10 บทที่ 2 - Burapha...

24
บทที2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ ในการศึกษาครั้งนี้ไดศึกษา คนควา แนวคิด และงานวิจัยที่เกี่ยวของกับแรงสนับสนุน ทางสังคมที่มีผลตอภาวะฟนผุของนักเรียน เพื่อนํามาประยุกตใชเปนแนวทางและสรางกรอบ แนวคิดในการศึกษา ดังตอไปนี1. ภาวะฟนผุ 1.1 ความหมายของภาวะฟนผุ 1.2 โครงสรางของฟนและอวัยวะที่เกี่ยวของ 1.3 ทฤษฎีของการเกิดโรคฟนผุ 1.4 สาเหตุและกระบวนการเกิดโรคฟนผุ 1.5 การตรวจวินิจฉัยภาวะฟนผุ 1.6 สถานการณการเกิดโรคฟนผุ 2. ปจจัยที่มีผลตอการเกิดโรคฟนผุ 3. การดูแลทันตสุขภาพและการปองกันการเกิดโรคฟนผุของนักเรียน 4. แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support) 5. งานวิจัยที่เกี่ยวของ ภาวะฟนผุ 1. ความหมายของภาวะฟนผุ คือ คาเชิงปริมาณความชุกของโรคฟนผุ หรืออุบัติการณ ของโรคฟนผุในกลุมประชากรที่กําหนดได โดยที่ความชุกของโรคฟนผุจะหมายถึง อัตราสวนของ ประชากรที่เกิดโรคฟนผุที่ผานมาในอดีตและปจจุบัน สวนอุบัติการณของโรคฟนผุ จะหมายถึง จํานวนของประชากร หรืออัตราสวนของประชากรที่เกิดฟนผุในชวงเวลาหนึ่ง ซึ่งโดยทั่วไปจะคิด เวลาชวงละ 1 2. โครงสรางของฟนและอวัยวะที่เกี่ยวของ (วีระชาติ ยุทธชาวิทย, 2546) ฟนธรรมชาติ ของมนุษยมี 2 ชุด คือ ฟนน้ํานมและฟนแท โดยฟนน้ํานม (Deciduous teeth) เปนฟนชุดแรกมี จํานวน 20 ซีขึ้นตอนอายุ 6 – 7 เดือน ฟนแท (Permanent teeth) มีจํานวน 32 ซีขึ้นตอนอายุ 6 2.1 โครงสรางของฟน ประกอบดวยโครงสรางภายนอกของฟน และภายในตัวฟน ดังภาพที2

Transcript of 10 บทที่ 2 - Burapha...

Page 1: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวของ

ในการศึกษาครั้งนี้ไดศึกษา คนควา แนวคดิ และงานวิจยัที่เกี่ยวของกับแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีผลตอภาวะฟนผุของนักเรียน เพื่อนํามาประยุกตใชเปนแนวทางและสรางกรอบแนวคดิในการศึกษา ดังตอไปนี ้

1. ภาวะฟนผุ 1.1 ความหมายของภาวะฟนผุ 1.2 โครงสรางของฟนและอวัยวะที่เกี่ยวของ 1.3 ทฤษฎีของการเกิดโรคฟนผุ 1.4 สาเหตุและกระบวนการเกิดโรคฟนผุ 1.5 การตรวจวินิจฉยัภาวะฟนผุ 1.6 สถานการณการเกดิโรคฟนผุ 2. ปจจัยที่มีผลตอการเกิดโรคฟนผุ 3. การดูแลทนัตสุขภาพและการปองกนัการเกิดโรคฟนผุของนักเรียน 4. แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support) 5. งานวิจยัที่เกี่ยวของ

ภาวะฟนผุ 1. ความหมายของภาวะฟนผุ คือ คาเชิงปริมาณความชกุของโรคฟนผุ หรืออุบัติการณ

ของโรคฟนผุในกลุมประชากรที่กําหนดได โดยที่ความชุกของโรคฟนผุจะหมายถึง อัตราสวนของประชากรที่เกดิโรคฟนผุที่ผานมาในอดตีและปจจุบัน สวนอุบัติการณของโรคฟนผุ จะหมายถึง จํานวนของประชากร หรืออัตราสวนของประชากรที่เกดิฟนผุในชวงเวลาหนึ่ง ซ่ึงโดยทัว่ไปจะคดิเวลาชวงละ 1 ป 2. โครงสรางของฟนและอวัยวะทีเ่กี่ยวของ (วีระชาติ ยุทธชาวิทย, 2546) ฟนธรรมชาติของมนุษยมี 2 ชุด คือ ฟนน้ํานมและฟนแท โดยฟนน้าํนม (Deciduous teeth) เปนฟนชุดแรกมีจํานวน 20 ซ่ี ขึ้นตอนอายุ 6 – 7 เดือน ฟนแท (Permanent teeth) มีจํานวน 32 ซ่ี ขึ้นตอนอายุ 6 ป 2.1 โครงสรางของฟน ประกอบดวยโครงสรางภายนอกของฟน และภายในตวัฟน ดังภาพที่ 2

Page 2: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

9

ภาพที่ 2 โครงสรางและสวนประกอบของฟน

2.1.1 โครงสรางภายนอกของฟน รูปรางภายนอกของฟนทั้งซี่ แบงไดเปน 2 สวน คือ ตัวฟนเปนสวนของฟนทั้งหมดที่มองเห็นในชองปากและรากฟนเปนสวนที่ตอจากตวัฟนอยูใตเหงือกมองไมเหน็ในชองปาก 2.1.2 โครงสรางภายในของฟน เมื่อนําฟนมาผาซีกตามยาวจะพบ สวนประกอบดังนี ้ 2.1.2.1 ช้ันเคลือบฟน คลุมอยูนอกสุดของตัวฟน สวนใหญมีสีขาวใสเปนสวนที่แข็งที่สุดของรางกาย 2.1.2.2 ชั้นเคลือบรากฟน คลุมอยูนอกสุดของรากฟนมักมีสีเหลืองและแข็งแรงนอยกวาเคลือบฟน 2.1.2.3 ชั้นเนือ้ฟน อยูถัดจากชั้นเคลือบฟนในสวนของตัวฟน และถัดจากชั้นเคลือบรากฟนในสวนของรากฟน ปกติมีสีเหลือง 2.1.2.4 ชั้นโพรงประสาทฟน เปนสวนในสุดของฟน ประกอบดวยเสนเลือด ทอนํ้าเหลืองและเสนประสาทเล็ก ๆ ทําหนาที่หลอเล้ียงใหฟนมีชวีิต และรับรูความรูสึกเจ็บปวดได

ลักษณะโครงสรางของฟน (Tooth) ที่ประกอบดวยแรธาตุถูกสรางขึ้นมาดวยลักษณะแข็งแรงสมบรูณ จะมีลักษณะแข็ง เรียบ เปนเงา ทนทาน แตถาฟนทีถู่กสรางขึ้นมาไมสมบรูณ จะมีลักษณะออนยุย ทําใหไมทนทานเกดิการผุงาย ความเรียบหรือขรุขระของผิวฟน ถายิ่งขรุขระ ก็ยิ่งเปนที่กักเก็บเศษอาหาร แผนคราบฟนไดเปนอยางด ี ทําใหเกิดฟนผุไดเร็วขึ้น ปริมาณของฟลูออไรดที่มีอยูในชัน้ผิวเคลือบฟน ถามีฟลูออไรดเปนสวนประกอบอยู ก็จะทําใหความตานทานตอกรด และการละลายตัวไดมากขึ้น ความสะอาดของฟนถาสุขภาพชองปากไมสะอาด มีการสะสมของแผนคราบฟนมาก ก็จะทําใหจุลินทรียและเศษอาหารที่สะสมที่ตัวฟนมากขึ้น ฟนก็จะผุมากขึ้น

Page 3: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

10

2.2 อวัยวะที่เกี่ยวของในชองปาก ดังภาพที่ 3

ภาพที่ 3 อวัยวะที่เกี่ยวของในชองปาก ลักษณะเฉพาะพิเศษของปากก็คือ ริมฝปากและแกมเคลื่อนไหวได เพื่อเปนปากที่ดดูได ปากเปนสวนตนของระบบการยอยอาหาร ซ่ึงเกี่ยวของกับการยอยโดยการเคี้ยวใหอาหารมีขนาดเล็กลง การรับรูรส และการหลั่งน้ําลาย นอกจากนัน้ในคนยังใชในการ พูดคุยดวย 2.2.1 ปากแบงไดเปน 2 สวน คือ

2.2.1.1 ชองปากแท อยูลึกกวาฟนและเหงอืก ตอกับคอหอยสวนปาก 2.2.1.2 ชองกระพุงปากหรือกระพุงแกม เปนชองระหวางแกมและ ริมฝปาก ทางดานนอกกับฟนและเหงือกทางดานใน มีทอน้ําลายพาโรติดมาเปดสูกระพุงแกมตรง ระดับฟนกรามบนซี่ที่สอง 2.2.2 เหงือก (Gingiva/ gum) เปนเนื้อเยือ่ปกคลุม กระดูกขากรรไกรที่ฟนฝงตัวอยู เหงือกปกติมีสีชมพูออน หรือสีคล้ํา ถาสีผิวดํา เนื้อแนน ขอบเหงอืกบางแนบคอฟนมีรองลึกลงไปประมาณ 1 - 2 มิลลิเมตร ผิวเหงือกมีจุดบุมเล็ก ๆ ประปรายคลายผิวสม 2.2.3 ริมฝปาก (Lips) ภาษาชาวบาน หมายถึง ขอบปากสีแดงเทานั้น แตทางกายวิภาคศาสตร หมายถึง บริเวณตั้งแตผิวหนังถึงเยื่อเมอืกดานในที่ตอกับเหงือก และปากสีแดงเปนสวนหนึ่งของริมฝปากเทานั้น ภายในริมฝปากประกอบดวยกลามเนื้อลาย ดานนอกเปนผิวหนัง ดานในเปนเยื่อเมือก และขอบปากสีแดง ริมฝปากจึงเคลื่อนไหวได เปนสวนนอกสุดของชองปากชวยใหการออกเสียง เชน ตัว พ ป

Page 4: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

11

2.2.4 เพดานปาก (Palate) ประกอบดวย เพดานแข็ง (Hard palate) และเพดานออน (Soft palate) 2.2.5 ล้ิน (Tongue) ประกอบดวยกลามเนือ้ลายเปนสวนใหญ ซ่ึงมีเยื่อเมือกคลุมดานบน และดานขางของกลามเนื้อ เยื่อเมือกที่คลุมดานบนของลิ้นไมเรียบ ยื่นขึ้นมาเปนปุมแหลม ปุมรูปดอกเหด็แตละปุม มรีองซึ่งมีเซลลรับรสอยูโดยรอบ ล้ินมีหนาที่เกี่ยวของกับการเคี้ยว การกลืนและการรับรสในคนยังใชพูดดวย (วิเชียร ดิลกสัมพนัธ และชูศักดิ ์เวชแพศย, 2552) 2.2.6 ตอมน้ําลาย เกี่ยวของกับการเกดิโรคฟน โดยพบวา ผูที่มีการคัดหล่ังของน้ําลายจะมีอัตรานอยจะมีอัตราการเกิดฟนผุสูงกวาบุคคลปกติทั่วไป น้าํลายจึงทําหนาที่เสมือนดานแรกในการตอตานการเกดิฟนผุ การติดเชือ้ในชองปาก การสึกของฟนและอันตรายที่เกิดขึ้นบริเวณเยื่อเมือกชองปาก ตอมน้ําลายแบงออกเปน 2 ชนิดใหญ ๆ คือ ตอมน้ําลายใหญ (Major salivary gland) และตอมน้ําลายเล็ก (Minor salivary gland) โดยตอมน้ําลายใหญมตีอมใหญ 3 คู คือ ตอมน้ําลายใตหู (Parotid gland) ตอมน้ําลายใตขากรรไกรลาง (Submandibular gland) และตอมน้ําลายใตล้ิน (Sublingual gland) สวนตอมน้ําลายเล็ก เปนตอมทีข่นาดเล็กที่กระจายในชองปาก เชน น้ําลายริมฝปาก ตอมน้ําลายที่แกม (สิทธิชัย ขุนทองแกว, 2552) ดังภาพที่ 4 โดยมีรายละเอียดดังนี้

ภาพที่ 4 ตําแหนงของตอมน้ําลาย 2.2.6.1 ตอมน้ําลายพาโรติด (Parotid) เปนตอมน้ําลายที่ใหญที่สุด อยูที่ดานขางของใบหนาระหวางหูกับคางมีทอไปเปดสูกระพุงแกม 2.2.6.2 ตอมน้ําลายใตคาง ขนาดเล็กกวา อยูใตกระดกูคางทั้งสองขาง มีทอไปเปดสูชองปากแท ตรงระหวางใตปลายล้ินกับพื้นปาก

ตอมน้ําลายพาโรติด

ตอมน้ําลายใตคาง ตอมน้ําลายใตลิ้น

Page 5: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

12

2.2.6.3 ตอมน้ําลายใตล้ิน ขนาดเล็กที่สุด อยูใตเยื่อเมือกของปาก ที่สองขางล้ิน มีทอเล็ก ๆ หลายทอเปดสูชองปากแท

3. ทฤษฎีการเกิดโรคฟนผุ (พิริยะ เชดิสถิรกุล, 2550) มี 3 ทฤษฎี คือ 3.1 ทฤษฎีการเกิดกรด (Chemo-parasitic theory หรือ Acidogenic theory) ของ W.D. Miller (1889) นักวิทยาศาสตรชาวอเมริกัน เปนทฤษฎีที่ยอมรับและนาเชื่อถือ ซ่ึงอธิบายถึงกรดที่เกดิจากการหมักอินทรียสาร โดยพบวา เชื้อโรคนั้นสามารถยอยน้ําตาลใหเปนกรดขึ้นได โดยกรดที่ถูกสรางขึ้นนั้น คือ กรด Lactic และกรดนี้ สามารถยอยผลึก Hydroxy apatite ซ่ึงเปนโครงสรางของเคลือบฟน (Enamel) ซ่ึงมผีลึก Apatite เปนองคประกอบอยูถึงรอยละ 95 โดยพบวา เมื่อเราทานอาหารพวกคารโบไฮเดรต โดยเฉพาะน้ําตาลเขาไปแลว pH ในชองปากของเราลดลงจาก 6 เหลือเพียง 4.5. - 5 ภายในเวลา 1 – 3 นาที และใชเวลานานถึง 30 นาที จึงจะกลับสูภาวะปกติ 3.2 ทฤษฎีการสลายโปรตีน (Proteolytic theory) ผูนําทฤษฎนีี้คือ Gottilieb (1944) อธิบายถึงการเกิดเอนไซนทําลายโปรตีนในเคลือบฟน ทฤษฎีนี้กลาววา Proteolytic enzyme ที่ปลอยออกมาจากเชื้อ Bacteria นั้นสามารถทําลาย Organic matrix ของเคลือบฟน ทําใหเกิดการสลายของผลึก Apatite และเกิดการสูญเสียโครงสรางของฟนและทําใหเกิดฟนผุได แตทฤษฎีนี้ไมไดรับการยอมรับมากนัก เพราะโครงสรางของเคลือบฟน นั้นสวนใหญเปนสาร Inorganic ไมใช Organic ทฤษฎีนี้จึงเชื่อวามผีลในเรื่องการลุกลามของฟนผุในชั้นเนื้อฟน (Dentin) มากกวาการผุในระยะเริ่มแรกของชั้นเคลือบฟน เพราะชัน้เนื้อฟน มีสวน Organic substance มากกวาชั้นเคลือบฟน 3.3 ทฤษฎีสลายการยดึเกาะของโปรตีนและแรธาตุ (Proteolysis - chelation theory) กลาวถึง ผลจากการละลายโปรตีนทําใหเกิดการดึงแคลเซียมออกมาโดยไมตองใชกรด เสนอโดย Schatz and Martin ในป 1995 กลาววา “สารบางชนิดจะถูกปลอยออกมาในขณะที่ จุลินทรียทําปฏิกิริยากับเคลอืบฟนและเนือ้ฟน ในภาวะที่มีอาหารอยูดวย ซ่ึงสารนี้เขาจับกับ แคลเซียมไอออน ของเคลือบฟนได แมจะอยูในภาวะที่เปนกลางหรือดางก็ตาม ทําใหเกิดการทําลายของเคลือบฟน ไดแมจะไมมกีรดเกดิขึ้นก็ตาม แตตอมามกีารคนพบ น้ําลายและคราบจุลินทรีย มีการสราง Chelating agent ในการจับการ แคลเซียมไอออนไดนอย ทฤษฎีนี้มีผลในการเปนปจจยัเสริมของการเกิดโรคฟนผุมากกวาหลังจากผานชวงที่เปนกรดในทฤษฎีที่ 1 ไปแลว

4. สาเหตุและกระบวนการเกดิโรคฟนผุ 4.1 สาเหตุที่ทําใหเกิดฟนผุ คือ แบคทีเรียที่เรียกวา Mutans streptococcus ซ่ึงมี

คุณสมบัติ 3 ประการ (สิทธิชัย ขุนทองแกว, 2552) ดังนี ้

Page 6: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

13

4.1.1 มีความสามารถในการสรางพอลิเมอรภายนอกเซลล (Extracellular polysaccharide) เพื่อทําใหเกดิไบโอฟลมที่มีความแข็งแรงและเปนสารหอหุมเซลล นอกจากนั้นยงัตองมีความสามารถ ในการสรางพอลิเมอรภายในเซลล (Intracellular polysaccharide) เพื่อเก็บไวเปนสารอาหารสํารองยามที่เซลลขาดแคลนอาหาร

4.1.2 มีความสามารถในการนําน้ําตาลเขาสูเซลลและมีการสลายใหไดกรด อยางรวดเร็ว เพื่อใหไดพลังงานไวในการเจริญเติบโตของเซลล

4.1.3 มีความสามารถในการเมแทบอลิซึมน้ําตาล แมในภาวะที่ไมเอือ้ อํานวย โดยแบคทีเรียพวกนี้ จะตองเปนแบคทีเรียที่สรางกรด (Acidogenic bacteria) และเปนแบคทีเรียที่ชอบภาวะที่เปนกรด (Aciduric bacteria)

คุณสมบัติที่กลาวมาเปนสาเหตุของการเกดิโรคฟนผุ นั้นคือ แบคทีเรีย Mutans streptococcus ที่อาศัยในคราบจุลินทรีย (Dental plaque) และในแผนคราบจุลินทรียซ่ึงมีลักษณะเปนแผนฟลม นุม ๆ บาง ๆ มีสีเหลืองซีดถึงสีขาวและเหนียวติดฟน การเกิดคราบจุลินทรียเร่ิมตนจากการจับของ กลัยโคโปรตีน (Glycoprotein) ในน้ําลายและจุลินทรยีตาง ๆ ในชองปาก คราบ จุลินทรียที่ทิ้งไวนาน ๆ จะมแีคลเซียมมาตกตะกอนและแข็งตัว เรียกวา หินน้ําลาย (Calculus) แตก็ไมมีจุลินทรีย ตัวใดที่มีคุณสมบัติ 3 ประการที่ทําใหเกดิโรคฟนผุได นอกจาก แบคทีเรีย Mutans streptococcus ยิ่งแผนคราบจลิุนทรียติดที่ฟนนาน ยิ่งทําเชื้อแบคทีเรียนีเ้จริญเติบโตไดดี เพิ่มจํานวนขึ้น จนปลอยกรดไปกดักรอนฟน เปนระยะเวลาที่เหมาะสม (Time) ก็ทําใหเกิดฟนผุ

4.2 กระบวนการเกิดฟนผุ การเกิดโรคฟนผุมีการสูญเสียแรธาตุ และการสรางแรธาตุ กลับคืน (Demineralization and demineralization) ชวงการเกิดโรคฟนผุนั้น มีการเคลื่อนไหวของแรธาตุกลับไปกลับมาตลอดเวลา จนอยูในสมดุลเมื่อเสียสมดุลก็จะเกิดโรคขึ้น เมื่อมีกรดเกดิขึ้น กรดจะซึมผานแผนคราบจลิุนทรียเขาไปในชั้นเคลือบฟน ทําใหเกิดการละลายตัวและสูญเสียแรธาตุ ซ่ึงแรธาตุนี้จะละลายผาน แผนคราบจุลินทรียออกสูน้ําลาย เมื่อกรดใชหมดไปหรือจางลง แรธาตุรอบ ๆ จะรวมตัวกันใหม เกดิการสรางแรธาตุกลับคืนเขาไปในเคลือบฟนได ในลักษณะหมุนเวียน อยูเร่ือยไป คนที่ไมมีฟนผุ เกิดจากภาวะสญูเสียแรธาตุเกดิเทากับการสรางแรธาตุกลับคืน ใหอยูในภาวะสมดุล แตเมื่อใดที่มกีารสูญเสียความสมดุลดังกลาว โดยเกดิภาวะสูญเสียแรธาตุมากกวาการสรางแรธาตุกลับคืน ฟนจะออนแอลงจนเกิดรูผุในที่สุด

ในภาวะปกติการสรางแรธาตุกลับคืน จะเกดิขึ้นชา และใชระยะเวลา เมือ่เกิดการสูญเสียแรธาตุกลับคืน ฟนจะเกดิการผุ ดังภาพที ่ 5

Page 7: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

14

ภาพที่ 5 กระบวนการเกิดฟนผุ

5. การตรวจและวินิจฉยัภาวะฟนผุ (Decay missing filling index) องคการอนามัยโลก (World Health Organization or WHO) ไดเสนอแนะใหใชดัชนีฟนผุ ถอน อุด สําหรับโรคฟนผุ ซ่ึงดัชนีนี้ใชเปนสากลทั่วโลก ดัชนีผุถอนอุด (DMF Index) เปนดัชนีทีใ่ชกันอยางแพรหลายมานานกวา 30 ป ดัชนีนี้สามารถประยุกตใชไดทั้งฟนแท และฟนน้าํนม สําหรับฟนแทสัญลักษณที่ใชสําหรับ ดัชนฟีนผุถอนอุด เปนตัวพิมพใหญ คือ DMF ซ่ึงอาจใชเปน DMFT (Decay missing filling teeth index) หรือ DMFS (Decay missing filling surface index) ขึ้นอยูกับหนวยนับวา เปนซี่ตอคน หรือเปนดานตอคน (กองทันตสาธารณสุข, 2540) 5.1 การตรวจฟนแทโดยตรวจฟนทุกซี่ที่มสีวนใดสวนหนึ่งของฟนงอกโผลพนเหงือก ขณะทีต่รวจนัน้ตองใชเครื่องมือที่เรียกวา “ที่เขี่ยหาฟนผุ (Explorer)” ตองไมรบกวนเหงือก เพราะถาเหงือกบวมอาจมเีลือดออกได วิธีการตรวจตองใชแสงสะทอนของธรรมชาติ และไมใชวธีิทางรังสีในการวินิจฉัยสถานภาพฟนผุ ตรวจแจงนับเปนรายซี่ โดยมีเกณฑวินจิฉัย และลงรหัสในแบบบันทึกการตรวจตามแบบบันทึกการตรวจภาวะโรคฟนผุดังนี ้ 18 17 16 15 14 13 12 11 21 22 23 24 25 26 27 28 38 37 36 35 34 33 32 31 41 42 43 44 45 46 47 48 5.1.1 ฟนปกต ิ(Sound crown) ตองไมมีรองรอยการรักษา หรือเคยบําบัดโรคฟนผุมากอน ฟนผุในระยะเริ่มแรกกอนจะพบรอยผุ หรือลักษณะที่คลายฟนผุแตเห็นไมชัด ไมนํามาลงในรหัสนี ้คือ ตัวฟนมีลักษณะผิดปกต ิ(Defect) ตาง ๆ ดังนี้ (ไมมีความผิดปกติอ่ืน ๆ นอกเหนือ ไปจากนี้ลงในรหัสเปนฟนปกติ) มีจดุขาวหรือขาวขุนคลายชอลก (White or chalky spots) ฟนเปล่ียนสี หรือมีรองรอยขรุขระ ที่ใชเครื่องมือตรวจปริทนัต แตะแลวไมมีลักษณะออนนิ่ม บริเวณหลุมรองฟนมกีารเปลี่ยนสี แตเมื่อมองดวยตาเปลานั้น ไมสามารถบอกได วามีความผิดปกติใตเคลือบฟน หรือมีพื้นผิวออนนิ่มเมื่อใชเครือ่งมือตรวจปรทิันต ตรวจ มจีุดสีดําแข็ง มนัวาวและเปน

แปง น้ําตาล + แผนคราบจุลินทรีย เวลา กรดในแผนคราบจุลินทรีย

กรดในแผนคราบจุลินทรีย + ฟน เวลา ฟนผุ

Page 8: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

15

หลุมที่เคลือบฟนมีลักษณะของฟนตกกระระดับปานกลาง (Moderate) ถึงรุนแรง (Severe) รอยโรคที่เกิดจากการสึก (Abrasion) ของฟนที่บอกไดจากลักษณะการกระจาย หรือการซักประวัต ิการดูดวยตาเปลาหรือการสัมผัสในการตรวจ ใหลงรหัส 0 5.1.2 ฟนผุ (Decayed crown) มีลักษณะหลุมรองฟน หรือบริเวณสวนเรยีบของฟน ที่มีรอยผุใตช้ันเคลือบฟนเปนโพรง มีพื้นหรือผนังออนนิ่ม ฟนที่มีการบูรณะแบบชั่วคราว หรือเคลือบหลุมรองฟนไวแลว แตยังมีการผุอีกหรือในกรณีทีต่ัวฟนผุหมด เหลือแตรากฟน แตถาไมแนใจวาฟนผุแนนอนหรือไม จะไมบนัทึกวาฟนผุ ใหลงรหัส 1 5.1.3 ฟนอุดแลวมีการผุอีก (Filled Crown, with Decay) มีการอุดแบบถาวรบนตัวฟนนั้นแลว 1 แหงหรือมากกวา และยังมกีารผุบริเวณอื่นตออีกหนึ่งแหงหรือมากกวา โดยไมแยกวาเปนฟนผุใหม หรือฟนผุซ้ําตําแหนงเดิม (Secondary Caries) ใหลงรหัส 2 5.1.4 ฟนอุดแลวไมมีการผุอีก (Filled Crown , with no Decay) เมื่อตัวฟนนั้น ๆ มีการอุดถาวรแลว 1 แหงหรือมากกวาและไมมีรองรอยการผุในสวนใด ๆ เพิ่มเติม ฟนที่เคยผุและไดรับการครอบฟนแลว ก็ลงรหัสนี้เชนกนั ใหลงรหัส 3 5.1.5 ฟนถอนเนื่องจากฟนผุ (Missing tooth, As a result of caries) ใชสําหรับบันทึก ฟนแทที่ถูกถอนเนื่องจากฟนผุ ใหลงรหัส 4

5.2 การคํานวณภาวะฟนผุ นําจํานวนฟนผุ อุด และถอน (ซ่ี) รวมกัน

DMFT = D + M + F

D = ฟนถาวรไมวาการผุนัน้ จะสามารถบูรณะไวได หรือไมก็ตามและรวมถึงฟนที ่ บูรณะไวแลว แตมีการผุตอหรือผุใหม M = ฟนที่ถอนไปแลว เนื่องจากการผ ุ(Missing) F = ฟนที่รักษา โดยการอุด หรือบูรณะไวใหใชงานได (Filling) T = หนวยนบัเปนซี่ (Tooth)

5.3 การคํานวณคาดัชนีฟนผุ คือ นําคาฟนผุ ฟนที่ถอนไปแลวและฟนที่บูรณะแลว มารวมกันแลวนําจํานวนคนที่ไดรับการตรวจทั้งหมดมาหาร ผลลัพธที่ได คือ คาดัชนฟีนผุ ถอน อุด มีหนวยเปน ซ่ี ตอคน

คาเฉลี่ย DMFT = N

FMD∑ ++

N = จํานวนคนทั้งหมดทีไ่ดรับการตรวจ

Page 9: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

16

6. สถานการณภาวะฟนผุ (สิทธิชัย แกวขุนทอง, 2552) โรคฟนผุเปนปญหาสุขภาพที ่สําคัญจากขอมูลภาวะสุขภาพชองปาก ขององคการอนามัยโลก แสดงใหเห็นวา ในชวงทศวรรษที่ผานมามีการเปลี่ยนแปลงความชุก (Prevalence) ของโรคฟนผุ โดยคาเฉลี่ยฟนผุ ฟนถอน ฟนอดุ (Decayed, Missing and Filled Teeth, DMFT) ของนักเรียนอาย ุ12 ป ในทวีปอเมริกามีคาสูง ขณะ ที่นักเรียนในแอฟริกา มีคา DMFT คอนขางต่ํา ดูจากขอมูลของ WHO ค.ศ. 1980 ที่ไดจาก 107 ประเทศ พบวารอยละ 51 ของประเทศเหลานั้น มีนักเรยีนอายุ 12 ปที่มี DMFT เทากับ 3 หรือนอยกวา ขณะที่นักเรียนอายุ 12 ของประเทศ ที่เหลือมี DMFT มากกวา 3 เมื่อเปรียบเทียบกับขอมูล ค.ศ. 2000 จาก 184 ประเทศ พบวารอยละ 68 ของประเทศเหลานั้นมี DMFT ต่ํากวา 3 ซ่ึงแสดงวา โรคฟนผุในนกัเรียนอายุ 12 ป ของประชากรมีแนวโนมลดลง แตเมื่อพิจารณาในรายละเอียด แลวพบวา แนวโนมความชุกของโรคฟนผุ ในประชากรของประเทศอุตสาหกรรม หรือประเทศทีพ่ัฒนาขณะทีก่ารเปลี่ยนวิถีชีวิต จากชนบทเปนชุมชนเมือง การเปลี่ยนพฤติกรรมการบริโภคอาหารจากผักและผลไม เปนการบริโภคอาหารทั้งประเภทแปง และน้ําตาลมากขึ้นรวมทั้ง การขาดแคลนในเรื่องบริการรักษาทางทันตกรรม (Oral health service) มีผลทําให DMFT ของประชากรในประเทศทีก่าํลังพัฒนามีแนวโนมสูงขึ้น นอกจากนั้นเปนที่นาสังเกตวา ลักษณะการเกิดโรคฟนผุในประเทศที่กําลังพัฒนา จะมีอัตราความชุก (Prevalence rate) รอยโรคที่พบในฟนถาวรจะเปนการผุดานบดเคี้ยว แนวโนมสถานการณภาวะฟนผุในนกัเรียนประถม การสํารวจสภาวะทันตสุขภาพระดับ ชาติคร้ังแรกเริม่ตั้งแต พ.ศ. 2520 ดําเนินการตอเนื่องมาใน พ.ศ. 2527, พ.ศ. 2532, พ.ศ. 2537, พ.ศ. 2543 – 2544, พ.ศ. 2549 – 2550 โดยมีหนวยงานทีรั่บผิดชอบหลัก คือ กองทนัตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข เพื่อเปนการประเมินการเกิดโรคฟนผุในฟนแท โดยใชกลุมอายุ 12 ป เปนตัวแทนของนักเรียนวยัเรียน ซ่ึงเปนชวงอายุที่มีฟนแทครบ 28 ซ่ี ใชเปนกลุมเปรียบเทียบความรุนแรงของฟนผุในประเทศตาง ๆ การสํารวจสภาวะทนัตสุขภาพระดับประเทศ พบวา นกัเรียนกลุมอาย ุ12 ป ใน พ.ศ. 2527, พ.ศ. 2532, พ.ศ. 2537, พ.ศ. 2543-44, พ.ศ. 2549-50 มีภาวะฟนถาวรผุรอยละ 45.8, 49.2, 53.9, 57.3 และ 56.9 พ.ศ. 2527 และ 2532 มีดัชนีฟนผุ 1.5 พ.ศ. 2537 พ.ศ. 2543-2544 และ พ.ศ. 2549 - 2550 มีดัชนีฟนผุ 1.6 การสํารวจสภาวะทนัตสุขภาพระดับภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ พบวา นกัเรียนกลุมอาย ุ12 ป ที่เปนโรคฟนผุเพิ่มขึ้นจากรอยละ 18.7 ในป พ.ศ. 2527 เปนรอยละ 51.10 ในป พ.ศ. 2550 โดยมีคาเฉลี่ยฟนผุ ถอน อุดเพิ่มขึน้จาก 0.5 เปน 1.27 ซ่ีตอคน (กองทันตสาธารณสุข, 2551)

Page 10: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

17

จากรายงานผลการตรวจเฝาระวังทางทันตสุขภาพในโรงเรียนประถมศกึษาของจังหวดักาฬสินธุ ปการศึกษาที่ 2550, 2551 และ 2552 รอยละ 51.5, 57.2 และ 60.1 มีคาเฉลี่ยผุ อุด ถอน (คา DMF) เทากับ 1.7, 1.8 และ 1.9 ซ่ีตอคน (สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดกาฬสินธุ, 2552)

ปจจัยที่มีผลตอการเกิดโรคฟนผุ จากการสังเคราะห พบวา ปจจัยที่มีผลตอการเกิดภาวะฟนผุ คือ ปจจัยดานปจเจกบุคคล ปจจัยดานพืน้ฐานครอบครัว (กองทันตสุขภาพ, 2540) ดังนี ้ 1. ปจจัยดานปจเจกบุคคล 1.1 เพศ นักเรียนหญิงมีฟนแท ขึ้นเร็วกวานักเรียนชายเล็กนอย จึงเพิม่โอกาสเสี่ยงตอโรคฟนผุมากกวา แตขึ้นกับสภาพแวดลอมในชองปากดวยและการดูแล พบวา นกัเรียนหญิงฟนขึ้นเร็วกวาจึงมีความเสี่ยงในการผุมากกวานักเรียนชาย 1.2 ภูมิคุมกัน พบไดในคนบางคน ที่มีปญหาสุขภาพรางกายไมสมบรณู คือ ภาวะ ทุพโภชนาการ รางกายขาดสารอาหารมาก ๆ ไมสมบรูณจริง ๆ จึงจะสงผล ทําใหโครงสรางของฟนไมแข็งแรง ถูกทําลายงาย โรคของระบบรางกาย คือ โรคเกี่ยวกับภูมิคุมกัน คนที่ไดรับการรักษามะเร็งในทางเคมี รวมกับการฉายแสงบรเิวณใบหนาและลําคอ ทําใหการทํางานของตอมน้ําลาย ลดลง ชองปากแหงผิดปกต ิ การชะลางอาหารและคราบจุลินทรียทําไดไมด ี ถารวมกับการดูแลทันตสุขภาพไมเพียงพอดวยแลว คนกลุมนี้ยอมเกิดฟนผุไดสูง ทั้งนี้ขึ้นกบัการดูแลความสะอาด ชองปาก เปนหลักมากกวา สวนสภาพรางกาย เปนเพยีงตัวเสริมใหโรครุนแรงขึ้น 1.3 ภาวะโภชนาการ จากรายงานการศกึษาพบวานกัเรียนที่มีภาวะทุพโภชนาการมี ฟนผุ และเหงอืกอักเสบสูงกวานักเรียนที่มภีาวะโภชนาการปกติ 1.4 พฤติกรรมการบริโภคขนมหวาน การสํารวจการบริโภคขนม ของนักเรียนซึ่งดําเนิน การใน 24 จังหวดัทั่วประเทศ ใน พ.ศ. 2548 โดยทําการสํารวจจากขยะขนมของนักเรียนที่บริโภคในวนัเปดเรียน 1 วัน จากนกัเรียนโรงเรียนประถมศึกษา 143 แหง และศนูยพฒันาเด็กเล็ก 9 แหง พบวา เด็กกลุมนี้บริโภคขนมและเครื่องดื่มบรรจุเสร็จจํานวนถึง 28,877 ชิ้น แบงเปนบรรจุภัณฑของขนมรอยละ 76.7 และบรรจุภณัฑของเครื่องดื่มรอยละ 22.9 ขนมที่นักเรยีนนิยมบริโภคสูงสุด คือ

1.4.1 ขนมกรุบกรอบ ที่ทําจากแปงชนิดตาง ๆ ไดแก ขนมที่ทําจากแปงขาวเจา แปงสาลี แปงมัน และแปงขาวโพดเปนตน โดยพบรอยละ 34.7 โดยขนมในหมวดนี้จะเปนขนมแปงพองที่มีเนนความหวานโดยการเติมน้ําตาล เคลือบน้ําตาลหรือสอดไสน้ําตาล และขนมที่เนนรสเค็ม มัน เชน รสเนย รสกุง เปนตน สัดสวนการบริโภคระหวางรสหวานและเค็มมนั คือ 1 : 1.3

Page 11: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

18

ตัวอยางขนมในหมวดนี ้คือ ขาวเกรียบกุง อาหารเชาซีเรียล ขนมอบกรอบสอดไส แซนวิชแครกเกอร มันฝรั่งแท ขาวโพดอบกรอบ เปนตน

1.4.2 ขนมปงกรอบคุกกี้และบิสกิตเปนขนมที่มีการบริโภคในสัดสวนรองลงมา คือ รอยละ 12.4 ขนมในหมวดนี้จะมีสวนผสมของไขมันและน้ําตาลเปนหลัก พบวา เวเฟอรสอดไสไดรับความนยิมสูงสุด รองลงมาคือขนมปงกรอบ และคุกกี้เคลือบน้ําตาล หรือสอดไสน้ําตาล ตามลําดับ สัดสวนการบริโภคของขนมหมวดนี ้คือ 1.9 : 1.5 : 1 ตัวอยางเชน เวเฟอรสอดไสครีมรสชอคโกแลต ขนมปงกรอบ ขนมขาไก

1.4.3 ลูกอมชนิดตาง ๆ ยังคงเปนที่นิยมของนักเรียนอยูมากทีเดยีว แมวาจะมีการใหความรูถึงผลเสียตอสุขภาพฟนอยางกวางขวาง แตปจจยัของความหวานและราคา ทําใหนกัเรียนยังคงนิยมบริโภคอยู โดยพบเปลือกของลูกอมใกลเคียงกบัเปลือกขนมปงกรอบเวเฟอร คือ รอยละ 12.4 และนักเรยีนจะชอบลูกอมเหนยีวหนบืมากกวาลูกอมชนิดละลายชาในปาก ในขณะที่นกัเรียนประถมมีอัตราการบริโภคลูกอมทั้ง 2 ชนิดใกลเคียงกัน

1.4.4 ความสัมพันธของพฤติกรรมการบริโภคกับการเกดิฟนผุ เมื่อวเิคราะหความสัมพันธระหวางพฤติกรรมการบริโภคอาหารรสหวาน ดังนี ้ ปยะดา ประเสริฐสม และคณะ (2547) ศึกษาความสัมพันธของภาวะโรคฟนผุกับปจจยัการบริโภคขนมของนักเรียน พบวา การเลือกซื้อขนมมีความสัมพันธกบัคาเฉลี่ย ฟนผุ ถอน อุด (dmft) ของนักเรียน โดยที่นกัเรียนเลือกซือ้ขนมเองจะมฟีนผุสูงกวากลุมนักเรียนที่ผูปกครองเลือกซ้ือขนมให ศิริรักษ นครชัย (2547) ศึกษาความสัมพันธของระดับความรุนแรงของฟนผุ กับการใชชีวิตประจําวัน และการเจริญเติบโตของนักเรียนที่มีฟนผุ มีจํานวนนักเรียนที่มีความสงูต่ํากวาเกณฑมากกวานักเรยีนไมมีฟนผุการเปนโรคฟนผุมีความชัดเจนในความสมัพันธกับการบริโภคขนมและเครื่องดื่มของนักเรียน ในขณะทีก่ารมีฟนผุมีผลตอคุณภาพชีวิต ของนกัเรียนเนื่องจากอาการเจ็บปวดในชองปาก ซ่ึงสงผลตอการบริโภคอาหารที่มีคุณคา เชน ผักและผลไม ซ่ึงมีเสนใยอาหารที่จะทําใหตองเคี้ยวอยางละเอยีดกอนกลืน ดังนั้นจึงสงผลตอการเจริญเตบิโตของนักเรียนในระยะยาว นอกจากนี้กลุมนมเปรี้ยว น้ําหวานและไอศกรีมก็เปนเครื่องดื่มและขนมที่นักเรยีนนิยมเชนกัน ซ่ึงลวนแตมีสวนประกอบของน้ําตาลในสัดสวนที่สูงมากเชนกัน สุณีย วงศคงคาเทพ (2550) ศึกษาพฤติกรรมนักเรียนอายุต่ํากวา 5 ป พบวา การบริโภคขนมหวาน ภายใน 1 สัปดาหกอนสัมภาษณ ขนมที่มีการบริโภค อันดับ 1 คือ ขนมกรุบกรอบ รองลงมาขนมปง ไอศกรีม ลูกอม เยลลี่ ถ่ัวตาง ๆ ช็อกโกเลต ขนมไทย ตามลําดบั เมื่อวิเคราะหความสัมพันธระหวาง พฤติกรรมการบริโภคอาหารหวาน กับการเกิดโรคฟนผุและศกึษา

Page 12: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

19

เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงคา pH ของคราบจุลินทรีย หลังการบริโภคขนมที่นักเรียนนิยมรับประทาน 2. ปจจัยพืน้ฐานครอบครัว ดานเศรษฐกิจ สังคม การศึกษา รายได พบวา ความเจริญของสังคมเจริญขึ้น แนวโนมของฟนผุก็เพิ่มมากขึ้น ยิ่งมกีารบริโภคน้ําตาล และอาหารแปรรูปกันแพรหลาย ในประเทศไทยเรา แตเดิมนักเรยีนที่ฟนผุสูง จะอยูในครอบครัวที่มีฐานะทางเศรษฐกิจดี เพราะขนมหวาน อาหารแปรรูปในระยะแรกยังเปนของแพง จึงเปนทีน่ิยมแพรหลายในคนบางกลุม แตในปจจุบันอัตราการเกิดฟนผุกลับเพิ่มในนกัเรียนชนบท ทั้งนี้เพราะอาหารเหลานี้ มีการแพร กระจายไปรวดเร็ว มีราคาทีถู่กลง ขณะทีค่วามรูและรายไดของผูปกครองในชนบท ไมเอื้ออํานวย ในการที่จะพาบุตรหลาน ไปตรวจและรักษาฟน หรือใหการดูแลสุขภาพชองปากที่ถูกวิธีอยาง เพียงพอ ทําใหนักเรยีนกลุมนี้อยูในสถานการณ ทีน่าเปนหวงอยางยิง่

การดูแลทันตสุขภาพและการปองกันการเกิดโรคฟนผุของนักเรียน

1. การดูแลทันตสุขภาพ การดแูลตนเองและบุคคลในครอบครัวชวยดูแล (กองทันตสาธารณสุข, 2552 และ กองทันตสาธารณสุข, 2540) 1.1 การดูแลทนัตสุขภาพของนักเรียน

1.1.1 หลีกเลี่ยงการบริโภคอาหารหวาน เหนียวและติดฟนงาย 1.1.2 ไมควรทานจบุจิบไมเปนเวลา เพราะจะทาํใหในชองปากเกิดกรดอยูตลอด

เวลา มีโอกาสเสี่ยงตอฟนผุได 1.1.3 รักษาความสะอาดเหงือกและฟนดวยการแปรงฟนดวยยาสีฟนผสมฟลูออไรด 1.1.4 แปรงฟนทุกครั้งภายหลังรับประทานอาหารและกอนเขานอน 1.2 บุคคลในครอบครัวชวยดูแลทันตสุขภาพของนักเรียน 1.2.1 การเอาใจใส เร่ือง อาหารการกิน เพื่อฟนที่แข็งแรง ควรใหนักเรียน

รับประทานอาหารที่มีประโยชน ตอการสรางกระดกู และฟนของลุกนอย เชน นม ไข เนื้อสัตว ปลา เมื่อเด็กเกิดมา ก็ใชนมที่เหมาะสมเลี้ยง ทั้งนมแม หรือนมผง ที่ไมมีการผสมน้ําตาล เพราะจะทําใหนักเรียนติดรสหวาน และฟนผุ ควรปลูกฝงนิสัย ในการเลือกทานอาหารที่มีประโยชน เชน ผัก ผลไม แทนการทานทอฟฟ ขนมหวาน น้าํอัดลม ฝกใหทานเปนเวลา เปนมื้อ ไมทานจุบจิบ

1.2.2 การดูแลทําความสะอาดชองปาก นกัเรียนควรจะไดรับ การทําความสะอาดชองปากตั้งแตเกิด โดยพอแมจะเปนคนเชด็เหงือก กระพุงแกมและลิน้ใหลูก เมื่อฟนขึ้นก็เชด็ฟนดวย และเมื่อมฟีนกรามน้ํานมขึ้น ก็แปรงฟนให รวมทั้งเริม่สอนใหลูกแปรงฟน สอนใหนักเรยีนแปรงฟนหลังทานอาหารทุกครั้ง ฝกใหเปนนิสัย พอแมก็ควรทําเปนตวัอยาง และคอยตรวจดูแล

Page 13: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

20

สม่ําเสมอ อยาทิ้งใหนกัเรียนทําเองทั้งหมด และมั่นตรวจดูฟนใหนกัเรียน บอกถึงบริเวณทีน่ักเรยีนแปรงฟนไมสะอาด รวมถึงบอกวิธีการแปรงใหสะอาด

1.2.3 ใชฟลูออไรดในการปองกันฟนผุ ฟลูออไรดจะชวยเสริมสรางความแข็งแรง ของตัวฟน นักเรียนสามารถรับฟลูออไรด ไดตั้งแตอายุ ประมาณ 6 เดือน แตจํานวน และระยะเวลาที่รับประทานอาหาร ควรปรึกษาทันตแพทยกอนใช

1.2.4 การไปพบตรวจและรกัษาฟนกับทันตบคุลากร เปนวิธีปองกันฟนผุที่ดีแบบหนึ่ง ควรพาลกูไปตรวจฟนเมื่ออายุไดประมาณ 6 ขวบ เพื่อตรวจดูสุขภาพชองปาก จะไดรักษาไดทัน จนครบอายุประมาณ 12 ป ทันตบุคลากรจะตรวจฟนและสรางความคุนเคยกับนกัเรียน แนะนําการดูแลชองปากที่เหมาะสม สําหรับนักเรยีน ใหพอแมทราบ ถานักเรียนฟนไมผุมากอน อาจจะเคลือบฟลูออไรด หรือเคลือบหลุมรองฟน เพื่อชวยใหฟนแข็งแรง ปองกันฟนผุ ซ่ึงวธีิการเหลานี ้ไมเจ็บ นกัเรียนจะยอมรับการรักษา และมทีัศนคติที่ดีตอการมาทําฟน ซ่ึงจะสงผลดีตอทัศนคติ ในการปองกันโรคฟนผุของนักเรียนในอนาคต 1.3 การดูแลทนัตสุขภาพโดยครู เมื่อนักเรยีนอยูที่โรงเรยีนครู มีบทบาทในการจดักิจกรรมสงเสริมสุขภาพชองปาก และจัดสภาพแวดลอม ที่เอื้อตอสุขภาพชองปาก แมวาภาคสาธารณสุข และสังคมจะคาดหวัง ใหโรงเรียนจัดสภาพแวดลอม ที่เอือ้ตอสุขภาพและการใชชีวติของนักเรียน แตตองอาศัยเงื่อนไขที่เหมาะสมและพอเพยีง จึงจะดําเนนิงานไดอยางประสบผล คือนักเรียนมีพัฒนาการทางสังคม สุขภาพ และผลสัมฤทธิ์ทางการศึกษาที่ดีขึ้น ดังนี้ 1.3.1 หลักสูตรทันตสุขภาพที่สอนในชั้นเรียนอยางเปนระบบ รวมทั้งกิจกรรมในหองเรียนหรือโรงเรียน เพื่อเสริมสรางความรูที่เปนฐาน ในการพัฒนาทัศนคติ และพฤติกรรมที่เหมาะสมตอเนื่อง โดยมีหวัขอดังนี้ 1.3.1.1 อาหารที่มีประโยชนตอรางกาย นอกจากจะสอนใหนักเรยีนรูจกัประโยชนหรือโทษ และเลอืกบริโภคอาหารตาง ๆ แลว อาจใหนกัเรยีนเลือกซ้ือวัตถุดิบหรืออาหาร เพื่อนํามาปรุงหรือประกอบเปนอาหารชุดและอภิปรายรวมกันวา มีผลดีหรือเปนโทษอยางไร 1.3.1.2 เร่ืองการแปรงฟนถูกวิธี ตองฝกใหนักเรียนแปรงฟนไดถูกวิธี เลือกใชยาสีฟนที่ผสมฟลูออไรดได รวมทั้งทราบวา เมื่อไรควรจะเปลีย่นแปรงสีฟน 1.3.2 สภาพแวดลอมที่เอื้อตอสุขภาพชองปาก เชน มีการดูแลอาหารใหสะอาดปลอดภัย และเปนประโยชนทั้งตอสุขภาพทั่วไป และสุขภาพชองปาก มีการจัดสถานที่เหมาะสม และมีน้ําเพียงพอใหนกัเรียนแปรงฟน มีอุปกรณแปรงฟนจําหนายในโรงเรียน

Page 14: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

21

นอกจากสภาพทางกายภาพดังที่กลาวแลว สภาพแวดลอมทางจิตสังคมก็สําคัญ โดยโรงเรียนตองใหคุณคากับกิจกรรม หรือประเด็นดานสุขภาพ เชน ไมขายลูกอมและน้ําอัดลม แมจะเปนสินคาขายดีสําหรับกลุมนักเรียน รวมทั้งขอความรวมมือกับรานคาใกลเคียงดวย 1.4 การดูแลทนัตสุขภาพโดยทันตบุคลากร บุคลากรสาธารณสุขหรือทันตบุคลากร มีบทบาทในการตรวจสุขภาพชองปาก ใหคําแนะนํา ใหบริการปองกันโรคและรักษานักเรียน จัด บริการสุขภาพชองปากที่โรงเรียนแบบเบ็ดเสร็จ แมงานอนามัยโรงเรียนจะเนนการสงเสริมสุขภาพและปองกันโรค แตการรักษาพื้นฐาน (ถอนฟน อุดฟน ขูดหินน้ําลาย) ก็จาํเปนเพื่อหยุดยั้งการลุกลามของโรค และเพื่อปรับสภาวะอนามัยชองปาก แตหากการบริการที่โรงเรียนมีขอจํากัดดานเครื่องมือและระบบงาน ที่จะทําใหบริการ เชน เคลือบหลุมรองฟน อุดฟน ดอยคุณภาพ ตองมกีาร สงตอนักเรียน ไปรับบริการที่สถานพยาบาล และควรมกีารสนับสนุน ดานเทคนิควชิาการแกนักเรียนและผูปกครอง

ดังนั้นการมีสวนรวมทั้งทีเ่ปน และไมเปนทางการ ระหวางโรงเรียน ชุมชน ครอบครัว และหนวยงานทั้งภาครัฐและเอกชน ผูปกครองอาจเขามามีสวนรวมในระดับนโยบาย กลวิธี และการดําเนนิการ คือ ใหขอคิดเห็นเสนอแนะ จัดหาอุปกรณแปรงฟน และควบคุมใหนักเรียนแปรงฟน ดูแลอาหารการกินของนักเรยีน รวมทั้งอาจสนับสนุนงบประมาณ 2. การปองกนัการเกดิโรคฟนผุ (กมลทพิย สุขสันติสกุลชัย, 2542) มีดังนี ้

2.1 การสงเสริมความแข็งแรงของฟนและสภาพน้ําลาย 2.1.1 ระยะกอนฟนขึ้น ไดแก ชวงที่ฟนกาํลังสรางตัวฟนน้ํานมจะสรางตัวในชวง ทารกอยูในครรภมารดา ในฟนแทจะสรางตัวชวงวัยเด็ก ซ่ึงจะสงเสริมใหฟนสรางตวัไดแข็งแรงสมบูรณโดยการจัดหาสารอาหาร ที่จําเปนในการสรางฟนอยางเพยีงพอ ซ่ึงเปนอาหารกลุมเดียวกบัการเจริญเติบโตของรางกาย ฟนที่ไดรับสารอาหารครบถวน กจ็ะมีโครงสรางที่แข็งแรงไมผุงาย และการใหฟลูออไรดทางระบบ (Systemic fluoride) ใหนักเรียนไดรับฟลูออไรดในขนาดที่เหมาะสม และสม่ําเสมอในระหวางการสรางฟน ทําใหเคลือบฟนแข็งแรงไมสูญเสียเกลือแรงาย ฟลูออไรดที่ไดรับ โดยวิธีนีจ้ะคงอยูในเคลือบฟน และเปนแหลงฟลูออไรดไปตลอดชีวิต รูปแบบที่ใชคือ ยาเม็ดฟลูออไรด เกลือฟลูออไรด และฟลูออไรดในน้ําดื่ม 2.1.2 ระยะหลังฟนขึ้น ไดแก ระยะหลังการสรางตัวเสร็จและงอกเขาสูชองปาก ระยะนี้สามารถเสริมสรางใหฟนแข็งแรงได ดังนี ้ 2.1.2.1 การใชฟลูออไรดเฉพาะที่ (Local fluoride application) เมื่อฟนงอกขึ้นมาใหม เคลือบฟนสามารถดูดซับสารตาง ๆ ไดดี ถาไดรับฟลูออไรดจะดดูซับไดดี และทําใหโครงสรางผลึกของเคลือบฟนแข็งแรงขึ้น การใชฟลูออไรดโดยวิธีนี้ ควรใชเปนประจําไปตลอด

Page 15: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

22

ชีวิตเพื่อวัตถุประสงค ในการสรางแรธาตุกลับคืนใหกับฟน และมีผลยับยั้งการสรางกรดของเชื้อจุลินทรีย รูปแบบที่ใช คอื ยาสีฟนผสมฟลูออไรด น้าํยาบวนปากฟลูออไรด 2.1.2.2 การใชสารปดหลุมรองฟน (pit and fissure sealant) ฟนขึ้นมาใหม ๆ มักมีหลุมรองฟนลึกเปนทีก่กัขังของแผนคราบจุลินทรีย และขนแปรงสีฟนไมสามารถเขาไปทําความสะอาดไดถึง อีกทั้งในเด็กยังไมมีความสามารถและรับผิดชอบพอที่จะดแูลชองปากของตนเองไดเพยีงพอ การใชสารปดหลุมรองฟนทําใหเชื้อโรคไมสามารถสะสมในบริเวณที่เกดิโรคงายได 2.1.3 สภาพน้าํลาย ในคนทีม่ีน้ําลายนอยจะเกดิฟนผุไดงาย เพราะจํานวนสารปรับสภสภาพกรด ดางจะนอยไปดวย น้ําลายจะไหลออกมาในขณะรบัประทานอาหาร โดยเฉพาะการเคี้ยววอาหารที่มีเสนใยจาํพวกผักและผลไมรวมทั้งหมากฝรั่งจะทําใหน้ําลายหล่ังออกมามาก ซ่ึงน้ําลายจะมีสารที่ชวยทําลายฤทธกรด คือ สารคารบอนเนต (Carbonate) และ ฟอสเฟต(phosphate) ที่สามารถจับกับกรดในแผนคราบจุลินทรียไดสงผลในการปองกัน ฟนผุ ในเดก็การกําจัดแผนคราบจุลินทรียใหหมดทําไดยาก ดังนั้น การสงเสริมใหเดก็รับประทานผักและ ผลไม หลังอาหารจะสงผลชวยปองกันฟนผุไดอีกวิธีหนึ่ง 2.2 การควบคมุการบริโภคแปงและน้ําตาล เปนปจจยัที่สําคัญอยางหนึ่งที่ทําใหเกิด ฟนผุ ซ่ึงควบคุมการบริโภคแปงและน้ําตาล ทําได 2 วิธีคือ 2.2.1 ลดความถี่ ในการรับประทานแปงและน้ําตาล การรับประทานอาหารนอย คร้ังในแตละวนัจะชวยลดจํานวนครั้ง ในการสรางกรดจากเชื้อโรค ซ่ึงทําใหเกิดการสญูเสียแรธาตุไดบอยไปดวย อาหารที่มีแปงเปนองคประกอบและอาหารหวานควรรับประทานในมือ้อาหาร แตระหวางมื้อควรเลือกชนิดที่มนี้ําตาลอยูนอย หรือไมมีน้ําตาลเลย เชน ผักผลไม จะกระตุนการไหลของน้ําลาย และชวยปรับสภาพความเปนกรด และดางของแผนคราบจุลินทรียได นอกจากนีใ้น น้ําลาย ยังมีเกลือแรชวยการสรางแรธาตุกลับคืน ใหกับฟนอีกดวย 2.2.2 การใหสารทดแทนน้าํตาล น้ําตาลที่เติมลงในอาหาร ทําหนาทีป่รุงแตงงงรสชาติ อาหารใหอรอยและนารับประทานยิ่งขึ้น แตมีผลทําใหฟนผุ เพราะเชื้อโรคนําไปยอยสลายจนเกดิกรดขึ้นมา ยังมีสารอื่นที่ใหความหวาน เชนเดยีวกัน แตอัตราการยอยสลายต่าํ เชน ซอรบิทอล (Sorbital) ไซลิทอล (Xylital) แมนิทอล (Manital) แอสพารแทม (Aspartem) ซ่ึงจะสงผลตอการเกิดฟนผุนอยมาก สารทดแทนน้ําตาลทรายมักใชในขนมหวาน ลูกกวาด ลูกอม ทอฟฟ 3. การควบคมุแผนคราบจลิุนทรีย 3.1 การควบคมุทางกลศาสตร (Mechanical method) แผนคราบจุลนทรียจะยึดเกาะบนผิวฟน การขจัดโดยวิธีแปรงฟน เปนวิธที่ถูกตองและดีที่สุด ผูรักษามักจะไดรับคําถามวาแปรงฟนอยางไรจึงจะดีที่สุด การแปรงฟนนัน้ถาแปรงแลวผลออกมาวา ฟนสะอาด กําจดัคราบจุลินทรีย

Page 16: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

23

ไดมากและไมมีอันตรายตอเหงือกและฟนก็จัดวาเปนวิธีที่ดี คือ กอนแปรงฟนใหวางแปรงตรงขอบเหงือกเปนมุม 45 องศา แลวขยับทางขวางเล็กนอยเพื่อปดเศษอาหารตามขอบเหงือก แลวแปรงไปทางดานบดเคีย้ว สวนบริเวณซอกฟนทีไ่มสามารถกําจัดคราบจุลินทรีย Gibson และ William (1999) พบวา การแปรงฟนประจําดวยยาสีฟนผสมฟลูออไรดจะชวยลดการเกิดโรคฟนผุในเด็กไดมากกวาการควบคุมการบริโภคอาหาร ผลของการแปรงฟนมาจากยาสฟีนผสมฟลูออไรดและวิธีการแปรงทีจ่ะตองสามารถกําจัดคราบจลิุนทรียได 3.2 การควบคมุโดยวิธีทางเคมี (Chemical method) สารเคมีที่ใชนั้น จะเปนเพียงการปองกันหรือลดการเกดิคราบจุลินทรีย แตถาคราบจุลินทรียเกิดแลว การกําจัดควรจะเปนการเอาออกโดยวิธีกลศาสตรจะใหไดผลดีกวาการหาสารเคมี เพือ่จุดประสงคในการลดคราบจุลินทรียยาก เพราะไมมีสารใดใชคร้ังเดยีว จะปองกันการเกิดโรคฟนผุไดนาน จําเปนตองใชติดตอกันทุกวัน เพราะคราบจลิุนทรียเกิดขึน้ทุกวัน สารเคมีที่ใชมักเปนพวกยาระงับเชื้อ (Antiseptics) และยาลางเชื้อ (Disinfectantants) สารเคมีที่ยอมรับและใชกันมาก คือ คลอรเฮกซิดีน (Chlohexidine) นอกจากนั้น เชน ฟนอล (Phenol) สารลดความตึงผิว (กลุม Quatemary ammonium compound) ฟลูออไรด (Fluoride) รวมท้ังสารตอตานหินน้ําลาย เชน ไพโรฟอสเฟต (Pyrophosphate) ชิงคคลอไรด (Zinc chloride) อีกดวย การควบคุมและปองกันโรคฟนผุ สามารถใชวิธีตาง ๆ รวมกันในการเสริมสรางฟนใหแข็งแรง การควบคุมการบริโภคน้ําตาล และการกําจดัแผนคราบจุลินทรีย โดยทันตบุคลากรควราเผยแพรความรูและใหบริการดานทันตกรรมปองกันอยางมีประสิทธิภาพ นักเรยีนวยั 6 – 12 ป นี้เร่ิมมีฟนแทขึ้น จงึควรไดรับแคลเซียมฟอสเฟต วิตามินซีและดีที่เพยีงพอตอพัฒนาการของฟน นิสัยการกินอาหารสวนมาก จะเริม่เกิดขึ้นในวัยนี้ จึงควรเนนใหนักเรยีนรับประทานอาหาร ที่เปนประโยชนตอฟน และการเจริญเติบโตของรางกาย อาหารวางเปนสิ่งสําคัญ ควรแนะนําใหนักเรยีนรับประทานผลไม ไมควรเริ่มใหทานอาหารวาง แกนกัเรียนเปนขนมหวาน เพราะนักเรียนจะติดนิสัยการรับประทานอาหารหวาน ซ่ึงจะเปนผลเสียแกสุขภาพฟนของนักเรียน 4. การดําเนินงานทันตสาธารณสุขในจังหวัดกาฬสินธุ ดงันี้

4.1 จัดอบรม และหาแนวทางการดําเนนิงานจากผูบริหารโรงเรียนและครูอนามัย 4.2 การจัดอบรมแกนนํานักเรียนในชวยการดูแลทันตสุขภาพและควบคุมการแปรงฟน

ของนักเรียน กลุมยุวทันตรักษ กลุมรักษฟน 4.3 การรณรงค จัดนิทรรศการ รวมถึงการประกวดนักเรียนฟนสวย

4.4 การเฝาระวังโรคทางทันตสุขภาพ คือ การตรวจทันตสุขภาพตามแบบฟอรม ทส 001โดยครู ปละ 2 คร้ัง คือ มิถุนายนและธันวาคม ของทุกป

Page 17: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

24

4.5 โครงการแปรงฟนหลังอาหารกลางวัน 4.6 ออกหนวยใหบริการทางทันตกรรม อุดฟน ถอนฟนที่เรงดวน ในโรงเรียนและ

นัดรักษาตอทีส่ถานบริการในเขตรับผิดชอบ การดําเนนิงานทันตสาธารณสุข เปนเพยีงการแกไขปญหาเรงดวน หรือเปนการกระตุนใหนกัเรียนดแูลสุขภาพชองปาก แตหากนกัเรียนไมปฏิบัติเอง ก็ทําใหเกิดฟนผุได

แรงสนับสนนุทางสังคม (Social support) ทฤษฎีแรงสนับสนุนทางสังคม (Social support theory) มีแนวคดิมีพื้นฐานจากทฤษฎี ที่

เปนผลมาจากการศึกษาทางสังคมจิตวิทยา ซ่ึงในชวงเวลาที่ผานมา ไดมีการศึกษาถึงผลกระทบของแรงสนับสนุนทางสังคมในดานตางๆ รวมทั้งตอพฤติกรรมสุขภาพดวย ซ่ึงแรงสนับสนุนทางสังคม ชวยใหคนมกีารปฏิบัติตัวที่ถูกตองทางดานสุขภาพ ที่จะทาํใหสุขภาพของบุคคลนั้น หรือกลุมนั้นดีไปดวย พบวา “การตัดสินใจสวนใหญของคนเรานั้น จะขึ้นอยูกับอิทธพิลของบุคคล ซ่ึงมีความสําคัญและมีอํานาจเหนือกวาตวัเราอยูตลอดเวลา” โดยตัวแปรทางจิตสังคม มีผลตอสุขภาพหรือความเจ็บปวยที่มีความสําคัญตอพฤติกรรมของคน ทั้งดานรางกายและจิตใจ รวมถึงการปองกันโรค การสงเสริมสุขภาพ และการปฏิบัติตวัตามคําแนะนาํของเจาหนาที่ และเปนสิ่งที่จําเปนในสังคมปจจุบัน ซ่ึงแรงสนับสนุนนี้อาจไดรับมาจากบุคคลที่ใกลชิด เชน ผูปกครอง พอ แม ญาติพี่นอง เพื่อนบาน หรือบุคลากรทางการแพทยก็ได ทั้งนี้เพราะการดํารงชวีิตอยูในสังคมไทยเรา มีลักษณะเปนเครือขายที่ตองอาศัยการพึ่งพาซึ่งกันและกัน

แรงสนับสนุนทางสังคม (Social support) เปนความจริงทีว่าคนเราเกิดมาแลวไมไดอยูคนเดียวในสังคม ตองมีการติดตอพบปะกบับุคคลอื่นเสมอบางคนอาจจะใกลชิดกนัมาก บางคนอาจจะใกลชิดกันนอย การตดิตอกันทําใหรูจักกนั ทําใหเกิดความสัมพนัธกับคนอื่นหลายคน จนกลายเปนเครือขายทางสังคม (Social network) ขึ้น เครือขายทางสังคมเปนเครือขายโยงใยที่แสดงใหเห็นวาคนนัน้มีการติดตอสัมพันธกับใครบาง เชน กับคนในครอบครัวและญาติ เปนตน จากคนใกลตัวขยายวงกวางออกไปถึงเพื่อนบาน เพื่อนที่เรียนหนังสือดวยกัน เพื่อนรวมงาน ผูนําชุมชน เจาหนาที่สาธารณสุขและสมาชิกชมรม หรือสมาคมตาง ๆ เปนตน ในแงของพฤติกรรมการสงเสริมสุขภาพ และการวางแผนครอบครัว ปจจุบนันี้ผลการศึกษามีงานวจิัยหลายช้ิน ที่บงบอกถึงความสัมพันธระหวางแรงสนับสนุนทางสงัคมกับพฤติกรรมสุขภาพ

การไดติดตอกนัและสื่อสารกันทําใหเกดิการแลกเปลี่ยนขอมูล ขาวสาร สรางความสนิทสนมคุนเคยทําใหมีโอกาสเกือ้หนุนซึ่งกนัและกัน มีการชวยเหลือกัน บางครั้งบุคคลหนึ่งอาจจะเปนฝายใหความชวยเหลือแกผูอ่ืน แตบางครั้งอาจจะเปนผูรับการชวยเหลือจากผูอ่ืนดวย การสนับสนุน

Page 18: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

25

เกื้อกูลกันทําใหเกิดรงสนับสนุนทางสังคม (Social support) 1. ความหมายแรงสนับสนุนทางสังคม จากการสังเคราะหสรุปไดวา แรงสนับสนุนทาง

สังคม หมายถึง การชวยเหลือเกื้อกูลที่ผูใหการสนับสนุนไดใหแกผูรับแรงสนับสนุน ทั้งการติดตอส่ือสารขอมูลขาวสารไดรับรูขอมูลขาวสารที่ทําใหตัวเขา (Cobb, 1976) เกิดความมั่นคงทางอารมณ (Pilisuk, 1982) รูสึกที่ดีตอกนั เขาใจและเชื่อวา มีบุคคลความรัก ความหวงใย ความเอาใจใส สนใจ ความผูกผันซึ่งกันและกัน ใหการยอมรับในพฤติกรรมซึ่งกันและกนั (Kahn, 1979) นับถือไววางใจ ยกยอง การใหส่ิงของ การเงิน กําลังแรง คน ตลอดจนการใหขอมูลปอนกลับ โดยใชขอมูลเพื่อการเรียนรูและสามารถประเมินตนเอง (House, 1981) เห็นคณุคาในสิ่งที่ปฏิบัติ การใหกําลังใจ เพื่อเปนเกราะกําบงัภัย (WHO, 1986) ที่ผูไดรับแรงสนับสนุนจะไดรับ โดยคํานงึถึงแหลงที่มาของแรงสนับสนุนทางสังคมดวย (Hubbard, Mulenkamp & Brown, 1984) จนกระทั่งทําใหผูไดรับแรงสนับสนนุหรือแรงผลกัดนันัน้ (Caplan, 1976) สามารถปฏิบัติไปในทางทีด่ีเพื่อดแูลตนเอง

2. องคประกอบของการสนับสนุนทางสงัคม จากความหมายของแรงสนับสนุนทางสังคม เราสามารถพิจารณาองคประกอบของการสนับสนุนทางสังคมตามที่พิลิซุก (Pilisuk, 1982) ไดอธิบายองคประกอบของการสนับสนุนทางสังคมไวดงันี้ 2.1 ตองเปนการติดตอสัมพันธระหวางผูใหและผูรับแรงสนับสนุน 2.2 การติดตอสัมพันธนั้นจะตองประกอบดวย 2.2.1 ขอมูลขาวสารที่ทําใหผูรับเชื่อวาเปนการเอาใจใส รักและหวังดดีวยความจริงใจ 2.2.2 ขอมูลขาวสารนั้นจะตองทําใหผูรับรูสึกวาตนเองมีคาเปนที่ยอมรับของสังคม 2.2.3 ขอมูลขาวสารมีลักษณะที่ทําใหผูรับเชื่อวาเขาเปนสวนหนึ่งของสังคม และมีประโยชนแกสังคม 2.3 ปจจัยนําเขา ในการสนบัสนุนสังคม อาจอยูในรูปแบบตาง ๆ เชน ขอมูล วัสดุส่ิงของ หรือการใหกําลังใจ

2.4 การสนับสนุนจะตองเปนการชวยใหผูรับบรรลุจุดมุงหมายที่เขาตองการ 3. ชนิดของการสนับสนุนทางสังคม มีผูศึกษาเกีย่วกับการสนับสนุนทางสังคม และแบง

ประเภทของการสนับสนุนทางสังคมไวมากมาย ในที่นี้จะกลาวเพียงบางสวนเทานัน้ ซ่ึงมีราย ละเอียดดังนี้ คอื 3.1 การสนับสนุนทางอารมณ (Emotional support) คือ การใหความพอใจ การยอมรับนับถือ การแสดงถึงความหวงใย (House, 1981) ความผูกพัน ความอบอุนใจ และความรูสึกเชื่อมั่นและไววางใจ (Schaefer, 1981) การใหความรกั การดูแลเอาใจใส การยอมรับ เห็นคุณคา และการเปนสวนหนึ่งของสังคม (Thoits, 1982)

Page 19: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

26

3.2 การใหการสนับสนุนทางดานขอมูลขาวสาร (Information support) คือ การใหคําแนะนํา (Suggestion) การตักเตือน การใหคําปรึกษา (Advice) และการใหขาวสารรูปแบบตางๆ (House, 1981) ในการแกปญหาหรือการใหขอมูลปอนกลับเกีย่วกับพฤติกรรมและการกระทาํของบุคคล (Schaefer, 1981) 3.3 การใหการสนับสนุนทางดานเครื่องมอื (Instrumental support) คือ เปนการให ความชวยเหลือในสิ่งของเงินทอง หรือบริการ ระดับของการใหแรงสนับสนุนทางสงัคม (Schaefer, 1981) การชวยเหลือดานแรงงาน อุปกรณ ที่จะทําใหบุคคลที่ไดรับนั้นสามารถดํารงบทบาทหนาที่ที่รับผิดชอบไดตามปกต ิ(Thoits, 1982) รวมถึงเวลาที่ใหผูรับแรงสนับสนุน (House, 1981) 3.4 การสนับสนุนดานการใหการประเมนิผล (Appraisal support) คือ การใหขอมูลปอนกลับ (Feed Back) การเห็นพองหรือใหรับรอง (Affirmation) ผลการปฏิบัติ หรือการบอกให ทราบผลถึงผลดี ที่ผูรับไดปฏิบัติพฤติกรรมนั้น (House, 1981) 4. แหลงสนับสนุนทางสังคม แคปแลนและคณะ (Kaplan, et al., 1977) ไดกลาวไววา แรงสนับสนุนทางสังคมนั้น ตองพิจารณาถงึความสัมพันธที่มีอยูของแหลงที่ใหการสนับสนุน คือ ไดจากคนที่มคีวามสําคัญตอคนคนนั้น และคนที่มีความสําคัญดังกลาว เปนคนที่อยูในเครือขาย (Social network) ของแตละคน (Norbeck, 1982) และจากการศึกษาของแคปแลนและคณะ พบวา คนที่ขาดการตดิตอกับคนในสังคม จะทําใหเกิดโรคสังคมแตกแยก (Social breakdown syndrome) คือ เปนอาการที่ไมเปนตวัเอง ตัดสินใจไมได ขาดความเชื่อมั่นในตนเองและไมสามารถดูแลตัวเองได และในทางตรงกันขาม คนเราอยูในสงัคม เมื่อประสบปญหามักจะไดรับความชวยเหลือและการสนับสนุนจากบุคคลในเครือขายของบุคคลนั้น ๆ ซ่ึงจะทําใหความคาดหวังของแตละคนเปนจริง แรงสนับสนุนทางสังคมจําเปนอยางยิง่ตอการดําเนนิชีวิต โดยเฉพาะเมื่อเกิดการเจ็บปวยหรือมีปญหา เฮาส (House, 1981) ไดจําแนกบุคคลที่เปนแหลงแรงสนับสนุนทางสังคมไว 2 กลุม ตามลักษณะความสัมพันธ คือ 4.1 กลุมที่มีความสัมพันธอยางไมเปนทางการ หรือกลุมแรงสนับสนุนจากแหลง ปฐมภูม ิหมายถึง บุคคลที่ใหความชวยเหลือแกบุคคลอื่น โดยมีความสัมพันธกันตามธรรมชาติ (Spontaneous or natural supportive system) 4.1.1 บุคคลที่อยูในครอบครัวสายตรง (Kin) คือ ปูยา ตา ยาย พอ แม เครือญาติ คูสมรส 4.1.2 บุคคลครอบครัวใกลชดิ (Kinth) คือ เพื่อนฝูง เพื่อนบาน คนรูจักคุนเคย คนที่ทํางานเดยีวกนั ซ่ึงมีความสําคัญตอการเจ็บปวยและพฤติกรรมอนามัยของบุคคลเปนอยางยิ่ง โดยเฉพาะแรงสนับสนุนทางอารมณ

Page 20: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

27

4.2 กลุมที่มีความสัมพันธอยางเปนทางการ หรือแรงสนับสนุนทางสังคมจากแหลงทุติยภูม ิถือวาเปนผูใหบริการทางสุขภาพ หมายถึง บุคคลที่ใหการชวยเหลือบุคคลอื่นโดยเกี่ยวของกับบทบาทการทํางาน หรือวิชาชีพ ซ่ึงมีลักษณะการชวยเหลือที่เฉพาะเจาะจงประเภทใดประเภทหนึ่งเปนสวนมาก 4.2.1 กลุมผูชวยเหลือทางวชิาชีพ (Professional health care worker) หมายถึง บุคคลที่อยูในวงการสงเสริม ปองกัน รักษา ฟนฟูสุขภาพของประชาชนโดยอาชีพ ไดแก แพทย พยาบาล เจาหนาที่สาธารณสุข/ทีมสุขภาพ 4.2.2 องคกรหรือสมาคมที่ใหการสนับสนุน (Organization support) หมายถึง กลุมบุคคลที่มารวมตัวกันเปนหนวย ชมรม สมาคม ซ่ึงไมใชกลุมที่จัดโดยกลุมวิชาชพีทางสุขภาพ คือ สมาคมผูสูงอายุ เปนตน (ครู พระ ผูนําชุมชน อาสาสมัครสาธารณสุข (อสม.) ซ่ึงมีความสําคัญในการสนับสนุนขอมูล ขาวสาร และความรูที่เกี่ยวของกบัสุขภาพ 5. ระดับแรงสนับสนุนทางสังคม นักพฤติกรรมศาสตรชื่อ Gottieb (1985) ไดแบงแรงสนับสนุนทางสังคม แบงออกเปน 3 ระดับ

5.1 ระดับกวาง (Macro level) เปนการพิจารณาถึงการเขารวมหรือการมสีวนรวม ในสังคมอาจวดัไดจากสัมพนัธกับสถาบันในสังคม การเขารวมกับกลุมตาง ๆ และการดําเนนิชีวติในสังคม 5.2 ระดับกลุมเครือขาย (Mezzo level) เปนการมองโครงสรางและหนาเครือขายทางสังคมดวยการวัดอยางเฉพาะเจาะจงถึงกลุมบุคคลที่มีสัมพันธภาพกนัอยางสม่ําเสมอ คือ กลุมเพื่อน ชนิดของแรงสนับสนุนทางสังคมในระดบันี้คือ การใหคําแนะนําชวยเหลือดานวัตถุ ความเปนมิตรและการสนับสนุนดานอารมณ 5.3 ระดับแคบหรือลึก (Micro level) เปนการพิจารณาความสัมพันธของบุคคลที่มีความใกลชิดสนิทสนมกันมากที่สุด ทั้งนี้เชือ่วาคุณภาพของความสัมพันธ มีความสําคัญมากกวาปริมาณ คือ ขนาด จํานวน และความถี่ แหลงของการสนับสนุนทางสังคม คือ จํานวนสมาชิกในครอบครวั ซ่ึงมีความใกลชิดทางดานอารมณมากที่สุด 6. ผลของแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีตอสุขภาพ มีรายงานการศึกษาวจิัยที่บงบอกถงึความสัมพันธระหวางแรงสนับสนุนทางสงัคม ที่มีตอสุขภาพอนามยัพอสรุปไดเปน 2 กลุมใหญ คอื 6.1 ผลตอสุขภาพกาย แบงออกเปน 6.1.1 ผลโดยตรง จากรายงานผลการศกึษาของ เบอรกแมน และไซม (Berkman and Syme , 1979) ซ่ึงติดตามผลในวัยผูใหญจํานวน 700 คน ที่อาศัยอยูในเมือง อามีดา รัฐแคลิฟอรเนีย เปนเวลานาน 9 ป โดยรวบรวมขอมูล เกีย่วกับความเปนอยูทั่วไปของสุขภาพ

Page 21: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

28

อนามัย และสถิติชีพที่สําคัญ รวมทั้งแรงสนับสนุนทางสงัคมนอย มีอัตราปวยและตายมากกวาผูไดรับแรงสนบัสนุนทางสังคมมากถึง 2.5 เทา ความสัมพันธที่เกิดขึน้ในทกุเพศ ทุกเชื้อชาต ิ และทุกระดับเศรษฐกิจการศกึษาของ คอบบและแคสเซล (Cobb, 1976 and Cassel, 1961) พบวาผูปวยเปนวณัโรค ความดันโลหิตสูง อุบัติเหต ุ สวนใหญเปนผูที่ขาดแรงสนับสนุนทางสงัคม หรือถูกตัดขาดจากเครือขายแรงสนับสนุนทางสังคม นอกจากนี้การศึกษาทางระบาดวิทยาสังคมยังพบวา คนที่ขาดแรงสนับสนุนทางสังคม จะเปนผูที่อยูในภาวะของการติดโรคไดงาย เนื่องจากเกิดการเปล่ียนแปลงระบบตอมไรทอ และมีผลทําใหภมูิคุมกันโรคลดลงอีกดวย 6.1.2 ผลตอพฤติกรรมการปฏิบัติตามคําแนะนําในการรกัษาพยาบาล (Compliance to regismens) มีรายงานผลการศึกษา เปนจํานวนมาก ทีบ่งบอกถึงผลของแรงสนับสนุนทางสังคม ที่มีตอพฤติกรรม การปฏิบัติตามคําแนะนําของคนไข ซ่ึงเบอรกเลอร (Burgler อางใน Pilisuk, 1985) พบวาผูปวยที่ปฏิบัติตามคําแนะนําของแพทย สวนใหญเปนผูที่มีครอบครัวคอยใหการสนับสนุนในการควบคุมพฤติกรรม และผูปวยที่ที่มีแรงสนับสนุนทางสังคมมาก จะเปนผูที่ปฏิบตัิตามคําแนะนํามากกวาผูที่มแีรงสนับสนุนทางสังคมนอย 6.1.3 ผลตอพฤติกรรมการปองกันโรค คอบป (Cobb, 1976)และแลงกลี (Langlie, 1977) ไดรายงานผลการศึกษาถึงพฤติกรรมการปองกันโรคและสงเสริมสุขภาพ เชน การตรวจสุขภาพรางกายประจํา การออกกําลังกาย การบริโภคอาหาร พบวาผูที่มีแรงสนับสนุนทางสังคมจะมีพฤติกรรมการปองกันโรค และสงเสริมสุขภาพดีกวาผูที่มีแรงสนับสนุนทางสังคมนอย 6.2 ผลตอสุขภาพจิต ผลของแรงสนับสนุนทางสังคมที่มีตอสุขภาพจติ มีลักษณะเชนเดยีวกับสุขภาพกาย คือ พบวาแรงสนบัสนุนทางสังคมเปนสิ่งที่ชวยเพิ่มความสามารถในการตอสูกับปญหาที่เกิดขึ้นในชวีติบุคคลชวยลดความเจ็บปวย อันเนื่องมาจากความเครียดและชวยลดความเครียด ซ่ึงจะมีผลตอการเพิ่มความตานทานโรคของบุคคลได และแคพแลป (Caplan, 1974) กลาววา การสนับสนุนทางอารมณ เปนสิง่ที่ชวยลดผลของความเครียด ที่มีผลตอการเกิดโรคความดันโลหติสูงและโรคหัวใจในผูที่ทํางาน มีความเครียดมาก และผูที่มีแรงสนับสนุนทางสังคมต่ํามีโอกาสเสี่ยง ตอการเปนโรคความดันโลหิตสูง และโรคหัวใจมากกวาผูที่มีแรงสนบัสนุนทางสังคมสูง

งานวิจัยที่เกี่ยวของ ทวีชัย สายทอง (2551) ศึกษาปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคฟนผุของนักเรียน

ประถมศึกษาปที่ 5 และ 6 ตาํบลวัฒนานคร อําเภอวัฒนานคร จังหวดัสระแกว พบวา การสนับสนุนทางสังคม จากครอบครัว ครู เจาหนาที่สาธารณสุข ผูนํานักเรียน และเพือ่น ซ่ึงบุคคลที่มีสวนสําคัญ

Page 22: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

29

ในการสนับสนุน คือ บุคคลในครอบครัวและครู โดยบุคคลในครอบครัวมีสวนสําคญัที่สุดในการพานักเรยีนไปหาหมอฟน (รอยละ 84.0) และการสนับสนุนแปรงสีฟน/ยาสีฟนใหนกัเรียน เตือนใหนักเรียนแปรงฟน เตือนไมใหนักเรยีนกินขนมหวานมาก รอยละ 58.9 66.6 และ 56.4 และครูสนับสนุนในเรื่องดังกลาวรอยละ 46.0 47.7 และ 45.0 การแนะนําใหความรูเกีย่วกับการปองกันโรคฟนผุ รอยละ 45.6 สําหรับเจาหนาที่สาธารณสุขมีบทบาทสําคัญในการตรวจฟนใหนักเรยีนและแนะนําใหความรูนักเรียนเกีย่วกับการปองกนัโรคฟนผุ รอยละ 64.8 และ 59.9 ตามลําดับ ปจจัยที่มีผลตอพฤติกรรมการปองกันโรคฟนผุ การไดรับการสนบัสนุนทางสังคม มีอิทธิพลทางบวกกบัพฤติกรรมการปองกันโรคฟนผุ มีคาสัมประสิทธิ์การถดถอยในรูปคะแนนดิบ (b) = 0.38 อธิบายไดวา เมื่อคะแนนการไดรับการสนับสนุนทางสังคม เพิ่มขึ้น 1 หนวยในรูปคะแนนดิบ เมื่อควบคุมตวัแปรทัศนคติเกีย่วกับโรคฟนผุ การเขาถึงแหลงขายขนมใหคงที่

สิริรัตน ผิวคํา (2551) ศึกษาผลของการประยุกตใชวงจรคณุภาพของการบริหารรวมกบัทฤษฎีการเรียนรูและแรงสนับสนุนทางสงัคม ในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมการปองกันโรคฟนผุของนักเรียนประถมศึกษา เขตเทศบาลเมือง จังหวดันครพนม โดยศึกษานักเรียน 87 คน แบงเปนกลุมทดลอง 42 คนและกลุมเปรียบเทียบ 45 คน ทําการเก็บรวบรวมขอมูลระหวางเดือน มิถุนายน – สิงหาคม 2550 กลุมทดลองเขารวมกิจกรรมที่จัดขึ้นโดยประยุกตใชวงจรคุณภาพของเดมมิ่ง 4 ขั้นตอน คือ วางแผน (Plan) ปฏิบัติตามแผน (Do) ตรวจสอบกิจกรรม (Check) และแกไขปรับปรุงกิจกรรม (Act) เก็บรวบรวมขอมูลเปรียบเทียบ กอนและหลังทดลอง ทั้งสองกลุม ผลการวิจยัพบวา กอนการทดลอง นักเรียนกลุมทดลองและกลุมเปรียบเทยีบ มีคะแนนการปฏิบัติตัวเพือ่ปองกันโรคฟนผุอยูในระดับต่ําและไมมีความแตกตางกัน หลังการทดลองนักเรียนกลุมทดลองมีการปฏิบัติตัวเพื่อปองกันโรคฟนผุอยูในระดับปานกลาง ซ่ึงมากกวากลุมเปรียบเทียบที่มีการปฏิบัติตัวเพื่อปองกนัโรคฟนผุอยูในระดับต่ํา อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 นักเรียนกลุมเปรียบเทียบ ไดรับแรงสนับสนุนทางสังคมจากผูปกครองของกลุมเปรียบเทียบทั้งกอนและหลังการทดลองอยูในระดับต่ํา ไมมีความแตกตางกัน สรุปภายหลังการทดลอง กลุมทดลองมีความรูเร่ืองโรคฟนผุ การปฏิบัติตัวในการปองกันโรคฟนผุสูงกวากอนการทดลองและมีปริมาณ แผนคราบจุลินทรียบนตัวฟนนอยกวากอนการทดลอง และพบวาหลังการทดลอง กลุมทดลองมีความรูเร่ืองโรคฟนผุ การปฏิบัติตัวในการปองกันโรคฟนผุสูงกวากลุมเปรยีบเทียบและมีปริมาณแผนคราบจุลินทรียบนตวัฟนนอยกวากลุมเปรียบเทียบ

อรกัญญา บัวพัฒน (2551) ศึกษาประสิทธิผลของการประยุกตใชทฤษฎีความสามารถของตนเองรวมกับแรงสนับสนุนทางสังคมในการพัฒนาพฤติกรรมการแปรงฟนอยางถูกตองของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปที่ 6 ในโรงเรียนบานเลื่อม อําเภอเมือง จังหวดัอุดรธานี เปนการศึกษากึ่งทดลอง โดยศึกษานักเรยีน 60 คน แบงเปนกลุมทดลอง 30 คนและกลุมเปรียบเทียบ 30 คน

Page 23: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

30

ดําเนินการ 8 สัปดาห ผลการศึกษาพบวา ภายหลังการทดลอง กลุมทดลองมีคาเฉลี่ยของคะแนนการแปรงฟนอยางถูกตอง การรับรูความสามารถในตนเองในการแปรงฟนไดอยางถูกตอง คาดหวงัในการแปรงฟนอยางถูกตอง การปฏิบัติตัวในการแปรงฟนอยางถูกตอง สูงกวากอนทดลองและสูงกวากลุมเปรยีบเทียบ นอกจากนี้ยังพบวา การรับรูความสามารถในตนเองในการแปรงฟนไดอยางถูกตองและคาดหวงัในการแปรงฟนอยางถกูตอง มีความสัมพนัธในการปฏบิัติตัวในการแปรงฟนอยางถูกตอง

จินตนา พิเคราะหงาน (2550) ศึกษาปจจัยทีม่ีความสัมพันธกับสภาวะฟนผุของนักเรียนมัธยมศึกษา โรงเรียนแมแตง อําเภอแมแตง จังหวดัเชยีงใหม พบความสัมพันธระหวางเพศของกลุมตัวอยาง และ ระดับชั้นหรือชวงอาย ุมีความสัมพันธกับระดับความรนุแรงของภาวะฟนผุ พฤติกรรมการเลี้ยงดูนกัเรียน พอแมของนักเรียนที่สภาวะชองปากปกติสวนใหญจะดูแลเล้ียงดูบตุรดวยตวัเองตั้งแตแรกเกิด และเลี้ยงบุตรดวยนมแมตัง้แตแรกเกิดจนถึงอายุประมาณขวบครึ่ง พอแมฝกใหนักเรียนไมเคยชินกับอาหารรสหวาน โดยเติมน้ําตาลลงในอาหารที่ปรุงเองในปริมาณนอย พอแมไมคอยใหบุตรรับประทานขนม โดยจะไมซ้ือใหรับประทานตั้งแตบตุรอายุนอย ๆ และพอแมจะมีความสนใจในการดูแลสุขภาพชองปากของบุตรอยูเสมอไมวาจะเปนการทําความสะอาดชองปาก ตลอดจนการพาบุตรไปพบทันตบุคลากร เพื่อตรวจสุขภาพชองปาก สําหรับผูปกครองของที่มีนักเรียนที่มีระดับความรุนแรงของภาวะฟนผุสูง จะพบวา ในการเลี้ยงดบูุตรนั้น สวนใหญนักเรยีนจะไมคอยไดรับการเลี้ยงดูดวยนมแม และผูที่เล้ียงดูจะเปน ยายหรือ ยา ของนักเรียน นักเรียนที่ภาวะชองปากปกตสิวนใหญจะอาศัยอยูไมไกลจากโรงเรียน และหนวยงานสาธารณสุขมากนัก ทําใหการเดินทางจากบานมาโรงเรียน หรือจากบานไปโรงพยาบาลนั้นสะดวก ไมเสียคาใชจายมากผูปกครองไมยุงยากในการพาบุตรไปตรวจสุขภาพชองปาก หรือรับการรักษาเมือ่มีปญหาทันตสุขภาพ

เปรมฤดี ศรีสังข (2550) ศึกษาผลของโปรแกรมสุขศึกษา โดยการประยกุตทฤษฎีการกระทําดวยเหตุผลรวมกับแรงสนับสนุนทางสังคมตอพฤติกรรมการปองกันโรคฟนผุในนกัเรียนชัน้ประถมศึกษาปที่ 6 โรงเรียนเทศบาลวัดกลาง เทศบาลนครขอนแกน โดยศึกษานกัเรยีน 91 คน แบงเปนกลุมทดลอง 47 คน และกลุมเปรียบเทียบ 44 คน กลุมทดลองไดรับโปรแกรมทันตสุขศึกษา โดยการประยกุตทฤษฎีการกระทําดวยเหตุผลรวมกับแรงสนับสนุนทางสังคมใชเวลา 8 สัปดาห ผลการวิจัยพบวา ภายหลังการทดลอง พบวา ผูปกครองและครูประจําชัน้ของนักเรียนในกลุมทดลองใหแรงสนับสนุนทางสังคมแกนักเรยีนอยูในระดบัสูง รอยละ 68.1 คาเฉลี่ยในการใหแรงสนับสนุนทางสังคมแกนักเรยีนเทากับ 24.8 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐานเทากับ 2.63 และ ความสัมพันธระหวางความตั้งใจ ที่จะปองกันฟนผุ และการปฏิบัติตัวในการปองกันโรคฟนผุ กับตัวแปร แรงสนับสนุนทางสังคม พบวา มีความสมัพันธทางบวกกับแรงสนับสนุนทางสังคม

Page 24: 10 บทที่ 2 - Burapha Universitydigital_collect.lib.buu.ac.th/dcms/files/52920874/chapter2.pdf · ก็ยิ่ นที่กงเปั็กเกบเศษอาหาร

31

สุขสมพร บุญญาฤทธิ์ (2550) ศึกษาปจจยัที่มีความสัมพนัธกับการเกดิฟนผุในเด็ก นักเรียนชั้นประถมศึกษา อายุ 6 ป ของอําเภอไกสอนพมวิหาน จังหวัดสะหวนันะเขด สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว กลุมตัวอยางจาํนวน 300 คน พบวา นกัเรยีนหญิงมภีาวะฟนแทผุ มากกวานักเรยีนชาย พฤติกรรมการรับประทานขนมหวาน การพานกัเรียนไปพบทนัตแพทยเพื่อรักษาฟน การใชยาสีฟนรวมมีความสัมพันธกับภาวะฟนผุของนักเรียน

Nanna และคณะ (2009) ศึกษาเรื่อง สุขภาพและผลกระทบของปจจัยทางพฤติกรรมสังคม ใน การศึกษา ณ เวลาจุดใดจุดหนึ่งของเด็กนกัเรียน 12 ป ประเทศลาว โดยศกึษานกัเรียนจํานวน 612 คนพบวา เพศ ความรูของมารดา ที่อยูอาศัยของเด็ก และพืน้ฐานทางเศรษฐกิจ เปนปจจัยที่สัมพนัธกับอัตราการเกิดโรคฟนผุ โดยเพศหญิงมีอัตราการเกิดฟนผุมากกวาเพศชายนกัเรียนที่อาศัยอยูเขตกึ่งเมืองมีอัตราการเกิดฟนผุมากกวานักเรยีนที่อาศัยอยูในเขตเมือง ในขณะที่นกัเรียนที่อาศัยเขตเมืองไดรับการอุดฟน เด็กที่มารดามีความรูมีอัตราการอุดฟนสงูกวามารดาทีไ่มมีความรูต่ํา เด็กที่พืน้ฐานเศรษฐกิจสูง มอัีตราการอุดฟนสูงกวา เด็กทีม่ีพื้นฐานทางเศรษฐกิจต่ํา คนที่ไดรับการตรวจฟนมกีารรักษามากกวาเด็กที่ไมไดรับการตรวจฟน เด็กที่มีชอบดืม่น้ําหวานมีอัตราการเกิดฟนผุสูงกวาเด็กทีด่ื่มน้ําเปลา จากกการวิเคราะหระดับคะแนนฟนผุสูงของรายงานทันตกรรมในรอบป พบวาเดก็ที่มีทศันคติทางสุขภาพปานกลางถึงต่ําเด็กฟนผุกวาเด็กที่ไดรับการไดรับคําแนะนําดานสุขภาพชองปากเด็กอัตราเสีย่งจากฟนผุต่ําเมื่อได รับการตรวจฟนพรอมคําแนะนําการบริโภคน้ําหวานและการดูแลสุขภาพชองปากที่ดีมอัีตราเสี่ยง

Nibras AM Ahmed และคณะ (2007) ศึกษาเรื่อง อัตราการเกิดภาวะฟนผุและปจจยัเส่ียงในเดก็อายุ 12 ป ของโรงเรียนในกรุงแบกแดด หลังภาวะสงคราม ศึกษาในเด็กจํานวน 392 คน พบวา การไดรับการรักษาทนัตกรรมในระยะแรกสวนใหญมีภาวะฟนผุที่สัมพันธกับความรูและอันตรายของการบริโภคเครื่องดื่มและอาหารหวาน ปจจยัอ่ืน ๆ คือการบริโภคน้ําตาล ฐานะทางครอบครัว การศึกษาของครอบครัว สังคมที่อยูอาศัย ซ่ึงมีความสําคัญในการพัฒนาประเทศ ความตระหนกัในเดก็และครอบครัวที่สัมพันธกบัการบริโภคน้ําตาลในชุมชน ตองมีการสงเสริมสุขภาพโดยการใชฟลูออไรดในการปองกันและการดูแลโดยทันตบุคลากร

แรงสนับสนุนทางสังคม ซ่ึงใชเปนแรงเสริมที่มีบทบาทสําคัญอยางยิ่งตอพฤติกรรมสุขภาพของบุคคล ทั้งดานรางกายและจิตใจ ในการศึกษาครั้งนี้ใชแรงสนับสนุนทางสังคม จากบุคคลที่มีบทบาทสําคัญหรือเปนบุคคลในเครือขายทางสังคมของกลุมเปาหมาย คือ พอ แม ครู และทันตบุคลากร เนื่องจากเปนผูดูแลใกลชิดกับนักเรียน โดยใหแรงสนับสนนุทางสังคม 3 ดาน คือ แรงสนับสนุนทางสังคมดานอารมณ ดานการใหขอมูลขาวสาร และการสนับสนุนสิ่งของรวมถึงการบริการ ในเรื่องการดูแลทันตสุขภาพ การแปรงฟน การไปตรวจรักษาฟนกับทันตบุคลากร การบริโภคขนมหวาน