย (20)อินโดนีเซีย (39)

ฟิลิปปินส์ (31)ฟิลิปปินส์ (28)

ไทย (49)ไทย (46)

8.108.14

6.906.68

6.425.45

5.855.85

4.534.16

สิงคโปร์ (4)สิงคโปร์ (3)

มาเลเซีย (14)มาเลเซีย (17)

อินโดนีเซีย (20)อินโดนีเซีย (33)

ฟิลิปปินส์ (28)ฟิลิปปินส์ (25)

ไทย (48)ไทย (53)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

26

Page 27: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

กลุ่มที่ 4 การตอบสนองต่อภาคธุรกิจ

ความต้องการภาคธุรกิจ (คะแนนเต็ม 7) � � � �

4.894.73

7.867.73

7.286.88

6.266.35

6.225.47

4.894.73

สิงคโปร์ (3)

สิงคโปร์ (3)

มาเลเซีย (10)

มาเลเซีย (14)

ฟิลิปปินส์ (25)

ฟิลิปปินส์ (23)

อินโดนีเซีย (26)

อินโดนีเซีย (35)

ไทย (42)

ไทย (52)

IMD2015 (61 ประเทศ)IMD2014 (60 ประเทศ)

27

Page 28: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

สรุปการวิเคราะห์ตัวชี้วัดด้านการศึกษาไทยตัวชี้วัดที่ดีขึ้นมี 5 ตัวชี้วัด ตัวชี้วัดที่ด้อยลง 7 ตัวชี้วัด

• งบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษา • งบประมาณภาครัฐที่ใช้ในการศึกษาต่อนักเรียน• อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา • ความคิดเห็นต่อการตอบสนองความสามารถในการแข่งขันทางเศรษรฐกิจต่อระบบการศึกษา• อัตราการไม่รู้หนังสือ

• อัตราส่วนของนักเรียนต่อครูระดับมัธยมศึกษา• ประชากรที่สําเร็จการศึกษาระดับอดุมศกึษา• นักศึกษาต่างชาติที่เข้ามาศึกษาในประเทศ• ความคิดเห็นต่อการเรียนการสอนวิทยาศาสตร์ในโรงเรียน• ความคิดเห็นต่อการตอบสนองความสามารถในการแข่งขันทางเศรษฐกิจของการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย• ความคิดเห็นต่อการจัดการศึกษาสาขาบริหารจัดการที่ตอบสนองต่อความต้องการภาคธุรกิจ• ความคิดเห็นต่อทักษะด้านภาษา 28

Page 29: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

ข้อเสนอแนะ

• กระทรวงศึกษาธิการและหน่วยงานที่จัดการศึกษาทั้งในส่วนกลางและเขตพื้นที่การศึกษา สถานศึกษา ควรประชาสัมพันธ์ หรือรณรงค์สร้างความเข้าใจแก่พ่อแม่ผู้ปกครองในการเห็นความสําคัญ ให้เด็กเข้าเรียนถึงการศึกษาภาคบังคับ และหรือการศึกษาที่สูงกว่า• กระทรวงมหาดไทย /กรมการพัฒนาชุมชน /อบต/อบจ/ผู้นําชุมชน ร่วมมือกันติดตามเด็กทั้งที่อายุถึงเกณฑ์เข้าเรียนแล้วให้เข้ารับการศึกษา• ต้องมีผลการวิจัยที่ระบุชัดเจนถึงคุณภาพของการศึกษา คุณภาพในการเรียนรู้ของนักเรียนดีขึ้น

29

Page 30: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

ข้อเสนอแนะ (ต่อ)

• กระทรวงศึกษาธิการ สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ กระทรวงแรงงาน และหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในระดับนโยนโยบาย ต้องมีการวางแผนรว่มกันในการจัดทําแผนการศึกษาและแผนกําลังคนที่สอดรับกับทิศทางการใช้ทรัพยกรมนุษย์ที่จะจําเป็นต่อการพัฒนาประเทศ• ให้สถานประกอบออกใบรับรอง และมีกํากับ ควบคุมการฝึกงานที่เข้มข้มร่วมกันระหว่างสถาบันและสถานประกอบการ ทั้งนี้สถานประกอบการต้องให้นักศึกษาได้ทดลองและฝึกทักษะที่ใช้ในการทํางานในอาชีพนั้น ๆ อย่างจริงจัง มิใช่เน้นให้นักศึกษาช่วยงานบริการงานอํานวยการสํานักงานทั่วไป

30

Page 31: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

ข้อเสนอแนะ (ต่อ)

• การเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ ข่าวสาร หรือมีการจัดประชุมเผยแพร่เรื่องการจัดการการสอน เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายภาคเอกชน/ธุรกิจ ที่ตอบข้อคําถาม เกิดการรับรู้และเข้าใจ มีทัศนคติเชิงบวก และให้ความสําคัญในการให้ข้อคิดเห็น/ตอบคําถามที่มีผลต่อเชิงบวกอันจะส่งผลต่อการจัดอันดับด้านการศึกษาของประเทศ

31

Page 32: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

World Economic Forum (WEF)The Global Competitiveness

Report 2014-2015

32

Page 33: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

86

101

94

55

78

80

53

65

64

50

90

58

79

54

87

81

81

61

69

37

คุณภาพการศึกษาดับประถมศึกษา

อัตราการเข้าเรียนระดับประถมศึกษาสุทธิ

อัตราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา

อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษาสุทธิ

คุณภาพของระบบการศึกษา

คุณภาพการสอนคณิต-วิทย์

คุณภาพโรงเรียนที่สอนบริหารจัดการจัดการในโรงเรียน

การเข้าถึงการใช้อินเทอร์เน็ตในโรงเรียน

การวิจัยเฉพาะทางระดับท้องถิ่นและการให้บริการฝึกอบรม

ขอบเขตของการฝึกอบรมพนักงาน WEF 2013-2014 (148 ประเทศ)WEF 2014-2015 (144 ประเทศ)

ตัวชี้วัดขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการศึกษาของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ WEF

33

Page 34: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

อันดับดีขึ้น อันดับลดลงอัตราการเข้าเรียนระดับประถมศึกษาสุทธิ (Primary education enrollment, net %) ไทยเพิ่มสูงขึ้นจากเดิม ร้อยละ 89.7 ในปีก่อน เป็นร้อยละ 95.6 ตัวชี้วัดนี้อยู่อันดับที่ 58 (เดิมปีก่อนอันดับที่ 101)

ตัวชี้วัดคุณภาพการจัดการศึกษาระดับประถมศึกษา (Quality of Primary Education) ประเทศไทยมีอันดับลดลงอย่างต่อเนื่องทุกปี โดยปีนี้อยู่ในอันดับที่ 90 ลดลงจากปีที่แล้วซึ่งอยู่ในอันดับ 86 โดยมีคะแนน 3.6 เท่าเดิม และอยู่ในอันดับที่ 6 ����

อัตราการเข้าเรียนมัธยมศึกษา (Secondary education enrollment, gross %)ไทยเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 87.0 สูงกว่าปีก่อน (ร้อยละ 78.2) ได้อันดับที่ 79 (เดิมปีก่อนอันดับที ่94 )

ตัวชี้วัดด้านคุณภาพของการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์ (Quality of math and science education) มีคะแนนลดต่ําลงกว่าปีที่แล้ว จาก 4.0 เป็น 3.9 ได้อันดับที่ 81 (เดิมปีก่อนอันดับที่ 80) ����

อัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษา /หลังจากสําเร็จการศึกษาชั้นมัธยมศึกษา (Tertiary education enrollment, gross %)ไทยมอีัตราการเข้าเรียนระดับอุดมศึกษาร้อยละ 51.2 สูงขึ้นจากปีที่แล้ว (ร้อยละ 46.4) อยู่ในอันดับที่ 54 (เดิมปีก่อนอันดับที่ 55)

ตัวชี้วัดคุณภาพของระบบการศึกษา (Quality of the Education System) โดยการสํารวจความพึงพอใจ ไทย มีคะแนนน้อยลงกว่าปีที่แล้ว จาก 3.6 เป็น 3.4 อันดับสูงขึ้นจากอันดับที่ 78 เป็น 87 ����

การเข้าถึงระบบอินเตอร์เน็ตในสถานศึกษา (Internet access in schools)ไทยมีอันดับดีขึ้นจาก 65 เป็น 61 ในปีนี้ แต่มีคะแนน 4.6 คงเดิมกับปีก่อน����

ตัวชี้วัดคุณภาพของสถานศึกษาที่สอนการบริหารจัดการ(Quality of management schools)ไทยไดต้กลงเป็นอันดับที่ 81ได้คะแนน 4.1 (เดิมปีก่อนอันดับที ่53 ) ����

ความพึงพอใจด้านขอบเขตของการฝึกอบรม (Extent of staff training)ไทยมีอันดับที่สูงขึ้นจากอันดับที่ 50 เป็นอันดับที่ 37 ด้วยคะแนนคงที่ คือ 4.4 ����

ตัวชี้วัดผลสํารวจความพึงพอใจด้านการวิจัยและการบริการฝึกอบรมที่ใช้ประโยชน์ได้ (Availability of research and training services) ไทยได้คะแนนคงที่คือ 4.2 แต่มีอันดับต่ําลงเป็นอันดับที่ 69 (เดิมปีก่อนอันดับที่ 64) ����

���� ตัวชี้วัดที่เป็นแบบสํารวจความคิดเห็น

ตัวชี้วัดขีดความสามารถในการแขง่ขนัด้านการศึกษาของประเทศไทย จากการจัดอันดับของ WEF

34

Page 35: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

คุณภาพการจัดการศึกษาระดบัระถมศึกษา

อตัราการเข้าเรียนระดับประถมศึกษาสุทธิ

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน6.0 3 Singapore 3 6.0 100 1 Singapore 1 100.0 5.8 6 New Zealand 6 5.9 100 2 Japan 3 99.95.1 21 Japan 10 5.5 99.8 4 China 4 99.94.8 33 Malaysia 17 5.3 98.6 28 Korea, Rep. 12 99.15.4 14 Taiwan, China 18 5.3 99.3 16 New Zealand 22 98.45.0 22 Australia 21 5.1 98.2 31 Cambodia 24 98.44.9 30 Hong Kong SAR 28 4.9 99.3 15 Vietnam 29 98.1

5.0 23 Korea, Rep. 44 4.5 99.5 12 Taiwan, China 35 97.74.3 55 Indonesia 48 4.4 98.6 27 Mongolia 40 97.34.3 56 China 59 4.2 97.1 44 Australia 47 96.83.8 76 Philippines 60 4.2 97.4 42 LAO PDR 56 95.93.5 91 Mongolia 67 4.0 89.7 101 Thailand 58 95.6

3.8 79 LAO PDR 84 3.7 95.9 55 Malaysia 60 95.53.6 84 India 88 3.6 92.3 89 Hong Kong SAR 75 93.53.6 86 Thailand 90 3.6 93.3 80 India 78 93.33.4 97 Vietnam 91 3.5 95.8 56 Indonesia 85 92.23.2 106 Cambodia 113 2.9 90.4 97 Timor-Leste 99 91.12.1 143 Myanmar 137 2.2 88.3 108 Philippines 105 88.22.2 141 Timor-Leste 142 2.0 99.6 9 Myanmar 111 86.4

2013- 2014 2014 - 2015 2013- 2014 2014 - 2015

35

Page 36: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

อตัราการเข้าเรียนระดับมัธยมศึกษา

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน131.3 1 Australia 1 135.5119.1 5 New Zealand 5 119.5107 18 Singapore 16 107.192.6 58 Mongolia 22 103.5102.2 27 Japan 25 101.899 40 Taiwan, China 36 100.397.1 47 Korea, Rep. 48 97.2

81.4 90 China 72 89.080.1 93 Hong Kong SAR 73 88.778.2 94 Thailand 79 87.084.8 83 Philippines 89 84.680.7 92 Indonesia 92 82.5

77.2 96 Vietnam 98 75.263.2 110 India 106 68.569.1 105 Malaysia 108 67.258.1 114 Timor-Leste 116 56.654.3 115 Myanmar 122 50.245.2 122 LAO PDR 124 46.544.4 125 Cambodia 125 45.0

2014 - 20152013- 2014 อตัราการเข้าเรียนระดับอดุมศึกษาสุทธิ

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน103.1 1 Korea, Rep. 2 98.479.9 11 Australia 6 86.384.4 7 Taiwan, China 9 83.972 20 Singapore 10 81.382.6 9 New Zealand 12 79.859.7 37 Japan 39 61.557.2 43 Mongolia 40 61.1

34 83 Hong Kong SAR 43 59.746.4 55 Thailand 54 51.242.3 62 Malaysia 72 36.024.9 87 Indonesia 77 31.528.2 81 Philippines 82 28.2

26.8 83 China 85 26.717.9 98 India 87 24.824.4 89 Vietnam 88 24.616.7 101 Timor-Leste 97 17.714.8 103 LAO PDR 99 16.714.5 104 Cambodia 101 15.817.7 100 Myanmar 103 13.8

2013- 2014 2014 - 2015

36

Page 37: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

คุณภาพของระบบการศึกษา

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน5.8 3 Singapore 4 5.85.2 11 New Zealand 7 5.35 19 Malaysia 10 5.34.8 23 Australia 19 4.84.8 22 Hong Kong SAR 20 4.84.3 40 Philippines 29 4.54.3 36 Indonesia 32 4.5

4.1 50 Japan 33 4.44.4 33 India 45 4.24 54 China 52 4.04.5 30 Taiwan, China 56 3.94 57 LAO PDR 60 3.8

3.8 64 Korea, Rep. 73 3.63.6 78 Thailand 87 3.43.4 95 Vietnam 94 3.33.6 76 Cambodia 101 3.22.6 137 Mongolia 116 2.92.7 125 Myanmar 129 2.72.7 124 Timor-Leste 136 2.4

2013- 2014 2014 - 2015 คุณภาพของการจัดการศึกษาคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน6.3 1 Singapore 1 6.35.5 10 Hong Kong SAR 9 5.45.4 12 New Zealand 12 5.35.4 11 Taiwan, China 14 5.34.9 27 Malaysia 16 5.24.7 34 Japan 21 5.13.8 64 Korea, Rep. 34 4.7

4.7 35 Indonesia 36 4.64.6 37 Australia 38 4.64.1 68 Mongolia 46 4.54.4 48 China 56 4.34.7 32 India 67 4.2

3.7 96 Philippines 70 4.14 80 Thailand 81 3.93.9 85 Vietnam 82 3.93.8 90 LAO PDR 83 3.93.5 102 Cambodia 111 3.22.7 134 Myanmar 129 2.72.3 141 Timor-Leste 141 2.1

2013- 2014 2014 - 2015

37

Page 38: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

คุณภาพของสถานศึกษาที่สอนการบริหารจัดการ

จัดการในโรงเรียน

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน5.7 6 Singapore 6 5.85.4 14 Hong Kong SAR 14 5.45.2 24 New Zealand 22 5.24.9 35 Malaysia 25 5.15.1 29 Australia 27 5.14.9 32 Taiwan, China 36 4.84.7 39 Philippines 40 4.7

4.4 58 Indonesia 49 4.65 30 India 56 4.44 86 Japan 72 4.24.5 56 Korea, Rep. 73 4.24.1 82 LAO PDR 79 4.1

4.5 53 Thailand 81 4.14.1 83 China 85 3.93.3 125 Vietnam 119 3.43.7 108 Cambodia 123 3.32.9 136 Mongolia 132 2.92.7 141 Myanmar 139 2.62.2 147 Timor-Leste 143 2.1

2013- 2014 2014 - 2015 การเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ตในสถานศึกษา

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน6.3 4 Singapore 6 6.46.1 13 Korea, Rep. 10 6.25.9 17 Australia 11 6.26.2 7 Taiwan, China 12 6.16.1 14 Hong Kong SAR 16 65.7 28 New Zealand 19 65.2 36 Malaysia 34 5.4

5.2 37 Japan 37 5.35.3 35 China 38 5.35.1 41 Vietnam 47 5.0 4.8 50 Indonesia 48 4.94.4 65 Thailand 61 4.6

3.9 83 Mongolia 62 4.64.2 74 Philippines 66 4.34.1 77 India 87 3.83.9 87 LAO PDR 88 3.83.8 89 Cambodia 100 3.62.3 137 Timor-Leste 130 2.52.2 139 Myanmar 137 2.1

2013- 2014 2014 - 2015

38

Page 39: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

การวิจัยและบริการฝกึอบรมที่ใช้ประโยชน์ได้

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน5.3 4 Japan 2 5.45.1 11 Malaysia 4 5.35.2 6 Singapore 7 5.35 15 New Zealand 17 4.94.6 25 Indonesia 24 4.74.7 21 Hong Kong SAR 26 4.64.6 27 Philippines 27 4.6

4.5 30 Australia 30 4.54.2 50 Thailand 37 4.44.5 31 Taiwan, China 41 4.44.2 55 LAO PDR 45 4.34.3 48 China 46 4.3

4.2 51 Korea, Rep. 53 4.24 73 Mongolia 73 4.04.2 53 India 77 3.94 66 Cambodia 82 3.93.7 98 Vietnam 85 3.93.2 132 Timor-Leste 136 3.02.6 146 Myanmar 138 2.9

2013- 2014 2014 - 2015 ขอบเขตการฝกึอบรม

คะแนน อันดบั ������ อันดบั คะแนน5.5 12 Japan 9 5.65.4 14 Singapore 12 5.55.3 20 Malaysia 13 5.45.4 16 Taiwan, China 14 5.45.8 7 Hong Kong SAR 16 5.45.1 23 Australia 23 5.24.9 28 New Zealand 26 4.9

4.8 31 Korea, Rep. 36 4.74.4 51 Philippines 49 4.44.5 48 Indonesia 50 4.44.4 62 China 58 4.44.5 47 India 64 4.2

4.3 64 Thailand 69 4.23.9 88 LAO PDR 83 3.93.9 90 Cambodia 104 3.63.3 125 Vietnam 118 3.32.9 140 Myanmar 135 2.92.7 145 Mongolia 137 2.82.8 141 Timor-Leste 141 2.7

2013- 2014 2014 - 2015

39

Page 40: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

• บริหารจัดการข้อมูลที่เป็นข้อมูลเชิงสถิติกับหน่วยงานที่นําข้อมูลไปจัดอันดับ

• การประสานสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานที่จัดการศึกษาแหล่งข้อมูลปฐมภูมิโดยจัดสัมมนาสร้างความรู้ความเข้าใจ ให้กับผู้ที่เกี่ยวข้องในการเก็บและรายงานข้อมูลสถานศึกษา เขตพื้นที่การศึกษา ส่วนกลาง เพื่อยกระดับคุณภาพการเก็บข้อมูลให้มีข้อมูลครบทุกรายการที่พึงมี

ข้อเสนอแนะในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน

40

Page 41: 322 IMD WEF2015 edit.pptx)International Institute for Management Development (IMD): World Competitiveness Yearbook 2015 World Economic Forum (WEF): The Global Competitiveness Report

• จัดประชุมร่วมกับภาคเอกชนที่คาดว่าเป็นกลุ่มเป้าหมายในการตอบแบบสํารวจความคิดเห็น ของ IMD และ WEF เพื่อกําหนดแนวทางการทําความเข้าใจเกี่ยวกับในเรื่องนโยบายการศึกษา การจัดการศึกษา และทิศทางการผลิตกําลังคนของประเทศที่ตอบโจทย์การพัฒนาประเทศ

• จัดทําแผนประชาสัมพันธ์และเผยแพร่ข้อมูลตัวชี้วัดการศึกษาที่ถูกนําไปใช้ในการจัดอันดับความสามารถทางการแข่งขันของประเทศ เพื่อสร้างเกิดการรับรู้วงกว้างทั้งภาคการศึกษา ภาคธุรกิจ เพื่อให้เกิดความเข้าใจ

ข้อเสนอแนะในการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน (ต่อ)

41