001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information...

32
Information Technology เทคโนโลยีสารสนเทศ Olarik Surinta [email protected]

Transcript of 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information...

Page 1: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Information Technologyเทคโนโลยีสารสนเทศ

Olarik [email protected]

Page 2: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 2

เทคโนโลยี (Technology)

เปนการประยุกตเอาความรูทางดานวิทยาศาสตร

มาใชใหเกิดประโยชน การศึกษาพัฒนาองคความรูตาง ๆ ก็เพื่อใหเขาใจธรรมชาติ กฎเกณฑของสิ่งตาง ๆ และหาทางนํามาประยุกตใหเกิดประโยชน เทคโนโลยีจึงเปนคําที่มีความหมายกวาง

เทคโนโลยีจึงเปนหัวใจของการสรางมูลคาเพิ่ม

ใหกับสินคาและผลิตภัณฑตางๆ

Page 3: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 3

สารสนเทศ (Information)

ขอมูลที่ผานการประมวลผล และเปนประโยชนตอการดําเนนิชีวิตของมนุษย ทุกวันนี้มีขอมูลอยูรอบตัวเรามาก ขอมูลเหลานี้มาจากสื่อ เชน วิทยุ โทรทัศน หนังสือพิมพ อินเทอรเน็ต หรือแมแตการสื่อสารระหวางบุคคล จึงมีผูกลาววายคุนี้เปนยุคของสารสนเทศ

Page 4: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 4

สารสนเทศ (Information)

คุณสมบัติ

มีความถูกตอง

ความรวดเร็ว และเปนปจจุบันมีความสมบูรณของขอมูล

มีความชัดเจนกะทัดรัด

มีความสอดคลองกับความ

ตองการ

Page 5: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 5

บุคลากรทีเ่กี่ยวของกับสารสนเทศ

Top Managementระดับวางแผนยุทธศาสตรระยะยาว

Long term planningStrategic plans

Middle Managementระดับวางแผนการบริหาร

tactical planning

Page 6: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 6

บุคลากรทีเ่กี่ยวของกับสารสนเทศ

Lower Managementระดับวางแผนปฏิบัติการ

day-to-day operational plans

Operational Employeeระดับปฏิบัติการ

Page 7: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 7

TopManagement

MiddleManagement

LowerManagement

Operational Employees

CEO,

President,

Vice President

Sales Representative, Retail Associate,

Production Worker, Team Member,

Administrative Assistant, Tech Support

Representative, accounting Clerk, Financial Analyst

Supervisor,

Team Leader,

Coordinator

Director,

Manager

Page 8: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 8

เทคโนโลยีสารสนเทศ (Information Technology)

เทคโนโลยีที่ใชจัดการ สารสนเทศ เปนเทคโนโลยีที่เกี่ยวของตั้งแตการรวบรวม การจัดเก็บขอมูล การประมวลผล การพิมพ การสรางรายงาน การสื่อสารขอมูล ฯลฯ เทคโนโลยีสารสนเทศยังรวมถงึเทคโนโลยีที่ทําใหเกิดระบบการใหบริการ การใช และการดูแลขอมูล

Page 9: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 9

องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ประกอบดวยเทคโนโลยีที่สําคัญ 2 สาขาคือ

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร

ใชสําหรับการจัดการระบบสารสนเทศ เพื่อใหไดสารสนเทศตามที่ผูใชตองการอยางถูกตอง รวดเร็ว และมีประสิทธิภาพไมวาจะเปนการคัดเลือก การจัดหา การวิเคราะหเนื้อหา และการคนคืนสารสนเทศกระบวนการจัดทําสารสนเทศประกอบดวย การนําขอมูลเขา, การประมวลผลขอมูล และการแสดงผลขอมูล

การนําขอมูลเขา การประมวลผลขอมูล การแสดงผลขอมูล

Page 10: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 10

องคประกอบของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีโทรคมนาคม

ชวยใหการสื่อสารหรือการเผยแพรสารสนเทศไปยังผูใชในแหลงตาง ๆ เปนไปอยางสะดวกรวดเร็ว ถูกตอง ครบถวน ทันตอเหตุการณ และควรที่จะสื่อสารไดในรูปแบบตาง ๆ ไมวาจะเปนขอมูล (Data) ที่เปนตัวเลขหรือตัวอักษร (Text) ภาพ (Image) และเสียง (Voice) เทคโนโลยีโทรคมนาคมไดแก ระบบโทรทัศน, โทรเลข, วิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน รวมทั้งเทคโนโลยีเครือขายคอมพิวเตอร

ผูสงสารสนเทศ ผูรับสารสนเทศ

Page 11: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 11

ความสาํคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เทคโนโลยีสารสนเทศมีพัฒนาการที่เจริญกาวหนาอยางรวดเร็ว มีการปรับปรุงเครื่องมืออยูตลอดเวลา เชนการใชระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร (Geographic Information System: GIS)การประชุมทางไกล (Tele-Conference)การถอนเงินอัตโนมัติ (Automatics Teller Machine: ATM)ระบบหองสมุดอัตโนมัติ (Library Automation)

Page 12: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 12

ความสาํคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

เมื่อเทคโนโลยีสารสนเทศเกิดการใชงานอยาง

แพรหลาย ทําใหสังคมมนุษยจึงเปลี่ยนแปลงไปสูยุคของขอมูลขาวสาร (Information Age) หรือยุคดิจิตอล (Digital Age)เทคโนโลยีสารสนเทศจึงเปนโครงสรางพื้นฐาน (Infrastructure) ที่มีความสําคัญตอการพัฒนาระบบสารสนเทศ เพื่อนําไปใชในการพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม

Page 13: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 13

ความสาํคัญของเทคโนโลยีสารสนเทศ

ชวยในการจัดระบบขาวสารจํานวนมหาศาลของแตละวัน

ชวยเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสารสนเทศ

ชวยในการเก็บสารสนเทศไวในรูปทีเ่รียกใชไดทุกครั้งอยางสะดวก

ชวยในการจัดระบบอัตโนมัติ เพื่อจัดเก็บ ประมวลผล และเรยีกใชสารสนเทศ

ชวยในการเขาถึงสารสนเทศไดอยางรวดเร็ว มีประสิทธิภาพมากขึ้นชวยในการสื่อสารระหวางกันไดอยางสะดวก รวดเร็ว

Page 14: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 14

เทคโนโลยีคอมพิวเตอร

คอมพิวเตอร

อุปกรณอิเล็กทรอนิกสที่สามารถปอนคําสั่งเขาไป เพื่อใชในงานคํานวณที่ตองการความเร็วและความละเอียดสูง, งานปฏิบตัิการทางตรรกะ, หรืองานออกแบบกราฟฟก

คอมพิวเตอรสามารถรับขอมูลและคําสั่งที่ปอนเขามา เก็บไวในหนวยความจํา กอนที่จะนําไปประมวลผล ใหไดผลลัพธ ซึ่งจะนําไปเก็บในหนวยความจํา หรือแสดงออกทางเครื่องมือแสดงผล

Page 15: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 15

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ประวัตศิาสตรของคอมพิวเตอร (อยางคราวๆ)สมัยกอนประวัติศาสตร: 500-600 ป กอนค.ศ. ประเทศจีนใช ลูกคิด (abacus) เปนเครื่องชวยนับ

Page 16: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 16

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1642 เบลส ปาสคาล (Blaise Pascal) ชาวฝรั่งเศส ประดิษฐเครื่องบวกและลบเลขเครื่องแรก โดยใชฟนเฟองไดสําเร็จ เขาไดรับการยกยองเปนผูประดิษฐเครื่องคิดเลข เครื่องแรกของโลก เรียกวา PascalineCalculator

ค.ศ. 1623-1662

Page 17: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 17

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1673 ก็อตฟรี่ วิลเฮลม เลบนิซ (Gottfried Wilhelm Leibniz) ชาวเยอรมัน ผูคิดคนแคลคูลัส เขาไดประดิษฐเครื่องบวก ลบ คูณ หาร และหารากที่สองไดอยางอัตโนมัติ เรียกวา วงลอของเลบนิซ (Leibniz wheel)

ค.ศ. 1646-1716

Page 18: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 18

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1822 ชารลส แบบเบจ (Charles Babbage) ชาวอังกฤษ ประดิษฐเครื่องจักรซึ่งสามารถคํานวณคา ฟงกชันตรีโกณมติิ สมการโพลิโนเมียล สมการผลตาง และฟงกชันตางๆ ทางคณิตศาสตรได เรียกวา Difference Engine

ค.ศ. 1791-1871

Page 19: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 19

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ตอมา ค.ศ. 1830 ไดพัฒนาความคิดตอเนื่องไปเปนเครื่อง Analytical Engine มีการทํางานคลายกับคอมพิวเตอรในปจจุบัน คือมีสวนเก็บขอมูล สวนคํานวณ และสวนควบคุม ถึงแมวาจะสรางไมสําเร็จ แตชารลส แบบเบจ ก็ไดรับการยกยองเปนบิดาของคอมพิวเตอร

Page 20: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 20

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1843 เอดา ออกัสตา เลิฟเลซ (Ada Augusta Lovelace) ชาวอังกฤษ ซึ่งเคยรวมงานกับ แบบเบจ ไดพัฒนา Analytical Engine โดยสามารถใชเลขฐานสองแทนฐานสิบ และเขียนโปรแกรมดวยบัตรเจาะรูไดคนแรกของโลก เธอจึงไดรับการยกยองเปนโปรแกรมเมอรคนแรกของโลก

Page 21: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 21

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1847 จอรจ บูลล (George Boole) ชาวอังกฤษ ไดคิดคน Boolean Algebra ในงานเขียนของเขาชื่อ The Mathematical Analysis of Logic ซึ่งตอมาไดกลายเปนรากฐานของการพัฒนาวงจรของหนวยคํานวณ และตรรกะของคอมพิวเตอร โดยใชสภาวะเปดและปด (1 และ 0)

ค.ศ. 1815-1864OR AND NOT

Page 22: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 22

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1890 เฮอรแมน ฮอลเลอริธ (Herman Hollerith) ชาวอเมริกันไดคิดคนเทคนิคการคํานวณแบบใหมโดยใชบัตรเจาะรู ทําใหสามารถประมวลผลไดเร็วกวาการประมวลผลดวยมือมาก ในปค.ศ. 1896 เขาไดกอตั้งบริษัท The Tabulating Machine Company ซึ่งตอมากลายเปนบริษัทไอบีเอ็ม (International Business Machines Corporation)

ค.ศ. 1860-1929

Page 23: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 23

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1946 ด.ร.จอหน มาชลี่ และ ด.ร. จอหน เอ็กเกิรต (Dr. John W. Mauchly and Dr. John P. Eckert) ชาวอเมริกัน ไดประดิษฐคอมพิวเตอรอิเล็กทรอนิกสเปนเครื่องแรกของโลก ชื่อวา ENIAC(Electronic Numerical Integrator And Computer)

ค.ศ. 1919-1995ค.ศ. 1907-1980

Page 24: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 24

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1949 ด.ร.จอหน วอน นิวแมน (Dr. John Von Neuman) ชาวอเมริกัน และทีมงานที่พัฒนาเครื่อง ENIAC ที่มหาวิทยาลัยเพนซิลเวเนีย ไดพัฒนาเครื่องคอมพิวเตอรที่สามารถเก็บโปรแกรมไวในเครื่อง และทํางานไดโดยอัตโนมตัิ ชื่อวา EDVAC (Electronic Discrete Variable Automatic Computer)

ค.ศ. 1903-1957

Page 25: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 25

วิวัฒนาการของคอมพิวเตอร

ค.ศ. 1951 Eckert-Mauchly Computer Corporation ไดออกแบบ และผลิตเครื่องคอมพิวเตอร UNIVAC (Universal Automatic Computer) เครื่องนี้มีน้ําหนักประมาณ 7 ตัน ใช vacuum tubes 5,000 ตัว และมีความสามารถในการคํานวณได 1,000 ครั้งตอวินาที นับเปนเครื่องคอมพิวเตอรเครื่องแรกที่ถูกพัฒนาสําหรับใชทางธุรกิจ (the first commercial computer)

Page 26: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 26

Digital Age (โลกยุคดิจิตอล)

โลกยุคดิจิตอลเปนยุคของการเปลีย่นแปลงทางเทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส ที่มีผลกระทบโดยตรงกับเทคโนโลยีสารสนเทศ

การเปลีย่นแปลงของวงจรอิเล็กทรอนิกสทําใหขีดความสามารถของ

คอมพิวเตอรเปลี่ยนไปทําให

ขนาดของอุปกรณเล็กลง

ประสิทธิภาพสูงขึ้น

เชน E-Commerce, E-Education

Page 27: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 27

E-Commerce

การสงขอมูล สินคาและบริการ หรือ การชําระเงิน ผานสื่ออิเล็กทรอนิกส เชน สายโทรศพัท เครือขายคอมพิวเตอร เปนตน เทคโนโลยีทีช่วยใหการทําธุรกรรม (Business Transaction) และการทํางานตามขั้นตอน (Workflow) ขององคกรเปนไปอยางอัตโนมัติ

Page 28: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 28

E-Commerce กับประโยชนตอผูบริโภค

เปนแหลงเลือกซื้อสินคาและบริการนานาชนิดจากตลาดตาง ๆ ทั่วโลกใหความสะดวกที่จะคัดเลือกสินคาและเปรียบเทียบราคาสินคา และประหยดัเวลาเนื่องจากไมตองเดินทาง

สามารถรับขอมูลที่เปนประโยชนในการตัดสินใจหลากหลายแงมุม เชน รายละเอียดของสินคา คุณภาพของสินคา ขอมูลผูผลิต รวมถึงยังสามารถใหขอคิดเห็นเกีย่วกับ สินคานั้นๆไดโดยตรงอีกดวยไดรับความสะดวกในการจัดสง เพราะสินคาสวนใหญจัดสงถึงบาน

Page 29: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 29

ประเภทของ E-Commerce

Business to Consumer (B to C) เปนการคาระหวาง

บริษัทกับผูบริโภค หรือ แบบขายปลีก มีการสั่งซื้อสินคาจํานวนไมมากและมูลคาการซื้อ-ขายแตละครั้งจํานวนไมสูง การคาแบบนี้มักชําระเงินดวยบัตรเครดิต Business to Business (B to B) เปนการคาระหวางบริษัทกับบริษัท มีการสั่งซื้อสินคาและมีมูลคาการซื้อ-ขายแตละครั้งจํานวนสูง การคาแบบนี้มักชําระเงินผานธนาคาร ในรูปของ Letterof Credit (L/C) หรือ ในรูปของ Bill of Exchange อื่นๆ

Page 30: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 30

ประเภทของ E-Commerce

Business to Government (B to G) เปนการคาระหวางองคกรเอกชนกับองคกรของรัฐ การคาลักษณะนี้จะมีกฎระเบยีบที่เกีย่วของคอนขางมาก

Consumer to Consumer (C to C) เปนการคาระหวางบุคคลทั่วไป หรือ ระหวางผูใชเครือขายอินเตอรเน็ตดวยกันเอง ซึ่งการซื้อ-ขายนี้อาจทําผาน Web Site ที่จัดตั้งขึ้นมาเปนการเฉพาะ เชน การซื้อ-ขายในรูปของการประมูลสินคา ที่ผูใชแตละคนเอามาฝากขายไวบน WebSite

Page 31: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 31

E-Education

E-Education (การศึกษาอิเล็กทรอนิกส) คือ การสงขอมูลสื่อการศึกษา และการบริการ เชน Course ware, หองสมุดอิเล็กทรอนิกส และ การชําระลงทะเบียนเรียนผานสื่ออิเล็กทรอนิกส เชนเครือขายคอมพิวเตอร เปนตนเทคโนโลยีที่ชวยใหกระบวนการจัดระบบการศึกษา (Education System) เปนการทํางานตามขั้นตอนเปนไปอยางอัตโนมัติจนเสร็จสิ้นบนระบบเครือขาย

เปนเครื่องมือที่ชวย สถาบันการศึกษา องคการจัดการศึกษา ตลอดจนผูศึกษาหรือผูเรียนลดคาใชจาย จากการใชบริการผานเครือขาย ชวยใหขอมูลและการบริการที่รวดเร็ว ทันสมัย

Page 32: 001 - Information Technology - Mahasarakham University · 2017-06-15 · Chapter 1: Information Technology Management 3 สารสนเทศ (Information) ข อมูลที่ผ

Chapter 1: Information Technology Management 32

E-Education กับการเปลี่ยนแปลงโลกการศกึษา

ลดชองวางการแขงขันระหวางองคกรหรือสถาบันการศึกษาทั่งขนาดใหญและขนาดเล็ก

ทําใหองคกรสถาบันการศึกษาขนาดใหญตองปรับตัวทั้งในดานการบริหาร การจัดการองคกร รวมไปถึงวิธีการดําเนินกอใหเกิดการแขงขันทางธุรกิจการศึกษามากขึ้น

สรางชองทางการขยายการศึกษามากขึ้น

เกิดการทํางานภายใตคอนเซปต มหาวิทยาลัย 24 ชั่วโมง ผูเรียนสามารถทํากิจกรรมทางการศึกษาตลอดเวลา 24 ชั่วโมงสรางรูปแบบของความรวมมือทางการศึกษาหรือเครือขายการศึกษาที่หลากหลายขึ้น

ทําใหเกิดแรงผลักดันในการจัดการศึกษารูปแบบแปลกใหมมากขึ้น