1-8 Tool Steel

8
การอบชุบเหล็กกล้าแม่พิมพ์ อุษณีย์ กิตกําธร อีเมล์ : [email protected] ความแข็งแรงและความแกร่งสูง ความแข็งสูงเพือต้านทานการสึกหรอ การคงขนาดและมิติทีแน่นอน อายุการใช้งาน คุณสมบัติของแม่พิมพ์ทีต้องการ แม่พิมพ์ส่วนใหญ่ผลิตโดยการกลึงไสกัดเจาะ เหล็กกล้าที จะนํามาผลิตมาในสภาพแท่งหรือก้อน ส่วนใหญ่มี ความแข็งปานกลางถึงตํเหมาะกับการกลึงไสกัดเจาะ เพือเพิมคุณภาพของทั 0งตัวงานที ผลิต และตัวแม่พิมพ์ ส่วนใหญ่ ต้องนําแม่พิมพ์หลังจากกลึงไสและกัด ไปอบชุบทางความร้อน เพือเพิมความแข็ง คุณสมบัติของแม่พิมพ์ทีต้องการ วัตถุประสงค์การอบชุบ เพือนําไปขึ 0นรูปและกลึงไส หรือปรับโครงสร้างก่อนนําไปชุบแข็ง อบอ่อน และอบปกติ เพือเพิมความแข็งและนําไปใช้งาน ชุบแข็ง ชุบผิวแข็ง การอบชุบเหล็กกล้าแม่พิมพ์

Transcript of 1-8 Tool Steel

การอบชุบเหล็กกล้าแม่พิมพ์

อุษณีย์ กิตกาํธร

อีเมล์: [email protected]

� ความแข็งแรงและความแกร่งสูง

� ความแข็งสูงเพื�อต้านทานการสึกหรอ

� การคงขนาดและมิติที�แน่นอน

� อายุการใช้งาน

คุณสมบัติของแม่พิมพ์ที�ต้องการ

� แม่พิมพ์ส่วนใหญ่ผลิตโดยการกลึงไสกัดเจาะ

� เหล็กกล้าที�จะนํามาผลิตมาในสภาพแท่งหรือก้อน ส่วนใหญ่มีความแข็งปานกลางถึงตํ�า เหมาะกับการกลึงไสกัดเจาะ

� เพื�อเพิ�มคุณภาพของทั 0งตัวงานที�ผลิต และตัวแม่พิมพ์ ส่วนใหญ่ต้องนําแม่พิมพ์หลังจากกลึงไสและกัด ไปอบชุบทางความร้อนเพื�อเพิ�มความแข็ง

คุณสมบัติของแม่พิมพ์ที�ต้องการ

� วัตถุประสงค์การอบชุบ� เพื�อนําไปขึ 0นรูปและกลึงไส หรือปรับโครงสร้างก่อนนําไปชุบแข็ง�อบอ่อน และอบปกติ

� เพื�อเพิ�มความแข็งและนําไปใช้งาน�ชุบแข็ง

�ชุบผิวแข็ง

การอบชุบเหล็กกล้าแม่พิมพ์

� กลุ่มเหล็กกล้าคาร์บอนและเหล็กกล้าผสมตํ�า เช่น�JIS S50C / AISI1050 / DIN Ck50

� กลุ่มเหล็กกล้าเครื� องมือ เช่น

�JIS SKS41 / AISI S1 / DIN 60WCrV8

�JIS SKD11 /AISI D2 / DIN X165CrMoV12

�JIS SKD61 / AISI H13 / DIN 40CrMoV5

� กลุ่มเหล็กกล้าชั 0นคุณภาพพิเศษเฉพาะงาน เช่น เหล็กกล้าแม่พิมพ์พลาสติก AISI P2, AISIP6 / JIS SKC31

ชนิดเหล็กกล้าทําแม่พิมพ์ โลหะวิทยาทั�วไปของเหล็กกล้าคาร์บอน

เหล็กกล้าไฮโปยูเทต็อยด์

เหล็กกล้าไฮเปอร์ยูเทก็ตอยด์

� การอบชุบทางความร้อนปรับโครงสร้างจุลภาคเหล็กได้ เพราะเหล็กและเหล็กกล้ามีโครงสร้างผลึกหรือเฟสได้หลายแบบ

� ที�อุณหภูมิสูงเหล็กและเหล็กผสมเป็นเฟสออสเทนไนต์

� ที�อุณหภูมิตํ�าลงมาเหล็กและเหล็กผสมอาจเปลี�ยนเฟสกลายเป็นเฟอร์ไรต์ เพิ ร์ลไลต์ เบนไนต์ และมาร์เทนไซต์ โดยขึ 0นกับอัตราการเย็นตัวและธาตุผสมในเหล็ก

โลหะวิทยาทั�วไปของเหล็กกล้าคาร์บอน โลหะวิทยาทั�วไปของเหล็กกล้าคาร์บอน

อัตราการเยน็ตัว

ออสเทนไนต์เกิดการเปลี�ยนแปลงไปเป็นโครงสร้างจลุภาคได้หลากหลาย ขึ 0นกบัอตัราการเยน็ตวัและชนิดเหลก็กล้านั 0นๆ

เพริ์ลไลต์หยาบ เพริ์ลไลต์ละเอียด เบนไนต์ มาร์เทนไซต์

� มีความแข็งสูงแต่เปราะ ความแข็งของมาร์เทนไซต์ขึ 0นอยู่กับปริมาณคาร์บอนเท่านั 0น ส่วนธาตุผสมอื�นจะส่งผลต่อ ความสามารถในการชุบแข็ง อุณหภูมิเริ� มเกิดมาร์เทนไซต์ Ms และ อุณหภูมิสิ 0นสุดการเกิดมาร์เทนไซต์ M f

�0.2%C ∼ 50 HRC

�0.4%C ∼ 58 HRC

�0.8%C ∼ 63 HRC

�ออสเทนไนต์ที� มีคาร์บอนตั 0งแต่ 0.4%ขึ 0นไป หลังชุบแข็งมาที�อุณหภูมิห้องแล้ว จะไม่ได้มาร์เทนไซต์ทั 0งหมดและมีออสเทนไนต์เหลือค้างด้วย

มาร์เทนไซต์

� มีความแข็งสูงแต่น้อยกว่ามาร์เทนไซต์ นอกจากนี 0มีความเหนียวกับความแกร่งสูง

� เกิดขึ 0นเมื�ออัตราการเย็นตัวสูงแต่ช้ากว่าอัตราการเย็นตัววิกฤติ

� ลักษณะเบนไนต์ประกอบด้วยเฟอร์ไรต์รูปร่างแหลมขนาดเล็กๆ และมีคาร์ไบด์ตกผลึกอยู่ภายใน(เบนไนต์เกิดที�อุณหภูมิตํ�า) หรืออยู่ระหว่างเข็มเฟอร์ไรต์(เบนไนต์เกิดที�อุณหภูมิสูง)

เบนไนต์

� ที� 100-200 °C เริ�มเกิดคาร์ไบด์กึ�งสมดุลขนาดเล็กตกผลึกออกมาความแข็งลดลงเล็กน้อยเพิ�มความแกร่ง(toughness)

� ที� 200-350°C ออสเทนไนต์เหลือค้างเปลี�ยนเป็นเบนไนต์ ความแข็งลดลง ความเหนียวเพิ�มขึ 0น

� ที� 250-700°C เกิดการตกผลึกซีเมนไทต์ม M3C

และมาร์เทนไซต์กลายเป็นเฟอร์ไรต์ ความแข็งลดลงชัดเจน

� ที� 700°C ขึ 0นไป ผลึกซีเมนไทต์โตขึ 0น และเกิดการตกผลึกของคาร์ไบด์ประเภทสมดุล ความแข็งลดลงมาก

การอบคืนไฟ

หากนํามาร์เทนไซต์จากการชบุเหลก็กล้าคาร์บอนไปอบคืนไฟที�อณุหภมูิสงู 200-600°C จะเกิดการเปลี�ยนแปลงขึ 0นกบัอณุหภมูิคือ

� ในกรณีเหล็กกล้าที� มีคาร์บอนปานกลางถึงสูงและมีธาตุผสมที�รวมตัวกับคาร์บอนให้คาร์ไบด์ได้ดี หลังชุบแข็งจะมีออสเทนไนต์เหลือค้างมาก ความแข็งจึงอาจไม่สูงสุด

� เมื�ออบคืนไฟ คาร์บอนในออสเทนไนต์เหลือค้างจะจับตัวกับธาตุดังกล่าวเป็นคาร์ไบด์ และเมื�อปล่อยเย็นตัวออสเทนไนต์เหลือค้างจะกลายเป็นมาร์เทนไซต์ จึงปรากฎพฤติกรรมการมีค่าความแข็งเพิ�มขึ 0นหลังการอบคืนไฟ (secondary

hardening)

มาร์เทนไซต์

ประเภทของกระบวนการอบชุบทั 0งชิ 0นงาน หลักๆ คือ� อบอ่อน (Annealing)

� อบปกติ (Normalizing)

� ชุบแข็งและอบคืนไฟ (Quenching & Tempering)

ประเภทของกระบวนการอบชุบทั 0งชิ 0นงานแบบพิเศษ� ออสเทมเปอริง (Austempering)

� มาร์เทมเปอริง (Martempering)

กระบวนการอบชุบของกลุ่มเหล็กช่วงอุณหภูมิในการอบเหล็กกล้า

ของกระบวนการอบชุบต่างๆ

การอบอ่อนยังสามารถแบ่งประเภทย่อยๆ ได้อีก โดยแบ่งตามวัตถุประสงค์ของการอบอ่อน เช่น

�อบอ่อนคลายความเค้นตกค้าง (Stress relief annealing

or process annealing, sub-critical annealing)

� อบอ่อนเพื�อการตกผลึกใหม่ มีทั 0งแบบ recrystallization

annealing และ isothermal annealing

� อบอ่อนคาร์ไบด์กลม (spheroidize annealing)

� อบอ่อนสมบูรณ์ (Full annealing)

กระบวนการอบอ่อน

�อบอ่อนคลายความเค้นตกค้าง (Stress relief annealing

or process annealing, sub-critical annealing)

� ใช้กับชิ 0นงานที�ผ่านการขึ 0นรูปเย็นที�ไม่รุนแรงมากนัก เช่น ผ่านการกลึงไสมา

� โครงสร้างจุลภาคไม่เกิดการเปลี�ยนแปลง อบเพื�อคืนความเหนียวให้กับเหล็กกล้า

� ปกติอบที�อุณหภูมิตํ�ากว่า A1

กระบวนการอบอ่อน

� อบอ่อนเพื�อการตกผลึกใหม่ มีทั 0งแบบ recrystallization

annealing และ isothermal annealing

� ใช้กับชิ 0นงานที�ผ่านการขึ 0นรูปเย็นมาอย่างรุนแรง เช่น การดึงขึ 0นรูป อัดขึ 0นรูป รีดขึ 0นรูป เป็นต้น อบเพื�อปรับรูปร่างและขนาดเกรน

�recrystallization annealing อุณหภูมิที�อบอยู่เหนืออุณหภูมิการตกผลึกใหม่ และให้คงที�เป็นระยะเวลาหนึ�งๆ

�isothermal annealing อุณหภูมิที�อบเริ�มต้นอยู่ในช่วงที�เกิดเป็นออสเทนไนต์ได้บางส่วน (intercritical temperature) แล้วปล่อยเย็นตัวลงมาที�อุณหภูมิตํ�ากว่า A1 เพื�อให้เกิดเพิร์ลไลต์

กระบวนการอบอ่อน

� อบอ่อนคาร์ไบด์กลม (spheroidizing annealing หรือ soft

annealing)

�เพื�อปรับคาร์ไบด์ให้กลมมน และไม่มีความต่อเนื�องเพื�อที�จะนําไปกลึงไสได้ง่าย

�ใช้กับเหล็กกล้าที�มีคาร์บอนปานกลางถึงคาร์บอนสูง

�อบที�อุณหภูมิตํ�ากว่า A1 เล็กน้อยเป็นเวลานานๆ ประมาณ 24 ชม.

�หรืออบที�อุณหภูมิตํ�ากว่าและสูงกว่า A1 เล็กน้อยสลับกันไปมา�หรืออบที�อุณหภูมิสูงกว่า A1 จากนั 0นปล่อยเย็นตัวในเตาลงมาที�

อุณหภูมิตํ�ากว่า A1 เพียงเล็กน้อยแล้วคงไว้เป็นเวลานานๆ

กระบวนการอบอ่อน

กระบวนการอบอ่อน

เหล็กกล้าคาร์บอน 1.0% % % % สภาพหลังอบอ่อนให้คาร์ไบด์กลม

เหล็กกล้าเครื/องมือ DDDD2 2 2 2 (SKD(SKD(SKD(SKD11111111)))) สภาพหลังอบอ่อนให้คาร์ไบด์กลม

� อบอ่อนสมบูรณ์ (Full annealing)

�ใช้กับชิ 0นงานที�ผ่านการขึ 0นรูปเย็นมาอย่างรุนแรง หรือผ่านกระบวนการผลิตอื�นๆ มาแล้วต้องการปรับลักษณะโครงสร้างจุลภาคภายในเหล็กกล้าให้สมํ�าเสมอ

� กรณีไฮโปยูเท็กตอยด์อบเหนือ A3 ส่วนกรณีไฮเปอร์ยูเท็กตอยด์อบเหนือ หรือ A1

กระบวนการอบอ่อน

� เป็นการปรับปรุงโครงสร้างให้มีความสมํ�าเสมอ ช่วงการอบคล้ายกับการอบอ่อนสมบูรณ์ แต่อัตราการเย็นตัวเร็วกว่า โดยการให้เย็นในอากาศ

� การอบปกติให้ขนาดเกรนเล็กละเอียดกว่า ให้ความแข็งแรงสูง กว่าการอบอ่อนสมบูรณ์

� ในเชิงพาณิชย์นิยมอบปกติมากกว่าอบอ่อนสมบูรณ์เนื�องจากไม่ต้องคุมการเย็นตัวในเตา ใช้เวลาในช่วงการเย็นตัวสั 0นกว่า กําลังการผลิตจึงสูงกว่า

� ในเหล็กกล้าเครื� องมือส่วนใหญ่ ไม่นิยมใช้การอบปกติ

การอบปกติ

� เป็นการปรับปรุงเหล็กกล้าให้มีความแข็งสูง เหมาะกับการใช้งานที� ต้องการการทนต่อการสึกหรอ หรือเสียดสีได้ดี

� โครงสร้างจุลภาคกลายเป็นเทมเปอร์มาร์เทนไซต์ หรือเบนไนท์ หรือผสมกันระหว่างเบนไนท์และเทมเปอร์มาร์เทนไซต์ ทั 0งนี 0ขึ 0นกับชนิดเหล็กกล้าและขั 0นตอนการชุบแข็ง

� ประกอบด้วย 3 ขั 0นตอนหลัก คือ การอบให้เป็นออสเทนไนต์ การชุบให้เย็นตัวอย่างรวดเร็ว และการอบคืนไฟ

การชุบแข็งและอบคืนไฟ

การชุบแข็งและอบคืนไฟ

อณุหภ

มูิ

เวลา

ออสเทนนิไทซิง

ชบุให้

เย็นต

วัอยา่

งรวด

เร็ว

อบคืนไฟ

TTT AND CCT DIAGRAMS

�กราฟแสดงความสัมพันธ์ของการเปลี�ยนเฟสจากออสเทนไนต์ไปเป็นเฟสอื�น ใช้ทํานายโครงสร้างที�จะได้จากการอบชุบ โดยกราฟมี 2 แบบคือ

�TTT Diagram (Time-Temperature Transformation)

ได้จากการวัดอัตราการเปลี�ยนเฟสที�อุณหภูมิคงที� อีกนัยหนึ�งก็คือการทําให้โลหะเย็นตัวอย่างรวดเร็วลงมายังอุณหภูมิที�สนใจจากนั 0นคงอุณหภูมิไว้แล้ววัดอัตราการเปลี�ยนเฟสเทียบกับเวลา

�CCT Diagram (Continuous Cooling Transformation)

ได้จากการวัดอัตราการเปลี�ยนเฟสเมื�อปล่อยให้เย็นตัวอย่างต่อเนื�อง อีก

นัยหนึ�งก็คือการทําให้โลหะเย็นตัวอย่างต่อเนื�องแล้ววัดอัตราการเปลี�ยน

เฟสเทียบกับเวลา ทําหลายๆ อัตราการเย็นตัว

CCT AND TTT DIAGRAMS

CCT AND TTT DIAGRAMS

TTT เทียบกับ CCT

ถา้จะชบุใหไ้ดม้าร์เทนไซต์เท่านั�นตอ้งเย็นตวัเร็วกว่า “อัตราการเยน็ตัววกิฤต””””

TTT เทียบกับ CCT

TTT และ CCT ของเหลก็กล้าผสมตํ�า AISI4140/SCM440/DIN 42CrMo4

TTT ของเหล็กกล้าไฮโปยูเท็กตอยด์

TTT ของเหล็กกล้าไฮเปอร์ยูเท็กตอยด์

TTT เทียบกับ CCT

ผิวชิ0น

งาน

ใจกล

างชิ0น

งาน

� เมื�อไรเราจะใช้แผนภาพ TTT

� การอบชุบเป็นแบบอุณหภูมิคงที� เช่น isothermal annealing

� การชุบแบบออสเทมเปอริง เพื�อให้ได้เบนไนต์� การชุบแบบมาร์เทมเปอริง เพื�อให้ได้มาร์เทนไซต์และลดการบิดเบี 0ยว

หรือแตกร้าว

� เมื�อไรเราจะใช้แผนภาพ CCT diagram

� การอบชุบเป็นแบบเย็นตัวต่อเนื�องทุกแบบ เช่น อบปกติ

การชุบในนํ 0ามัน การชุบในนํ 0า เป็นต้น

TTT AND CCT DIAGRAMS