ตลาดสีเขียว Vol.11

28
ตลาดสีเขียว... ตลาดเพอประชาธิปไตยผืนดิน ปที3 ฉบับที11 เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2553 การเติบโต...ของตลาดนัดสีเขียว ในโรงพยาบาลตนแบบ ปาตา...กูรู มังสวิรัติ ปาตา...กูรู มังสวิรัติ ดัชนีโลกมีสุข ดัชนีโลกมีสุข

description

ปที่ 3 ฉบับที่ 11 เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2553 ตลาดสีเขียว... ตลาดเพื่อประชาธิปไตยผืนดิน นาถฤดี นาครวาจา ที่ปรึกษา สุวรรณา หลั่งนํ้าสังข วัลลภ พิชญพงศศา ด สนับสนุนการจัดพิมพโดย ฮันส แวน วิลเลียนสวารด สมาคมการคาเกษตรอินทรียไทย บริษัท สวนเงินมีมา จํากัด กัด 6 4 Botanic HutBotanicHut สารบัญ ตลาดสีเขียว ตลาดเพื่อประชาธิปไตยผืนดิน อาหารคนไทยวันนี้ ? SanteSante รานเพื่อสุขภาพรานเพื่อสุขภ

Transcript of ตลาดสีเขียว Vol.11

Page 1: ตลาดสีเขียว Vol.11

ตลาดสีเขียว... ตลาดเพื่ อประชาธิปไตยผืนดิน

ปที่ 3 ฉบับที่ 11 เดือนพฤษภาคม-มิถุนายน 2553

การเติบโต...ของตลาดนัดสีเขียวในโรงพยาบาลตนแบบ ปาตา...กูรู มังสวิรัติ ปาตา...กูรู มังสวิรัติ

ดัชนีโลกมีสุข ดัชนีโลกมีสุข

Page 2: ตลาดสีเขียว Vol.11

2วารสารตลาดสีเขียว

ท่ีปรึกษาสุวรรณา หลั่งน้ําสังข

ผูจัดการบริษัทสังคมสุขภาพ จํากัด นาถฤดี นาครวาจา

ผูจัดการสํานักงานมาตรฐานเกษตรอินทรีย : มกท วัลลภ พิชญพงศศา

สมาคมการคาเกษตรอินทรียไทย ฮันส แวน วิลเลียนสวารด บริษัท สวนเงินมีมา จํากัด

บรรณาธิการบริหาร วัลลภา แวน วิลเลียนสวารด

บรรณาธิการ กรณรวี เกงกุลภพ กองบรรณาธิการ อธิพาพร เหลืองออน ปรียานุช พุทธมา จุฬาลักษณ ทิวกระโทก

ธนกร เจียรกมลชื่น ตนฉบับและพิสูจนอักษร

วรนุช ชูเรืองสุข

ผูจัดทํา บริษัท สวนเงินมีมา จํากัด

ติดตอเพ่ือลงโฆษณาและสมัครสมาชิกวารสารไดที่บริษัท สวนเงินมีมา จํากัด 77, 79 ถนนเฟองนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200

โทร. 0-2622-0955, 0-2622-0966 โทรสาร 0-266-3228 เว็บไซต www.thaigreenmarket.com อีเมล [email protected]

สนับสนุนการจัดพิมพโดย

เวลาเดินทางไมสิ้นสุด เปรียบเสมือนนาฬกาชีวิตที่คอยเตือนตน...ทุกคนให ย้ังคิด ชีวิตไมยืนยาว เพราะฉะน้ันวันวานท่ียังอยูนี้ เราไดทําอะไรเพ่ือตัวเอง เพ่ือคนท่ีเรารัก เพ่ือครอบครวั เพ่ือสงัคม และสําคัญท่ีสดุเพ่ือประเทศชาติของเราแลวหรือยัง การรัก ตนเองอยางงายๆ คอืการรูจกัเลือกท่ีจะ “กิน” กินเพ่ืออยู ไมใชอยูเพ่ือกิน กินเพ่ือสขุภาพ กินเพ่ือปลอดจากโรคภัยตางๆ และในวันน้ีเรามีตลาดทางเลือก ตลาดนัดสีเขียวตาม โรงพยาบาลตางๆ และท่ีพ่ึงเปดดําเนินการเม่ือ 18 กค. ที่ผานมา ตลาดนัดสีเขียว โรงพยาบาลมิชชั่น ใหทุกคนไดเลือกสรรสินคาปลอดภัย ไรสารเคมี พืชผักเกษตร อนิทรียเพ่ือเสรมิสรางพลังชวิีต และยังมสีวนชวยใหเกษตรกรมีตลาดเพ่ือจาํหนายสินคา ชวยโลกลดมลภาวะสารพิษ สารเคมี สรางพ้ืนท่ีสีเขียวแกโลกใหมากขึ้น โดยเร่ิมจาก ตวัเรา และทุกๆ คน เมือ่มโีอกาส มทีางเลือก ก็ไมควรพลาด เปนทางรอดจากโรคภัยราย ทีค่วรหลีกเส่ียง ดงัพุทธพจนกลาวไว อโรคยา ปรมา ลาภา.... ความไมมโีรค เปนลาภ อันประเสริฐ คือสัจธรรมจริงแทของชีวิตนะคะ

ไผพิม [email protected]

Sante รานเพื่ อสุขภาพ

ดกัด

ริหารนสวารดณาธิการ

เกงกุลภพบรรณาธิการพร เหลืองออนรียานุช พุทธมาณ ทิวกระโทก

มลชื่น

Page 3: ตลาดสีเขียว Vol.11

สารบัญ

14

4 Botanic Hut Botanic Hut ผูผลิตเกษตรอินทรียยุคใหมผูผลิตเกษตรอินทรียยุคใหม

Sante Sante รานเพื่ อสุขภาพรานเพื่ อสุขภาพ

การเติบโต...ของตลาดนัดสีเขียวการเติบโต...ของตลาดนัดสีเขียวในโรงพยาบาลตนแบบในโรงพยาบาลตนแบบ

อาหารคนไทยวันนี้ ?

ดัชนีโลกมีสุขดัชนีโลกมีสุข

Flowform Flowform พลังนําหนุนพลังชีวิตพลังนําหนุนพลังชีวิต

6

ตลาดสีเขียว ตลาดเพื่ อประชาธิปไตยผืนดิน

อาหาอาหา

ตลาดสีเขียว ตลาดสีเขียวตลาดเพื่ อประชาธิตลาดเพื่ อประชาธิ

11

18

22

7

Page 4: ตลาดสีเขียว Vol.11

4วารสารตลาดสีเขียว

Producer

เร่ือง/อธิพาพร

พืน้ท่ีสําหรับการบอกเลาเร่ืองราวผูผลิตในฉบบันี ้พยายามมองหาผูผลิตพืชผักหรือผลไมในระบบเกษตรอินทรียที่อยูใกลๆ ในเขต กรุงเทพฯ และปริมณฑลดูบาง เพื่อที่จะยืนยันวาสวนผัก สวนผลไมที่ ผลิตแบบเกษตรอินทรียสามารถทําไดจริง แมจะอยูในแหลงที่ใครๆ มองวา ใกลสารพิษ สารเคมีอันตรายเพียงเอื้อม ยากตอการปรับเปลี่ยน อยางกรุงเทพฯ เมืองหลวงของเรา วันน้ีจะพาทานผูอานมาทําความรูจักกับ คุณขวัญยืน โตตาบ เจาของสวนผักและผลไม แบรนด “Botanic Hut” สวนของเธอตั้งอยูที่ หมู 2 ตาํบล บางศรีทอง อาํเภอบางกรวย จงัหวัดนนทบรีุ ใกลๆ กรุงเทพฯ นี่เองคะ

กาวเดินของ Botanic Hut กาวแรกท่ีตดัสนิใจทาํสวนน้ัน คณุขวัญยืนใหความสนใจในความปลอดภัยของผูบรโิภคเปนหลัก ความหวงใยตอสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ และสนใจแนวคิดของเกษตรกรในการทําการเกษตรท่ีใชวิถี ธรรมชาติ ลดการใชสารเคมี เธอเช่ือวาสามารถลดตนทุนการผลิตและผลผลิตขายไดราคาสูงกวาการใช สารเคมีแนนอน ในป 2544 เธอเริม่ศกึษากรรมวิธี กฎเกณฑการผลิตผกัผลไมปลอดสารพษิ และการปรับปรงุเทคนิคการผลิตและเทคโนโลยีที่ทันสมัย ตอมาป 2545 สวนของเธอไดรับใบอนุญาต ผลิต/จําหนาย ผัก และผลไมอนามัย จากกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ แตดวยความมุมานะท่ีจะไปใหถึงในแนวทางเกษตรอินทรียอยางแทจรงิ เธอจึงพยายามปรับปรงุเทคนิคการเกษตรเร่ือยมา จนในป 2546 เร่ิม ขอการรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียจากสํานักมาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.) และจุดน้ีเองท่ีเธอม่ันใจวาผลผลิตของเธอสามารถเขาสูการแขงขันทางการตลาดไดทั้งในและตางประเทศอยางไมนอยหนาใคร ดังน้ันในป 2547 เธอจึงเร่ิมดําเนินธุรกิจเก่ียวกับการจําหนายผักและผลไมปลอดภัย จนกระท่ังในป 2548 ไดรับใบรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรียจากสํานักมาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.) : Organic Agriculture Certificate และ ไดรับใบรับรองแหลงผลิตพืช (GAP) โครงการความปลอดภัยอาหาร (Food Safety) ดานพืช จากกรมวิชาการเกษตรอีกดวย

จุดเริ่มตนของ Botanic Hut ครอบครัวของคุณขวัญยืนมีอาชีพหลักทางดานการเกษตร เพาะปลูกผลไมและผักสวนครัวอยูแตเดิมแลว และดวยความเช่ือมั่นท่ีคุณขวัญยืนมีตอ แนวคิดการตลาดสําหรับผลผลิตเกษตรอินทรีย เธอตองการเปนเจาของธุรกิจ เองดวย นอกจากท่ีตองเปนผูผลิตเพียงฝายเดียว จงึลกุข้ึนมาจับธุรกิจสงผลผลิต ดวยตนเอง ซึง่ขณะน้ันกระแสพฤติกรรมการบรโิภคท่ีหนัมาสนใจเก่ียวกับสขุภาพมากข้ึน ประกอบกับกระแสการอนุรักษธรรมชาติและสภาพแวดลอมมีแนวโนมที่เดนชัด ทั้งสภาพพ้ืนท่ีที่เหมาะสมกับการเพาะปลูก ไดเปรียบดานเปนแหลง ผลติท่ีมชีือ่เสยีง อกีท้ังตนทุนในการจัดจาํหนายต่ํา เพราะอยูใกลกรุงเทพฯ ทาํให เธอม่ันใจวาธุรกิจ Botanic Hut ของเธอตองสามารถเล้ียงตนเองไดแนนอน

Page 5: ตลาดสีเขียว Vol.11

แนวคิดการเกษตรของ Botanic Hut คุณขวัญยืนพยายามศึกษา เรียนรูแนวคิดทางการเกษตรตางๆ และ นํามาปรับเปลี่ยนใหเขากับธรรมชาติในสวนของเธอโดยรวมท้ัง “เกษตรอินทรีย”

การจัดการดินในสวนของBotanic Hut คุณขวัญยืนมีเกร็ดความรู เล็กๆ นอยๆ มาแบงปนใหทานผูอาน เปนประสบการณจรงิในสวนเก่ียวกับการจัดการดิน ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการผลิตในระบบเกษตรอินทรียทีเ่ธอเช่ือมัน่ คอื ตองไมทาํใหเกิดมลพิษในดนิ นํา้ และในอากาศ โดยเนนใหความสําคัญกับ “ดิน” เปนปจจยัหลัก เพ่ือรกัษาความอุดมสมบรูณของดิน ใหมคีวามหลากหลายทางชีวภาพ ใชวัสดุคลุมดิน เชน ใบไม ซากพืช

การบริหารจัดการฟารมของBotanic Hut

ผลผลิตในสวนของ Botanic Hut ในขณะท่ีเราเดินสํารวจสวนท่ี รมรื่นไปดวยพืชพรรณตางๆ สังเกตวา ในสวนของพ่ีขวัญยืนมีลักษณะแบบ ผสมผสาน เพ่ือใหมผีลผลติทีห่ลากหลายออกสูตลาดไดตลอดป เปนการวางแผนการผลิต ผลไมในสวนไดแกไมยืนตน ใหผลผลิตปละ 1 ครั้งคือทุเรียน มังคุด กระทอน มะไฟ ชมพู มะปราง มะมวง สะเดา ขนุน พืชที่ใหผลผลิตตอเน่ืองเชน

ซากสัตว ใชพืชเพ่ือรักษาความชื้นและ อุณหภูมิในดิน ใชปุยคอก ปุยหมัก เศษ วัสดทุางการเกษตร ลดการไถพรวนดนิ และควบคุมศัตรูพืชโดยไมใชสารเคมี เพราะสารเคมีมีผลกระทบตอกลไกและกระบวนการของระบบนิเวศ ทาํลายธาตุอาหารในดิน

มะนาว สมโอ มะกรูด ชะอม มะพราว หมาก ขจร ตําลึง เตย ผักกูด ไมลมลุก อายุประมาณ 1 ป เชน กลวย พริก มะละกอ พืชผกั เชน บวบ ฟกเขียว นํา้เตา ผกับุงจนี ผกัโขม กวางตุง ปวยเลง ใบแมงลกั กะเพรา โหระพา เปนตนปจจุบนั Botanic Hut เปนท่ีรูจกัอยางแพรหลายในตลาด ซึง่เปนธุรกิจประเภทการผลิตและจําหนายผัก ผลไม ปลอดภัย (Pesticide Safe) คุณขวัญยืนจึงไดออก แบรนดใหม Organic Hut ผลิตภัณฑ พืชผักเกษตรอินทรีย (Organic Product) ที่มีคุณภาพและ มาตรฐาน ใหกับผูบรโิภคในเขตกรงุเทพฯ ปริมณฑล รวมถึงบริษัทสงออกดวย โดยมีวางจําหนายในหลายๆ ที่ เชน Golden Place, Villa Market, ADEN International

เห็นตัวอยางแบบน้ีแลวหลายคน อาจสนใจมาเปนเกษตรกรรุนใหม หรือ ทานท่ีเปนผูผลิตเร่ิมคิดแผนการตลาด สําหรับธุรกิจการเกษตรไวบางหรือยัง ตอไปเกษตรกรคงไมใชแคผูผลติทีก่มหนากรํางานหนักแตในฟารมเพียงอยางเดียวแลว วันน้ีเราตองลุกข้ึนมาตอสูในการ กําหนดราคาผลผลิตท่ีเปนธรรม ไมถูก กดข่ีหรือถูกเอาเปรียบจากพอคาคนกลางอกีตอไป เราเช่ือมัน่วา การผลิตท่ีมกีาร วางแผน ทั้งดานการตลาดและการผลิต ที่เหมะสมจะนาํมาซึง่ความสาํเรจ็ในการ บรหิารจดัการฟารม เพราะวันน้ี Botanic Hut เปนอีกตัวอยางของความสําเร็จที่ เกิดขึน้จรงิ และดํารงอยูไดอยางงดงาม สนใจติดตอ : +66 0 288 6 2949 +66 0 81 936 8185Email : [email protected]

“เกษตรพอเพียง” “เกษตรเชิงสรางสรรค” ที่เนนการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดลอม การฟนฟูความสมบูรณของดิน รักษาแหลงน้ําใหสะอาด และความหลากหลายทางชีวภาพ ทําใหเกิดสินคาที่ผลิตภายใตระบบการจัดการการผลิต ดานการเกษตรแบบองครวม ทีเ่ก้ือหนุนตอระบบนิเวศ โดยเนนการใชวัสดุธรรมชาติ หลกีเล่ียงการใชวัตถุดบิจากการสังเคราะห ใชแนวทางเกษตรผสมผสาน รกัษาความหลากหลายทางชีวภาพ ดแูลความย่ังยืนของระบบนิเวศโดยรวม ลดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม รักษาความอุดมสมบูรณ ของดินและคุณภาพน้ําดวยอินทรียวัตถุ ไมใชสารกาํจดัศตัรพูชืและปุยทีเ่ปนสาร- เคมีสังเคราะห ผลผลิตและผลิตภัณฑไมมาจากการดัดแปลงพันธุกรรมและไมผานการฉายรังสใีดๆ ทีเ่ปนอนัตรายตอผูบรโิภค

เกษตรประณีต” “เกษตรแบบองครวม”

สิ่งสําคัญท่ีคุณขวัญยืนบอกวาเปนเคล็ดไมลบัท่ีขาดไมไดสาํหรับเกษตรกรคือ การหมั่นศึกษาหาความรูในเร่ือง เทคนคิการผลติเพิม่เตมิใหทนัสมยัอยูเสมอ พัฒนาการเรียนรูเก่ียวกับธรรมชาต ิและ การบริหารจัดการฟารมที่เนนกระบวน การเรียนรูจากภูมิปญญาทองถิ่น และท่ี สาํคัญ ตองคดิในดานธุรกิจการเกษตรดวย ในสวนการปฏิบตัติามกฎเกณฑ ทีกํ่าหนดจากหนวยงานผูตรวจรบัรองเพ่ือสรางความมั่นใจใหกับผูบริโภควา ทุกข้ันตอนของ การผลิต แปรรูป และการจัดการน้ัน ไดพยายามอนุรกัษและฟนฟูสิง่แวดลอม และรกัษาคณุภาพของผลผลติใหเปนธรรมชาติมากท่ีสดุเปนเร่ืองจาํเปนอยางย่ิง ตองรูจกัสังเกต ศึกษา วิเคราะห สังเคราะห และสรปุบทเรยีนเก่ียวกับการเกษตรของฟารมตนเอง ซึ่งตางจากพ้ืนท่ีอื่น เพ่ือคัดสรร และพัฒนาแนวทางเกษตรอินทรียทีเ่ฉพาะและเหมาะสมกับตนเองและปรับเปลีย่น การผลิตใหเขากับวิถีธรรมชาติ อาศัย กลไกธรรมชาติเพ่ือทําการเกษตร

Page 6: ตลาดสีเขียว Vol.11

6วารสารตลาดสีเขียว

Shop

รานซองเต... รานเพื่ อสุขภาพ

ในปจจุบันสังคมเมืองโดยเฉพาะอยางยิ่งใน กรุงเทพฯ มปีจจัยหลายๆ อยางทาํใหเกดิความเครยีดสงู รวมท้ังอาหารและผลิตภัณฑหลายอยางลวนมี สารพิษและสารเคมีปนเปอนทําใหเจ็บปวยเปนโรคตางๆมากมาย การดูแลสุขภาพ การเลือกซื้อสินคาอุปโภค บริโภคจึงเปนเรื่องสําคัญมาก

ในปจจบันส

เชิญแวะมาได้ท่ี ร้านซองเต้ : นันทอุทยานสโมสรทหารเรือ ตรงข้ามโรงพยาบาลธนบุรี 1 ซอยอิสรภาพ 44 ถนนอิสรภาพ กรุงเทพฯ โทร 0 2866 0513 , 0 8989 2600

วรรณวรางค บษุยรัตน สาวนอยใบหนาเปอนย้ิม เจาของ ราน เลาใหฟงวา “เดิมมิม้เปนพนักงานบริษทั แตคดิอยากทําธุรกิจมาตลอด จึงปรึกษากับที่บานวาจะทําอะไรดี มาสรุปไดที่การเปด รานเพ่ือสขุภาพ เพราะสนใจเร่ืองอาหาร และผลติภัณฑเพ่ือสขุภาพอยูแลว และเขารานขายสินคาเพ่ือสุขภาพเปนประจํา โดยเร่ิมจากศึกษาขอมูลเรื่องสินคาตางๆ กอน ออกแบบรานและกอสรางราน โดยเร่ิมทาํทุกอยางเองหมด ดวยความท่ีไมมปีระสบการณในเร่ืองน้ี เลย จึงตองฝาฟนมาพอสมควร จนมาถึงวันน้ี รานซองเตเปดมาได 3 ปกวาๆ แลว ก็ยังมีสิ่งท่ีตองแกไข และพัฒนาอยูเสมอ” จากการทําธุรกิจดานน้ี ทําใหเธอไดประสบการณ และ ความรูตางๆ มากมาย ทําใหหันมาดูแลสุขภาพของตัวเองและ ครอบครัวมากข้ึน และมีความต้ังใจที่จะคัดสรรสินคาดีๆ ใหลูกคาไดเลือกซื้อ พยายามเลือกสินคาหลากหลาย คุณภาพดี และราคาไมแพง ซึ่งที่รานจําหนายผลิตภัณฑหลากหลาย ตั้งแต สินคา โครงการหลวง เชน นมสดสวนจิตรลดา แมคคาดาเมียนัทดอยตุง ผักปลอดสารพิษดอยคํา สินคาโครงการมงคลชัยพัฒนา ธัญพืช แชมพู สบู สมุนไพร และของใชในชีวิตประจําวัน เรียกวาเปน ซุปเปอรมาเก็ตเพ่ือสุขภาพก็ได เธอเลาใหฟงอีกวา “มิ้มทํารานน้ีดวยใจจริงๆ คือเปนงานที่ทําแลวไมรูสึกวากําลังทํางานอยู งานกับชีวิตสวนตัวแยกกัน ไมออก ถึงจะเหน่ือยและจะมีปญหาตางๆ มากมาย แตการทําส่ิง ที่รักทําใหมคีวามสขุและมกํีาลงัใจทีจ่ะทําตอไป และสินคาท่ีนาํมา จาํหนายท่ีราน ไดทดลองใช หรอืรบัประทานเอง คอืเปนหนูทดลอง

เองเลย พยายามคัดเลือกสินคาท่ีมี คณุภาพดีจรงิๆ เขามาจําหนายท่ีราน โดยจะสนับสนุนเกษตรกรไทย และสินคาท่ีผลิตในประเทศ เมื่อไดอานหนังสือสขุภาพ ไดนาํหลักการหลายอยางมาปรับใชกับตัวเอง และบริโภคสินคาเพ่ือสุขภาพ ทําใหเห็นความเปล่ียนแปลงไดอยางชัดเจน คือมี สุขภาพท่ีดีขึ้นมาก จากเดิมที่ปวยบอย พยายามไมทานยา เวลาไมสบาย จะหนัมาใชหลกัธรรมชาตบิาํบดัแทน คอือาหาร เปนยา หรือหันมาทานสมุนไพรแทน และตองออกกําลังกาย รวมดวย และอยากจะเผยแพรความคิดน้ีออกไปในสังคม การดูแลสุขภาพไมใชเร่ืองยาก แตคนในปจจุบันน้ีละเลยท่ีจะดูแลสขุภาพตัวเอง ทัง้ท่ีเปนสิง่สําคัญท่ีสดุ อยากใหลกูคามสีขุภาพดี มีความสุข ก็จะเนนใหขอมูลกับลูกคา โดยการแนะนําสินคา แผนพับสนิคา และมมีมุหนังสือเพ่ือสขุภาพ นอกจากน้ีทางรานยังมีกระเชาสินคาเพ่ือสุขภาพ ตกแตงนารักใน ราคาไมแพงไวบริการอีกดวย” คุณมิ้มฝากท้ิงทายกลาว ขอบคุณเครือขายตลาดสีเขียว ที่เปน จุดเร่ิมตน และเปนศูนยรวมใหกับ ผูผลติ รานคาเพ่ือสขุภาพ และผูบรโิภค เปนแหลงขอมลูเพือ่ใหทกุฝายมคีวามรู ความเขาใจมากข้ึน ในเร่ืองของสุขภาพ และยังมีกิจกรรมดีๆ เพ่ือคนรักสุขภาพอยู เสมอ

Page 7: ตลาดสีเขียว Vol.11

Hospital

เร่ืองโดย จุฬาลักษณตลาดสีเขียว มาแลวจา และไมไดมีเพียงท่ีเดียวเทานั้น มีท่ีใดบางฉบับน้ีเรามาดูกัน

ตลาดสีเขียวโรงพยาบาลปทุมธานี

ตลาดสีเขียว รพ.ปทุมธานี เปดมาแลวเกือบ 6 เดือน จัดเปนประจําทุกวันพุธ ตั้งแต 07.00 - 13.00 น. บรรยากาศซ้ือขายคึกคัก ผูคาอารมณดีจิตแจมใส มีกิจกรรมมาสรางสีสันใหแกตลาดเสมอๆ เม่ือวันพุธท่ี 14 กรกฎาคม ทีผ่านมา ก็พ่ึงจดักิจกรรมสนุกๆ พรอมใหความรูแกผูบริโภค ดวยกิจกรรม “ศึกชิงแชมป แมครัวหัวใจสีเขียว” โดยใหเหลาบรรดาแมครัวในตลาดแบงออกเปน 2 ทีม ช็อปปงผลิตภัณฑปลอดสารเคมีพิษในตลาดมาสราง- สรรรคเมนูอาหารเพ่ือสุขภาพใหชิมกันสดๆ โดยมีเหลาบรรดา ผูบริโภคท้ังขาประจําและขาจรเปนผูตัดสินโหวตเลือกทีมท่ีปรุง อาหารไดถูกปากถูกใจ และทีมที่ชนะเลิศจะไดรับสิทธิขายฟรี

1 เดือน สรางความคึกคักใหแกตลาดไดเปนอยางย่ิง แตตลาดเราไมไดสนุกสนานอยางเดียวเทาน้ัน เรายังมีนักโภชนาการมาเสริมใหความรูเร่ืองการปรุงอาหาร ตลอดงานทีเดียว เรียกวาท้ังสนุก ทั้งไดเกร็ดความรู กลับบานไปถวนหนาทุกคน

àÃÒª×èÍÇ‹Ò·ÕÁ¾ÒÇàÇÍÃ�¾Ñ¿à¡ÔÃ�Å

Page 8: ตลาดสีเขียว Vol.11

8วารสารตลาดสีเขียว

ตลาดสีเขียวแหงท่ี 2 ศูนยสุขศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร (ศูนยรังสิต)

ขายเปนประจําทุกวันพฤหัสบดี ตัง้แตเวลา 07.00 – 15.00 น. เปดตวัอยาง เปนทางการเม่ือวนัท่ี 24 มถุินายน ทีผ่านมา ในวนัเปดงานคับคัง่ไปดวยผูบรโิภคมากมายสวนใหญเปนบุคคลากรจากมหาวิทยาลัยธรรมศาาสตร และจากโรงพยาบาล ธรรมศาสตรรังสิต ตางใหความสนใจ ตลาดสีเขียวกันเปนอยางมาก เขามาพูดคุยแลกเปล่ียนความรูกับผูผลิตกันอยาง สนุกสนาน สรางความมีชีวิตชีวาใหตลาดสีเขียวแหงน้ีเปนอยางดี จุดเดนหน่ึงที่ นาสนใจสาํหรบัตลาดสเีขียวแหงนี ้คอืการ เปนตลาดสีเขียวท่ีตั้งอยูในสถาบันการ ศกึษาซ่ึงสรางความเช่ือมัน่ในเร่ืองการปลอด สารพษิใหแกผูบรโิภคเปนอยางด ีอกีท้ังยังจดัเปนสถานท่ีทีจ่ะสามารถสรางแรงกระตุนและผลกัดันใหกับสงัคมไทยในระดบัสถาบนัวิชาการเร่ืองเกษตรอินทรีย หรือแนวคิด

การพัฒนาตลาดสีเขียว อีกท้ังยังทําให เกิดการทํางานท่ีเชื่อมโยงกับเยาวชนใน ระดับอดุมศกึษา พรอมกับเผยแพรแนวความคิดวิถีสีเขียวสงตอไปยังกลุมเยาวชน สาํหรับเกษตกรผูผลติ มลีกัษณะเปนกลุม (ขนาดกลาง) มีสมาชิกต้ังแต 5 - 20 ราย รวมกลุมกัน ถือเปนฐานการ ผลิตที่เขมเเข็ง สามารถพัฒนาขยายใหมีปรมิาณผลผลิตท่ีมากพอท่ีจะปอนรานคา / โรงอาหาร ในมหาวิทยาลัยได ซึง่จะทาํ ใหเกิดความย่ังยืนของระบบการบริโภค ในวิถีสีเขียวในภายภาคหนาตอไป

ÍØ´ÁÊÁºÙó�ä´Œ áÁŒäÁ‹ãª‹ÊÒÃà¤ÁÕ

Page 9: ตลาดสีเขียว Vol.11

ตลาดสีเขียวแหงท่ี 3 โรงพยาบาลบางโพ

เปดขายทุกวันศุกร ตั้งแตเวลา 10.00 - 14.00 น. ( จากเดิมขายทุกวัน อาทิตย) เปนตลาดสีเขียวท่ีนารักมาก หาก ใครไดมาสัมผัสจะรูสึกไดถึงความเปนกันเองของผูคา ของเจาหนาท่ีในโรงพยาบาล โดย เฉพาะผูบริหารระดับสูงของโรงพยาบาล ทุก ๆ ครั้งท่ีมีตลาดสีเขียว จะมีเจาหนาท่ีจากโรงพยาบาลใชรถเข็นมาตระเวนซ้ือผลติภณัฑในตลาด ทั้งพืชผักและอาหารปรุงสําเร็จ วันไหนหากผูผลิตขายไดไมหมด คุณเมธินี สายเพ็ชร ( ผูจัดการฝายพัฒนาคุณภาพ ) จะลงมาเหมาผักของเกษตกร เอาไปเขาครัว โรงพยาบาลบาง กลับไปทานที่บานบาง ดวยความมุงหวังท่ีอยากเห็นตลาดสีเขียวอยูไดที่ตลาดบางโพตอไป

¡ÒÃáÊ´§ÅФÃ㺌¢Í§¤¹Ë¹ŒÒ¢ÒÇ

¡ÒÃáÊ´§¢Í§¹ŒÍ§æÅÙ¡ËÅÒ¹âç¾ÂÒºÒźҧâ¾

Page 10: ตลาดสีเขียว Vol.11

10วารสารตลาดสีเขียว

ตลาดสีเขียวแหงท่ี 4 โรงพยาบาลมิชชั่น

ตลาดสีเขียวแหงท่ี 5

ขายเปนประจําทุกวันอาทิตย ตั้งแตเวลา 9.00 -14.00 น. เปด ตวัไปเมือ่วนัท่ี 18 กรกฎาคม 2553 โดยไดรบัเกรียติจาก ม.ร.ว. สขุมุพนัธุ บริพัตร ผูวาราชการกรุงเทพมหานคร เปนประธานเปดงาน ภายใต คอนเซ็ปทงาน “ตลาดสีเขียวในสวน” มีดนตรีไพเราะขับกลอมตลอดทั้ง งาน พรอมบริการอาหารมังสวิรัติเพ่ือสุขภาพจากทางโรงพยาบาลมิชชั่น ชวยสรางบรรยากาศแหงความสุขครอบคลุมไปทั้งพ้ืนท่ีการจัดงาน สําหรับผลิตภัณฑที่จําหนายในตลาดสีเขียวโรงพยาบาลมิชชั่นนั้น แตกตางจากตลาดนัดสีเขียวแหงอื่นในเร่ืองของอาหารปรุงสําเร็จ พรอมทาน ทีต่องเปนมงัสวิรตัติามหลกัศาสนาคริสต เซเวนเดย แอตเวนติส ซึ่งไมทานเน้ือสัตว แตทานไขและนม รสไมจัด นํ้ามันนอย เพ่ือผูปวยท่ีรักสุขภาพ และผูปวยท่ีมารักษาโรค โดยแตเดิมจะใชวัตถุดิบพืชผักท่ีมีการ จดัซือ้จากบุคคลภายนอกจัดสงให และใชวิธีการตรวจสอบหาสารเคมีตกคางเพ่ือปองกันดานความปลอดภัย แตเมือ่มตีลาดสีเขียวเกิดขึน้ โรงพยาบาล มิชชั่นก็มีแหลงเลือกซื้อวัตถุดิบไรสารพิษเพื่อนําไปปรุงอาหารใหแก ผูบริโภคในโรงพยาบาลใหไดรับความปลอดภัยย่ิงขึ้น

ซึ่งกําลังจะเกิดขึ้นคือที่ โรงพยาบาลกรุงธนบุรี 1 ถนนตากสิน มีกําหนดการพิธิเปดงานอยางเปนทางการวันท่ี 5 พ.ย. 2553 ตลาดสีเขียวกําลังผลิดอก ออกใบ ขยายก่ิงกานสาขาไปยังหลาย ๆ พ้ืนท่ีเพ่ือใหผูบริโภคอยางพวกเราไดมีโอกาส เขาถึงพืชพรรณ ธัญญาหารท่ีปลอดภัย มีสุขภาพกาย สุขภาพใจ และคุณภาพชีวิตท่ีดีขึ้น

Page 11: ตลาดสีเขียว Vol.11

Market

ตลาดสีเขียว ตลาดเพื่ อประชาธิปไตยผืนดิน บานเมืองเรากําลังพูดถึงการปฏิรูป โดย เฉพาะแนวคิดเรื่องการปกครองแบบประชาธิปไตย ท่ีตลาดสีเขียวเราก็มีความคิดเรื่องประชาธิปไตย เหมือนกัน และอยากนําเสนอบางคือ ประชาธิปไตยผืนดิน หรือในช่ือฝรั่งวา Earth Democracy

คนท่ีคิดและเผยแพรแนวคิดนี้ชื่อ วันทนา ศิวะ เธอเปน ชาวอินเดียท่ีผลักดันเรื่องเกษตรอินทรียมาเปนระยะเวลายาวนาน ดวยความรอบรูในเร่ืองการเกษตรอินทรียตั้งแตระดับนโยบายถึงขั้นลงมือทําจริง มีสถาบันหรือศูนยเรียนรูชื่อ พีชวิทยาปริต ที่แปลวา ศนูยเรยีนรูเร่ืองพชืและเมลด็พันธุ ทีศ่นูยของเธอจงึทาํงานเก็บรกัษา เมล็ดพันธุพืชพื้นบานท่ีกําลังสูญหาย เพราะขณะน้ีบริษัทเมล็ดพันธุขนาดใหญที่เปนเจาตลาด พยายามเบียดขับเมล็ดพันธุพ้ืนบาน และครองตลาดการผลิตเมล็ดพันธุเสียหมด นี่จึงเปนท่ีมาวาแลว เกษตรกรของเราจะมีอิสรภาพหรือเปนไทแกตัวไดอยางไร พูด งายๆ ก็คอื ชาวนาชาวสวนของเราตองอาศยัซ้ือหาเมลด็พันธุมากขึน้ เร่ือยๆ ที่เคยเก็บเมล็ดพันธุจากฤดูกาลท่ีแลวไวใชในฤดูกาลหนา กําลังจะกลายเปนเร่ืองราวในอดีต อันนําไปสูตนทุนการผลิตที่เพ่ิม ขึ้นเร่ือยๆ เพราะเมล็ดพันธุที่ไดจากการตัดแตงพันธุกรรม(จีเอ็มโอ) เหลาน้ี มักไมทนทานตอศัตรูพืชหรือศัตรูสัตว และมักมากับการ พ่ึงพาสารเคมีกําจัดศตัรพืูชศตัรสูตัวดวย รวมท้ังปุยเคมี ปญหาท่ีเกิด

ตามมาก็คือ เกษตรกรยิ่งมีหน้ีสินเพ่ิมมากขึ้น ตกเปนทาสมากกวาเปนไท ประชาธิปไตยของผืนดินและเกษตรกรจึง หดหายไป

ขณะน้ีการผลิตเมล็ดพันธุโดยบรรษัทกําลัง พ่ึงพาเทคโนโลยีขั้นสูงมากข้ึนเร่ือยๆ โดยเช่ือวาใหผลผลิตดีกวา มากกวา ตนพืชก็โตไว มีการนําเทคโนโลยีมาสราง เมล็ดพันธุลูกผสม เรียกวา hybrid ที่อางวาผลผลิตจะมี ขนาดโตข้ึนและใหผลดกมากกวาเดิม แตที่เราไมรูคือ เมล็ดพันธุลูกผสมเหลาน้ีขยายพันธุไมได ทุกปเกษตรกรตองซื้อเมล็ดพันธุใหมทุกๆ ครั้งไป ทั้งๆ ที่แตเดิมสามารถเก็บเมล็ดพันธุจากฤดูกาลท่ีแลวไดเอง พ่ึงพาตนเองได และท่ีเราย่ิงไมรู เลยก็คือ ขบวนการตัดแตงเมล็ดพันธุ เหลาน้ีที่ทําอยูในหองทดลอง เขาใชอะไร ทําอยางไร และหากกินเขาไปจะสงผลอยางไรกับโครงสรางโมเลกุลใน

องเรากําลังพูดถึงการปฏิรูป โดย ารปกครองแบบประชาธิปไตย

มคิดเรื่องประชาธิปไตย คือ ประชาธิปไตย

ocracy

ือ เกษตรกรย่ิงมีหนี้สินเพ่ิมมากขึ้น ตกเปนทาสป ะชาธิปไตยของผืนดินและเกษตรกรจึง

ยบรรษัทกําลัง ผลผลิต

Page 12: ตลาดสีเขียว Vol.11

12วารสารตลาดสีเขียว

รวมฟงเวทเีสวนา จากประชาธปิไตยผนืดินสูเศรฐศาสตรแหงความสุข ในวันเสารที่ 28 สิงหาคมเร่ือง ประชาธิปไตยผืนดิน บรรยายโดยวันทนา ศิวะ เวลา 9.00-13.30 น. ณ หองนราธิป กระทรวงการตางประเทศ การบรรยายจะมีหูฟงพรอมลามแปลไทย ที่หนาหองประชุมยังมีขาวของ อาหารอินทรีย รวมทัง้หนังสอืดีๆ มคีณุภาพจําหนาย งานน้ีกระทรวงการตางประเทศรวมเปนเจาภาพกับสาํนักพิมพสวนเงินมีมา เครือขายตลาดสีเขียว และสคูลฟอร

รางกายเราหรือไม ย่ิงเปนอาหารท่ีเราตองกินอยูทุกวัน สะสม นานเขาจะสงผลขางเคียงหรือโดยตรงอยางไร ยังไมมีใครออกมาพิสูจนหรือยืนยันกับเราได บรรษัทก็ไมสนใจทดลองเรื่องนี้แนนอน เพราะหากผลการทดลองบอกวาอันตราย หรือสรางความผิด ปกติใหกับยีนสของเรา เขาก็จะขายของไมได เพราะขนาดการใชสารเคมีหรือสารพิษทางการเกษตรท่ีเรารูแนๆ แลววาอันตราย มตีวัอยางใหเห็นมากมาย เชน ชาวนาถึงกับตายคาท่ีนาขณะฉีดยาปราบศัตรูพืชและสัตว หรือสถิติการเจ็บปวยท่ีพบมากท่ีสุด ใน หมูเกษตรกรหลายรายคือโรคภูมิแพ ผิวหนังมีตุมหนอง สุขภาพ ย่ําแย หมดแรงนอนเจ็บเสียด้ือๆ โดยไมทราบสาเหตุ บางรายก็มี ผลกระทบตอการทํางานของหัวใจ มีโรคหัวใจจากการสะสมการ ใชสารพิษทางการเกษตร แลวผูบริโภคในเมืองอยางเราก็มีความเส่ียงกับเขา เหมือนกันอยางแนนอน สถิติการเปนโรคมะเร็ง หรือโรคท่ีมาจากการกินอาหารไมปลอดภัยมีเพ่ิมมากข้ึนทุกป เราเคยจัดกิจกรรม สุมตรวจดวยเคร่ืองมือแบบงายๆ ก็พบอัตราการปนเปอนสารเคมีในเลือดจํานวนมากในหมูผูบริโภคท่ีเขารวมกิจกรรม คําถามคือ เราจะหนีรอดปลอดภัยจากสารเคมีที่มีอยูในอาหารจานขางหนาของเราไดไหม เราจะนําวิถีการผลิตและการ กินแบบเกษตรอินทรียกลับมาอีกคร้ังไดหรือไม กอนการเขามา ของสารเคมีทางการเกษตร เราเคยผลิตแบบธรรมชาติไมไดพ่ึงพาสารเคมีเหลาน้ีมากอน เคยเก็บเมล็ดพันธุของเราเองได อาหาร จานขางหนาเราก็ยังปลอดภัย มีรสชาติดี หากเราไมรวมกันสราง ขบวนการนําอาหารกลับบานข้ึนมาใหม กลับบานของเราท้ังคน ผลิตและคนบริโภค พวกเราทุกคนคงตกอยูในความเสี่ยงและ อันตรายโดยเสมอหนากัน ถาประชาธิปไตยคือ อสิรภาพ เสมอภาค และภราดรภาพ คําถามคือหากการผลิตอยางท่ีเปนอยู เรามีเสรีภาพ และความ เทาเทียม และการอยูรวมกันเหมือนพ่ีเหมือนนองจริงไหม

เวลบีอิ้ง(School for Wellbeing) จึงขอเชื้อเชิญพวกเรา สามญัชน คนธรรมดา เกษตรกร ผูผลติ ผูประกอบการรายเล็กรายนอยเขารวม แมสถานท่ีจัดงานจะหรูและหางไกลใน ความรูสึกของเราสักหนอย หากกระทรวงการตางประเทศก็ อยากเขาถึงเราทุกคน

สอบถามรายละเอียดไดท่ี สํานักพิมพสวนเงินมีมา โทร. 02-622-0966, 089-669-2431 คุณวรนุช หรืออีเมลถึง คุณพัชรี patcharee@ Schoolforwellbeing.org

School for Wellbeing Studies and Research, SIFA, และบริษัทสวนเงินมีมา จํากัด ขอเชิญรวมงาน

ปาฐกถาพิเศษ เศรษฐศาสตรแหงความสุข : ทางเลอืกและทางรอดของ เศรษฐกิจอาหารชมุชน โดย เฮเลนา นอรเบิรก-ฮอดจ (Helena Norberg-Hodge): นักคิด นักบรรยาย และนักเคล่ือนไหวท่ีตอสูกับความเลยเถิดของแบบแผนการพัฒนาเศรษกิจในยุคปจจุบัน โดยเฉพาะผลกระทบตอสังคมด้ังเดิมและวัฒนธรรมทองถ่ิน

วันเสาร ที่ 4 กันยายน 2553 เวลา 13.00 – 16.30 น. ณ หองประชุม 101 คณะเศรษฐศาสตร, ธรรมศาสตร ทาพระจันทร

Page 13: ตลาดสีเขียว Vol.11

Consumer

สมชัย ชื่ นจิตร ผูอํานวยการโรงพยาบาลมิชชั่น

มิชชั่น เปนรพ.ที่ใหความสําคัญดานการสงเสริมสุขภาพ จึงเห็นดวยเปน อยางย่ิง ในการจัดโครงการตลาดนัดสเีขียวในโรงพยาบาล ซึ่งมีรานคามากมายท่ีมาจาํหนายสินคาท่ีปลอดภยั แตละรานมผีลติ ผลทางธรรมชาติที่ปลอดภัยจริงๆ ชวยให การรณรงคเร่ืองสขุภาพเปนส่ิงงายข้ึนและทําใหสุขภาพชีวิตของคนเมืองดีขึ้นจาก การรับประทานอาหารท่ีปลอดภัย ผมมี ความภูมิใจที่รพ.มิชชั่นมีสวนรวมในการ จัดตลาดนัดสีเขียว ทําใหเกษตรกร ที่ใสใจสิ่งแวดลอม ปลูกพืชปลอดภัยไรสารพิษ ไดมีชองทางตลาดมากขึ้น สามารถหาซื้อมารับประทานไดงายข้ึน

ดาวใจ ทองเจริญ เจาหนาที่ฝายการตลาด รพ. มิชชั่น

ในฐานะท่ีเปนสวนหน่ึงของผูที่ชอบรับประทานอาหาร รูสึกวาอาหารในปจจุบันคอนขางท่ีจะมสีารปนเปอนมากมายจนไมรูวาทานไปแลวจะเกิดผลดีหรือผลเสียกันแน ถือ วาการจัดกิจกรรมโครงการตลาดนัดสีเขียว นั้นดีมากๆ เพราะเปนตัวกลางท่ีทําให เกษตรกรและผูซื้อไดพบกันโดยตรง ผูบริโภคก็ไดสินคาท่ีถูกและปลอดสารพิษจริงๆ มี อาหารใหเลอืกหลายอยาง สิง่หน่ึงทีช่อบมากคือ ภายในโครงการมีอาหารท่ีหลากหลาย ใหเลือกซื้อและเรามั่นใจวาปลอดภัย ก็ขอ สนับสนุนโครงการนี้และอยากใหขยายใน ตลาดท่ีกวางมากข้ึน

รูสึกดีนะคะท่ีมีตลาดนัดสีเขียวเกิดขึ้นในโรงพยาบาล ทําใหเราสามารถท่ีเลือก ซื้อผลิตภัณฑที่ปลอดภัยไดงาย และราคาไม แพงมาก พอทราบวาผูมาจําหนายคือผูผลิต เองก็ย่ิงมั่นใจคะ วาอาหารท่ีเราซื้อปลอดภัย ไดคุณภาพจริงๆ แตละรานก็ใหขอมูลสินคาท่ี ขายไดเปนอยางดีถึงประโยชนของผลิตภัณฑ และวิธีการผลิตท่ีถือวาเปนเกษตรอินทรียจรงิๆ ไดทั้งความรูและไดประโยชนจากอาหาร ปลอดภัยก็ถือวาคุมแลวคะ

ผมเห็นวาโครงการน้ีมปีระโยชนมากและคงสงผลถึงระยะยาว ในอนาคต ทําใหผูซื้อและผูขายไดมาพบกันโดยไม ตองผานพอคาคนกลาง และยังไดแลก เปล่ียนประสบการณเร่ืองของอาหาร สวนใหญผลิตภัณฑปจจุบัน็มีสวนผสม ของสารเคมีคอนขางเยอะ ย่ิงชวิีตในเมอืงก็ไมคอยสนใจเรื่องคุณภาพอะไรเทาไร เอาเร็วไวกอน แตพอมีตลาดนัดสีเขียวน้ี เขามาชวยใหหาซื้อไดงาย และเร็ว สงผลใหชีวิตและสุขภาพของผูบริโภคในเมือง ดีขึ้น มีทางเลือกมากข้ึน

ลิขิต บุญครอบ เจาหนาที่ฝาย IT รพ. มิชชั่น

โครงการตลาดนัด สีเขียวในโรงพยาบาลตนแบบ ไดเติบโตและขยายโครงการ ออกไปยังท่ีอ่ืนๆ ลาสุดไดเปดตลาดนัดสีเขียว โรงพยาบาลมิชชั่น กรุงเทพฯ ขึ้นอีกแหง เปนทางเลือกสําหรบัผูบริโภค มาฟงความคดิเหน็ของผูบรหิาร และเจาหนาทีโ่รงพยาบาลทีร่วม ทําใหเกิดตลาดนัดแหงใหม น้ีขึ้น...

คุณวิลาวัลย จันทสุวรรณ เจาหนาที่ฝายการตลาด รพ. มิชชั่น

Page 14: ตลาดสีเขียว Vol.11

14วารสารตลาดสีเขียว

Feature

เชื่อวาคนไทยหลายคนคง คุนเคยกับประโยคท่ีวา you are what you eat คุณเปนในสิ่งที่คุณกิน หรือกนิอยางไรไดอยางนัน้ เพราะมนุษยเรา ทุกคนรูดีวาอาหารท่ีเรากินอยูทุกวัน จะเขาไปชวยฟนฟูสภาพรางกายท่ีสึกหรอของเรา แตในทางตรงกันขาม จะมีใครตระหนักไดบางวานอกจากคณุประโยชนแลวอาหารยังอาจมีโทษทํารายทําลายรางกายของเราไดอกีดวย ซึง่ขึน้อยูกบัอาหารท่ีเราเลอืกรับประทานในแตละม้ือวามีคุณประโยชนหรือมีโทษตอ รางกายมากนอยแคไหน หรือวามี คุณภาพมากนอยเพียงใด เมื่อพูดถึงคุณภาพของอาหาร คณุบางคนอาจเริม่สงสยัวาอาหารท่ีคนไทยกินอยูทกุวันน้ีมคีณุภาพจริงหรือ? แลวเราจะมมีาตรฐานอะไรมาคอยตรวจวัดคณุภาพของอาหารในแตละมื้อ ใครเลยจะรูวาบนโตะอาหารท่ีเรยีงรายดวยอาหารเลิศหรหูรอืมีรสชาติอรอยอาจไมใชมื้ออาหารท่ีมี

คณุภาพเสมอไป หากวัตถุดบิท่ีนาํมาปรงุอาหารน้ันมไิดถูกคัดเลือกมาอยางดี หรอืแมผานการคัดเลือกอยางดีแลวก็ยังอาจปนเปอนดวยสารเคมีทางการเกษตร ปนเปอนดวยสารพิษ และเช้ือจลุนิทรียที่ เปนโทษได นัน่อาจทาํใหคณุเร่ิมไมแนใจวาอาหารท่ีกินอยูทุกเมื่อเชื่อวันมีคุณภาพมากพอหรือเปลา เพราะสวนหน่ึง อาหารดีๆ หรือผลผลิตท่ีมีคุณภาพมักจะถูกสงออกไปขายยังตางประเทศ จนเกิดเปน มูลคาอยางมหาศาลทางเศรษฐกิจ ซึ่ง อาจทาํใหละเลยผูบรโิภคภายในประเทศของเราเอง โดยการหลอเลี้ยงประชากรดวยอาหารท่ีไมผานเกณฑการสงออกหรือมคีณุภาพไมดพีอ และในปจจบุนั ประเทศ เรายังรบัเอาอาหารการกนิแบบฟาสตฟูดอันเปนผลผลิตจากวัฒนธรรมตะวันตก เขามาอีกดวย จนดูเหมือนวาทางเลือก ของเราจะมีเหลือนอยเต็มท ี เพราะอาหารฟาสตฟูดเปนอาหารท่ีอุดมไปดวยไขมัน

อิม่ตวั มโีปรตีน และน้ําตาลในปริมาณมากเกินความตองการของรางกาย ซึง่ถาสะสมมากเขาก็จะทาํใหรางกายของเรากลายเปนแหลงซองสุมโรคภัยในท่ีสุด คงเหมือนกับคํากลาวของอองเตลม บรียาซาวาแรง

อาหารคนไทยวันนี้เร่ือง/ ภาพ: วุฐิศานต์ิ จันทรวิบูล

“ชะตากรรมของชาต ิขึน้อยูกับรปูแบบการ กินของคนในชาติ” ทนีีค้ณุลองจินตนาการถึงชะตากรรมของคนในชาติเราดูบางสิ ตั้งแตป 2547 รัฐบาลไดมี นโยบายกําหนดใหเปนปแหงสุขอนามัย เนนในเรือ่งความปลอดภยัดานอาหาร หรือ Food Safety และพัฒนามาตรฐานใหเทียบเทาสากลเพ่ือผลกัดัน “ครวัไทย สูครวัโลก” และสรางประเทศไทยใหเปนครัวของโลก (Kitchen of the World) เปนการรณรงค เผยแพรภาพลักษณดานคุณภาพ และ มาตรฐานดานสุขอนามัยของอาหารไทย ใหเปนท่ีรูจักแพรหลายมากย่ิงขึ้น โดยมี กระบวนการในการตรวจสอบมาตรฐาน และรับรองคุณภาพสินคาเกษตร อาหาร

นกัการเมืองนักชมิชาวฝรัง่เศสเคยพูดไววา

Page 15: ตลาดสีเขียว Vol.11

“ชะตากรรมของชาติขึ้นอยูกับรูปแบบการกิน ของคนในชาติ” ที น้ีคุณ ลองจินตนาการถึงชะตา กรรมของคนในชาติเราดูบางสิ

Feature

ที่สงออกและนําเขาสูประเทศไทย จะตองมีคุณภาพและมาตรฐานเปนไป ตามหลกัสากล อกีท้ังยังเปนการเสริมสรางความเขมแขง็ใหกับระบบการผลติ ทางการเกษตรของประเทศไทย ใหมีศักยภาพท้ังดานปริมาณ และคุณภาพ ของสินคาเกษตร ก็เพ่ือสรางความเช่ือมัน่ในความปลอดภัยของอาหาร ใหกับ ผูบรโิภคและผูประกอบการท้ังในประเทศและตางประเทศ รวมถึงการผลัก ดนัใหประเทศไทยยังคงเปนประเทศผูสงออกสินคาอาหารท่ีสําคัญของโลกนายเพ็ชร ชินบุตร ผูอํานวยการสถาบันอาหาร กลาวในแถลงการรวมของ 3 องคกร ประกอบดวย สภาหอการคาแหงประเทศไทย สภาอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย และสถาบันอาหาร วาในไตรมาสแรกของป 2553 อุตสาหกรรมอาหารไทยขยายตัวเพ่ิมขึน้ตอเน่ืองจากไตรมาสสดุทายของป 2552 โดยดัชนี ภาคการผลิตเพ่ิมขึ้นรอยละ 4.5 ขณะท่ีภาคการสงออกเพิ่มขึ้นรอยละ 24.2 เน่ืองจากการฟนตวัของเศรษฐกจิโลก โดยมีสนิคาสงออกสวนใหญยังเปนกลุมสินคาหลัก คือ ขาว กุงแชแข็ง และกุงแปรรูป ทูนากระปอง และทูนาแปรรูป ผกัผลไมทัง้สดและแปรรูป นํา้ตาลทราย มนัสําปะหลัง และผลิตภัณฑ นํา้มนั ปาลม เปนตน โดยการคาอาหารของไทยมีสวนแบงในตลาดโลกที่สูงข้ึน มี สัดสวนรอยละ 2.47 ขยับจากอันดับที่ 13 มาเปนอันดับที่ 12 และเปนอันดับ

2 ของเอเชียรองจากประเทศจีน แนวโนมการสงออกอาหาร ไทยในไตรมาส 2 คาดวาจะมีมูลคา 201,944 ลานบาท หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 6.3 เมื่อเทียบกับไตรมาสเดียวกันของป กอน สวนในภาพรวมการสงออกอาหาร ไทยในป 2553 นัน้ มแีนวโนมขยายตัวเพ่ิมขึน้ ซึง่หากเศรษฐกิจโลกขยายตัวไดประมาณรอยละ 3-4 และคาเงินบาทเฉล่ียท้ังปอยู ที่ 32 บาทตอดอลลารสหรัฐฯ คาดวาการ สงออกอาหารไทยปนี้จะมีมูลคาสูงถึง ประมาณ 830,000 ลานบาท หรือเพ่ิมขึ้นรอยละ 10 จากป 2552 ทัง้น้ีความตองการบริโภคอาหารอินทรียก็มีแนวโนมเพ่ิมมากยิ่งขึ้น ทําให ธุรกิจการผลิตอาหารอินทรียไดรับความ สนใจมากขึ้น โดยมีการผลิตสินคาเกษตรอนิทรยีเพือ่การสงออกเพิม่ขึน้อยางตอเนือ่ง ทาํใหสนิคาอนิทรยีทีผ่ลติไดวางขายในตลาด ภายในประเทศนอยลง โอกาสท่ีคนไทย จะไดกินอาหารท่ีมีคุณภาพจึงลดลง หรืออีกความหมายหน่ึงก็คือ นั่นอาจทําใหคนไทยย่ิงมีความเสี่ยงท่ีจะบริโภคอาหารที่ ไมมีความปลอดภัยเพ่ิมมากขึ้น ความจริงแลว ปจจยัเส่ียงตอความปลอดภยัดานอาหารเกิดข้ึนไดในทุกข้ันตอน ตั้งแตการผลิต วัตถุดบิ ไปจนกระท่ังอาหารถึงมอืผูบรโิภค ดังนั้น การดูแลเรื่องความปลอดภัยดาน อาหาร ตองดําเนินการควบคุมตรวจ สอบอยางเขมงวดในทุกข้ันตอนการผลิต ตัง้แตขัน้ตอนการผลติวัตถุดบิ ขัน้ตอนการแปรรูปเบ้ืองตน ขัน้ตอนการขนสง ขัน้ตอนการจําหนายและปรงุ และจากปจจยัความเส่ียงตางๆ เหลาน้ีทําใหพบวา คนไทยมี ความเสี่ยงเปนอยางมากในการบริโภค อาหารในปจจบุนั นัน่ย่ิงไมตองจนิตนาการ ถึงชะตากรรมของคนในชาติ ดังจะเห็นไดวา สถานการณ ปญหาอันตรายจากความไมปลอดภัย

Page 16: ตลาดสีเขียว Vol.11

16วารสารตลาดสีเขียว

ดานอาหารท่ีมีตอผูบริโภคมีปรากฏใหเห็นเปนระยะ อีกท้ังอาหารปนเปอนก็ยังพบในปริมาณที่นากังวล ทั้งอาหารที่ผลิตภายใน ประเทศและอาหารท่ีนําเขาจากตางประเทศ รศ.ดร. ทรงศักด์ิ ศรีอนุชาต ผู อํานวยการสถาบันโภชนาการและสถาบัน คลังสมองของชาติ กลาวถึงปญหาความปลอดภัยดานอาหารวา เปนปญหาท่ีสําคัญในทุกประเทศท่ัวโลก ทั้งในประเทศท่ีพัฒนา แลว ประเทศกําลังพัฒนา และประเทศท่ีพัฒนานอย ความไม ปลอดภัยของอาหารเกิดข้ึนไดทกุจดุในหวงโซ หรอืเสนทางอาหาร กอนถึงผูบริโภค มีกระบวนการตางๆ ที่เส่ียงตอความปลอดภัย เริ่มตนตั้งแตกระบวนการผลิตท่ีมีการใชสารเคมีและสารพิษกัน มากขึ้น การเก็บรักษาและการขนสง การแปรรูปอาหารที่ใชสาร เคมีเกินจากกฎหมายกําหนด การปรุงอาหารที่ไมถูกสุขลักษณะ ตลอดจนกระบวนการบริการท่ียังคงมีความเส่ียงเกิดข้ึนได แตทั้งน้ีกระทรวงสาธารณสุขก็มิไดนิ่งนอนใจ ไดสั่งการใหมกีารคุมเขมตรวจสอบคุณภาพความปลอดภัยดานอาหาร โดยมอบใหกรมอนามยัลงไปตรวจสอบตลาดคาอาหารสด และรานคาปรุงสําเร็จวาผานมาตรฐานความปลอดภัยหรือไม โดยมอบปายมาตรฐาน Food Sefety และ Clean Food Good Taste ใหกับรานคา ตางๆ ซึง่คุณจงกลนี วิทยารุงเรืองศรี ผูอาํนวยการศูนยปฏบิตักิาร ความปลอดภัยดานอาหารกลาววา แมรานคาตางๆ จะผานเกณฑการตรวจสอบของกระทรวงสาธารณสุขแลวก็ตาม แตเราก็ไม สามารถม่ันใจไดวาอาหารน้ันมีความปลอดภัยรอยเปอรเซ็นต เพราะการตรวจเปนวิธีการสุมตรวจ และตรวจเพียงรานละสามถึง สี่ครั้งเทาน้ัน เพราะหลังจากน้ันหากรานคายังสามารถรักษา คุณภาพอาหารปลอดภัยของตนเอาไวได ก็ถือไดวาเปนโชคดีของผูบริโภคอยางเรา สวนทางดานสํานักงานคณะกรรมการอาหารและยา มีหนาท่ีในการควบคุมดูแลอาหารแปรรูป โดยเขาไปตรวจสอบ GMP (Good Manufacturing Practice) เขมขน ตัง้แตสขุาภิบาล ในโรงงาน กระบวนการผลิตจนกระท่ังเปนผลติภัณฑสาํเร็จรปู โดยมเีครือ่งหมายของ อย. รบัรองมาตรฐาน กองควบคมุอาหาร ประจาํ สํานักงานคณะกรรมการอาหารและยาไดกําหนดนโยบายประจําป 2553-2556 โดยคํานึงถึงความปลอดภัย ความคุมคาสมประโยชน และคุณคาทางโภชนาการ อีกท้ังยังเปนการยกระดับระบบการ คุมครองผูบริโภคดานอาหารใหเปนสากล โดยมีวิสัยทัศนในการ

เปนผูนําระบบการคุมครองผูบริโภคดานอาหารในภูมิภาคอาเซียนและเปนท่ียอมรบัในระดบัสากล โดยมีความปลอดภยัดานอาหารเปนภารกิจหลกัท่ีมคีวามสําคัญ มใิชเฉพาะการ คุมครองสุขภาพของผูบริโภคเทาน้ัน เพราะสุขอนามัยของประชากรยอมสงผลกระทบไปถึงเศรษฐกิจของชาติดวย หาก ประชากรเจ็บปวยน่ันยอมเกิดผลกระทบตอครอบครวั ชมุชน การดําเนินธุรกิจ ซึ่งนอกเหนือจากคาใชจายในการรักษา พยาบาลแลว การไมสามารถปฏิบัติงานก็จะทําใหผลผลิตลดลง รายได ลดลง โดยเฉพาะผูมีรายไดนอยจะย่ิงมีผล กระทบมาก ดงัน้ันประเทศจงึตองมกีารดาํเนินการดานความ ปลอดภัยของอาหารอยางมีประสิทธิภาพจริงจัง เพราะ จากรายงานของกรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุขพบวา ปญหาความเจ็บปวยและการเสียชีวิตของคนไทยใน ปจจุบัน เปลี่ยนจากโรคติดตอมาเปนโรคไมติดตอ เชน มะเร็ง เบาหวาน หัวใจวาย เปนตน ซึ่งอาหารเปนปจจัย สําคัญหน่ึงของสาเหตุที่ทําใหเกิดปญหาดังกลาว นางสาวดารณี หมูขจรพันธ นักวิชาการอาหาร และยา เช่ียวชาญดานความปลอดภัยของอาหารและการบรโิภคอาหาร กลาววา ปญหามักเกิดจากผูประกอบการท้ังผูจําหนายวัตถุเจือปนในอาหารและผูผลิต ผูนําเขา ไมมี จริยธรรม จนทําใหเกิดปญหาซ้ําซาก มีการใชวัตถุเจือปน อาหารท่ีเกินเกณฑมาตรฐาน เชน สารกันเสียหรือสสีงัเคราะห เวลากินอาหารก็เหมือนกับการกินสารเคมีเขาไปดวย นอกจากนี้ยังพบวา ผลิตภัณฑหลายชนิดฉลากไมถูกตอง มีการ แบงบรรจุ ปลอมฉลาก ฉลากเปนภาษาอังกฤษ สารพัดวิธีที่จะงัดเอามาใช หรือน่ันคือการแสดงออกถึงความไมใสใจ

Page 17: ตลาดสีเขียว Vol.11

ตอชะตากรรมของเพ่ือนรวมชาติ ถึงแม กรมอนามัยและ อย. ในสังกัดกระทรวง สาธารณสุขจะมีมาตรการคุมเขมและ พยายามตรวจสอบความปลอดภัยดาน อาหารมากเพียงใด แตก็ยังมีขาวคราว สารพิษปนเปอนในอาหารอยูเสมอ สวน หน่ึงอาจเปนเพราะสารกําจัดศัตรูพืชบางชนิดยังคงอยูในดินและน้ําไดเปนเวลา หลายป สารเหลาน้ีจึงเขาไปปนเปอนในพืชที่ปลูก แมเกษตรกรไมไดพนสารเคมีก็ตาม นัน่อาจหมายความวา แมแตอาหารอนิทรียก็ยังมโีอกาสท่ีจะปนเปอนสารตกคางบางอยางได สิ่งน้ีเกิดข้ึนไดในทุกสวนของโลก ไมเฉพาะในประเทศไทยเทาน้ัน ดังน้ัน อาหารท่ีติดฉลากวา “ปลอดภัย” หรอื “อนามยั” อาจจะมพิีษตกคางของสารกําจัดศัตรูพืชมากกวาอาหารอินทรีย แตก็มีสารเคมีตกคางนอยกวาพวกท่ีไมไดติดฉลากดังกลาว เพราะจากการตรวจสอบ ของกรมวิชาการเกษตรพบวา 18 เปอรเซ็นตของคะนาและผักบุง ทีต่ดิฉลากวา “ปลอดภยั” มีพิษตกคางของสารกําจัดศัตรูพืชอยูมาก กวาคาระดับสารตกคางสูงสุด (MRL) และในกรณีของตัวอยางท่ีไมไดติดฉลาก จะมีถึง 29 เปอรเซ็นตที่มีปริมาณสาร ตกคางมากกวา MRL ตัวอยางการตรวจ สอบแสดงใหเห็นวา อาหารที่มีฉลากติด อยูจะปลอดภยักวาอาหารทัว่ไป เปนทางเลือกท่ีคอนขางปลอดภัย แตอาหารอินทรียก็ ยังเปนทางเลือกท่ีดีที่สุดท่ีจะทําใหคุณ กินอาหารไดอยางปลอดภัย โดยเฉพาะการเลือกซ้ือสินคา อาหารอนิทรยีทีอ่ยูในเครอืขายตลาดสเีขยีว ซึง่จดัใหมตีลาดนดัสเีขียวข้ึนในโรงพยาบาลตนแบบหลายแหงในเขตเมือง เพราะได ผานมาตรฐานผลิตภัณฑสีเขียว ซึ่งทําใหตลาดสีเขียวมีความแตกตางจากตลาด ทัว่ไป คอืมาตรฐานของสนิคา โดยผลิตภัณฑตางๆ ที่นํามาจําหนายไดผานการคัดสรร

กลั่นกรองเรื่องคุณภาพใหเปนท่ียอมรับ โดยแบงโซนเปน 3 ส ีไดแก โซนสีเขียว เขม เ ป น ม า ต ร ฐ า น เ กษต ร อิ น ท รี ย (Organic) ใชปจจยัการผลิตจากธรรมชาติ เปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและระบบนิเวศ เสริมสรางความหลากหลายทางชีวภาพ ไมมีการตัดตอทางพันธุกรรม หามใชปุย เคมีและสารเคมีทุกข้ันตอนการผลิต โซน สีเขียวกลาง เปนผลิตภัณฑสีเขียวเพ่ือ สิ่งแวดลอม ไรสารเคมี ซึ่งอยูในระหวาง การวางกฎเกณฑจากมูลนิธิมาตรฐาน เกษตรอินทรียและเครือขายตลาดสีเขียว และสุดทาย โซนสเีขียวออน เปนมาตรฐานอาหารปลอดภัย (GAP) ซึ่งปลอดภัยจากสารพิษ สารเคมีตกคางโดยการรับรอง จากกรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ดังน้ัน เราเองในฐานะท่ีเปนผู บริโภคควร จะตองมีความระมัดระวังใน การเลือกกินอาหาร ถึงแมจะมีหนวยงานตางๆ คอยชวยเหลือในการคัดสรรอาหารทีด่เีพียงใด หรอืมทีางเลอืกใหเรามากมายขนาดไหน แตเราตางหากท่ีเปนคนเลือก ตักอาหารคําน้ันใหกับตัวเราเอง เพราะ

อาหารมีสวนในการกําหนดชะตากรรม ของเราและอาหารมสีวนกําหนดชะตากรรม ของชาติ หากส่ิงท่ีอองเตลม บรียาซาวา แรงกลาวเปนจริง

Page 18: ตลาดสีเขียว Vol.11

18วารสารตลาดสีเขียว

for lifeFood

ฉบับนี้เปนคร้ังแรกของ Food For Life ที่จะนําเสนอ เร่ืองราวความสําคัญ ความเปนมาของอาหารท่ีคนเรารับประทานกันอยูทุกวันในอีกแงมุม จากกูรูผูรู...คุณจําเนียร เอี่ยมเจริญ หรือที่รูจักกันในนาม “ปาตา” ผูเชี่ยวชาญดานอาหารโดยเฉพาะมังสวิรัติ มาเปดตัวเปดใจเลาเร่ืองราวความเปนมา กอนที่พา ทุกคนไปเรียนรูเรื่องอาหาร ในฉบับตอๆ ไป และน่ีคือเรื่องราว จากปลายปากกาของ “ปาตา” เปนคร้ังแรกท่ีไดมโีอกาสมีสวนรวมกับวารสารตลาดสีเขียว ผูเขียน ใชนามวา ปาตา เปนชาวกรุงท่ียายถ่ินฐานมาอยู จ.เชียงใหมนานกวา26ป แลว เชยีงใหมยังคงมีสภาพแวดลอม อากาศ ธรรมชาติ วิถีชวิีต โดยเฉพาะ ความสมบรูณทางอาหาร เปนแหลงเพาะปลูกอาหารปลอดสาร ในแตละวัน หมนุเวียนสับเปล่ียนจะมีตลาดนัดอาหารปลอดสาร หาซ้ือจบัจายไมยากนัก มนัเปนความโชคดขีองชาวเชยีงใหมแตก็ไมทัง้หมด หลายๆ คนก็ยังรบีทาน แบบเดิมก็มากอยู สวนกลมุคนท่ีรักดูแลสุขภาพก็มีมากพอสมควร

ประเภทผักพ้ืนบานก็ยังหาซ้ือไดตามตลาดทั่วไป ปาตาเองเปนชาวเวจหรือทาน มังสวิรัติ ทานมาไดประมาณ 16 – 17 ป ความสามารถพิเศษก็คือทํา อาหาร มังสวิรัติได ทุกรูปแบบแลวก็อร อย ดวย เขาวากันอยางน้ัน แรกๆ ที่ทานและ ทาํนัน้รูสกึลาํบากมากในการปรบัเปลีย่น จากเน้ือสัตวมาเปนมังฯ ดวยความเคยชินกับการทําอาหารเน้ือสัตว อาศัยวาเปน นกัคิด นกัดัดแปลง เรียกวาพอจะมีพรสวรรศ และมศีลิปะในการทําอาหาร เลยคอย ๆปรบั เปลี่ยนฝกมาเร่ือยๆ จนเปนความเคยชิน และเปนปกตินิสัย สามารถทําอาหารมังฯไดรสชาติอรอยไมแพอาหารเน้ือสัตว คนสวนใหญมักจะถามอยูเสมอวาทานมังฯ ไมขาดสารอาหารหรือ ปาตามักตอบเสมอวา ชางตัวใหญ มา วัวฯ กินหญา กลวย ออย มันยังแข็งแรงกวาเราเลยไมเห็น มัน ขาดสารอาหาร สวนคนมีแตเหตุผลของ ความอรอย ความรูสกึติดใจในรสชาตเิทาน้ัน ขอโทษนะคะไมได ติเตียนคนทาน

เน้ือสตัว ปาตาถือวาชอบใคร ชอบมนั แตขอ ใหรูจกัทานแบบสมดลุและใชปญญาในการ รบัประทาน เพ่ือวาอาหารจะไดเปนยาและปจจัยในการดํารงชีวิต เราปฏิเสธไมได วาอาหารเปนสวนหน่ึงในแหลงที่มาของ โรค การท่ีเรามีเวลาและใหโอกาสกับตัว เองปรับเปล่ียนพฤติกรรมในการกิน ปาตาวาเราไมประมาทในการใชชีวิต เห็นชวิีต เปนสิ่งที่มีคาควรแกการดูแลบํารุงรักษา รางกาย พาหนะสําคัญในการสราง พัฒนาสถานะและคุณงามความดี เราทุกคนจะปฏเิสธไมไดวาความเจบ็ปวย ทกุขทรมาน เปนอปุสรรคสาํคญัในการดาํเนินชวิีต ครัง้หน่ึงปาตาเคยผานวิถีชีวิตอันเรงรีบและ ถูกกดดันจากการสรางฐานะ อยากได อยากดี อยากมี อยากเปน จนถึงวิกฤติของชีวิต จนเปนเหตุใหที่ตองคนหาตัวเองวา คนเราเกิดมาเพ่ืออะไร จนพบท่ีนัง่ใหมคอื พระพุทธ พระธรรม พระสงฆ เกิดความศรัทธา ศกึษาคนควา ปฏบิตั ิจนชวิีตไดพบวิถีในการ ดาํเนินชวิีตใหม ปรบัเปล่ียนมุมมองความคดิ

ใชชีวิตบนพ้ืนฐานตามความจําเปนการ ทํามาหากิน เหลอืจากนัน้เราก็เผือ่แผดวยการใชเปนปจจยัในการทําความดี ทกุวันน้ีปาตาพอใจและเพยีงพอกับความตองการ ตามอัตภาพของการดําเนินชีวิต ปาตาจะใหความสําคัญกับอาหาร ปจจัยหลักและสําคัญในการสรางชีวิต โดยเผยแพรการ ทําอาหารมังสวิรัติ ซึ่งใชอาหารท่ีเปนยา สามารถเสรมิภมูคิุมกนัโรคภัยไขเจบ็ ทาํใหเบาท้ังกายและใจ ถาเราจัดสรรระบบการใชชวิีต กินอยูหลบันอนได ไวโอกาสหนา ปาตาจะแนะนําวิธีการทําอาหารมัง ฯ เพ่ือฟนฟูสุขภาพ แลวพบกันคะ

หมนุมนัแบ

อไดตามตลาด เน้ือสตัว ปาตาถื

เร่ือง: ปาตา

Page 19: ตลาดสีเขียว Vol.11

Movement

มือเปอนดิน ทําสวนผัก มีตลาดสดอยูหลังบาน กับ “โครงการสวนผัก คนเมือง”

มูลนิธิเกษตรกรรมย่ังยืน รวมกับ มูลนิธิศูนยสื่อเพ่ือการพัฒนา ชมรมเกษตร ในเมือง และคณะทํางานกินเปล่ียนโลก มี โครงการดี ๆทีไ่ดรบัการสนับสนนุจากสํานักงานกองทุนสนับสนุนการสรางเสริมสุขภาพ หรือ สสส. ขอชวน คนเมือง มอืเปอนดนิ ทาํสวนผัก สรางตลาดสดใหอยูหลังบาน กับ “โครงการ สวนผักคนเมือง” โดยจะจัดการฝกอบรมให ความรูแกผูที่ยังไมมีประสบการณ หรือยังไมมั่นใจในฝมือของตนเองที่จะอยากจะทําสวนผักไวบริโภคเองบริเวณบาน มีวิทยากรท่ีมี ประสบการณจากท้ังหมด 8 ศูนยเรียนรูทั่ว พ้ืนท่ีกรุงเทพฯและปริมณฑล ไดแก (1) สวน เกษตรดาดฟาสํานักงานเขตหลักส่ี โดย คุณแหมม เพ็ญศรี โตสะอาด และทีมงาน (2) ศนูย เรียนรูเกษตรในเมือง สาขาลาดพราว 71 สังกัดชมรมเกษตรในเมือง โดย “เจาชายผัก” หรือ คุณนคร ลิมปคุปตถาวร (3) ศูนยการ เรียนรูเกษตรในเมือง สาขาสุวรรณภูมิ สังกัดชมรมเกษตรในเมอืง โดย คณุชเูกียรติ โกแมน (4) ศูนยฝกอบรมบานคุณตา สุขุมวิท 62 โดยทีมงานวารสารเกษตรธรรมชาติและมูลนิธิศูนยสื่อเพ่ือการพัฒนา (5) โรงแรมพระนคร นอนเลน โดยทีมงานของคุณ “โรส” วริศรา

(6) โรงเรียนอิสลามวทิยาลัย (7) กองดุรยิางคทหารบก ถนนวิภาวดี (8) หมูบานพฤกษาวิลเลจ คลอง 6 จังหวัดปทุมธานี นอกจากน้ี ยังมีบริการหนวยฝกอบรมเคลื่อนท่ี (mobile unit) โดยทีมงานของโครงการสวนผักคนเมือง ที่พรอมไป จัดการฝกอบรมซอกซอนไปยังพ้ืนท่ีของ ชุมชนที่มีความตองการการฝกอบรมได แตไมสามารถเดินทางมายังศูนยเรียนรูทั้ง 8 ศูนย ดังกลาวได ทุกศูนยเรียนรูจะประกอบไป ดวยแนวคิด องคความรูและเทคนิคขั้น พ้ืนฐานของการปลูกผักสวนครัว เอาไวใหสําหรับผูที่เขารวมอบรมไดดู ไดชม ไดฟง ไดสัมผัส ไดลงมือทําดวยตนเอง ไมวาจะ เปนการเตรียมดิน การทําปุยอินทรียและนํ้าสกัดชีวภาพใชเองจากขยะเศษอาหารจากในบานและชมุชน การเพาะเมล็ดและขยายพันธุผัก การปองกันกําจัดโรคและ แมลงศัตรูผัก รวมไปถึงการเพาะปลูกผักอื่น ๆ เชน การเพาะเห็ด การเพาะถ่ัวงอก เปนตน นอกจากน้ี กลุมหรือชุมชนใดท่ีมีความสนใจในการปลูกผักสวนครัวเอาไวบรโิภครวมกัน สามารถเขียนโครงการของ

กลุมหรอืชมุชน เพ่ือเสนอขอรับการสนับสนนุจากโครงการสวนผักคนเมือง โดยจะตองรวมกลุมกันใหไดตั้งแต 5 คน ขึ้นไป ไมไดเปนญาติกัน และตองแสดงใหเห็นวามี แนวทางการดําเนินงานไปสูการปลูกสวนครัวเอาไวบริโภคจริง ๆ ไมไดเปนไปเพ่ือ การคาขาย และท่ีสําคัญจะตองการเปน การปลูกผักสวนครัวโดยไมใชสารเคมี สังเคราะหทางการเกษตรใดๆ ทั้งสิ้น จึง จะเรียกไดวา เปนการเพาะปลูกผักเพ่ือ สุขภาพของตนเองและส่ิงแวดลอมอยาง แทจริง สามารถดูรายละเอียดเพ่ิมเติมไดทีw่ww.sathai.org และ www.thaihealth.org สาํหรับทานใดท่ีตองการโชวฝไมลายมือ การปลูกผักสวนครัวปลอดสารเคม ีทีม่กีารบริโภคอยูแลวเปน เนืองนิจ ก็สามารถสงผลงานเขาประกวดไดในโครงการ สวนผักในบานฉัน ปที่ 2 โดยผูชนะเลิศจะไดรับรางวัลและการเชิดชูเกียรติภายในงาน มหกรรมสมุนไพรแหงชาติครั้งที่ 7 ใน เดือนกันยายน 2553 ที่จะถึงน้ี เขาไปดู เง่ือนไขการประกวดและสงผลงานไดที่ www.food4change.in.th

ิ ิ ั ่ ื ั

Page 20: ตลาดสีเขียว Vol.11

20วารสารตลาดสีเขียว

Wellbeing

พ.ศ. ๒๕๕๐ มลูนธิิเศรษฐกจิใหม หรือ เนฟ (The New Economics Foundation–nef) ประเทศอังกฤษ ซึ่ง เปนผูจัดทําดัชนีโลกมีสุข(Happy Planet Index – HPI) ไดประกาศผลการจัดอนัดับประเทศตางๆ ทัว่โลกโดยใช ดชันโีลกมีสขุ หรือดัชนีเอชพีไอเปนตัวช้ีวัด ซึ่งประเทศท่ีพัฒนาแลวสวนใหญตดิอยูในอนัดบัทายๆ ของตาราง สวนประเทศดอยพัฒนากลับขึ้นมาอยูในอันดับตนๆ

ดชันเีอชพไีอเปนนวัตกรรมใหมที่ถูกคิดคนข้ึนมาเพ่ือประเมินวัดว า ประสทิธิภาพเชิงนเิวศวิทยาของประชากรแตละประเทศ ในการบรรลุเปาหมายเพ่ือชีวิตที่ยืนยาวและมีความสุขน้ันแตกตาง กันอยางไร อะไรเปนปจจยัช้ีวัดท่ีสาํคัญ ทัง้ยังชี้ใหเห็นความสําเร็จ หรือความ ลมเหลวของประเทศตางๆ ในการสงเสริมความเปนอยูทีด่ ี(Wellbeing) ของประชากร ควบคูไปกับการตระหนักถึงความจํากัด ของทรัพยากรท่ีเราตองพ่ึงพาอาศัย ซึ่ง

แตกตางไปจากตัวชี้วัดในเร่ืองรายได ประชาชาติ ที่ประเมินจากผลิตภัณฑมวลรวมภายในประเทศ หรือจีดีพี (Gross Domestic Product – GDP) อันเปนดัชนีหลักท่ีบรรดานักวิเคราะหและรัฐบาลท่ัว โลกใชในการวดัความสาํเรจ็ของการบรหิาร ดัชนีเอชพีไอประกอบไปดวยตัวชี้วัดที่สําคัญ ๓ ตัว ไดแก อายุขัยเฉล่ีย ความพึงพอใจในชีวิต และรอยเทานิเวศ และมแีนววิธีคดิทีแ่ตกตางไปจากดชันอีืน่ๆ อยางสิ้นเชิงในเรื่องกระบวนการนิยาม เพราะเอชพีไอใชความเปนอยูที่ดีเปน เปาหมายปลายทาง และการบริโภค ทรพัยากรของโลกเปนปจจยันําเขาพ้ืนฐาน ซึ่งทําใหเราสามารถเนนย้ําวาเปาหมาย ของการพฒันาน้ันก็เพ่ือนาํพาใหเกิดความเปนอยูที่ดีในระดับสูง ภายใตเง่ือนไขของการบริโภคทรัพยากรอยางรับผิดชอบและเทาเทียมกัน คาเอชพีไอสะทอนใหเห็นไดอยางชัดเจนวามีประเทศใดบางท่ีประสบความสําเร็จในการบรรลเุปาหมายดังกลาว ดัชนีเอชพีไอจึงเปนดัชนีแรกท่ี ประเมินวัดประสิทธิภาพเชิงนิเวศวิทยา ของประเทศตางๆ ในการทําใหประชาชนดํารงชีวิตอยางมีความสุขและมีอายุยืน ผลลพัธจากการประเมินชีใ้หเห็นวา ประเทศ

รํ่ารวยท่ีสุดในโลกซ่ึงมีคาจีดีพีสูงลวนแต ไรประสิทธิภาพเชิงนิเวศอยางส้ินเชิง ประเทศเหลาน้ีลวนใชทรัพยากรปริมาณมหาศาลเพ่ือสรางความพึงพอใจแกคนในประเทศ ดังน้ันหากมองในอีกแงหน่ึง คา เอชพีไอแสดงใหเห็นถึงประสิทธิภาพของประเทศตางๆ ในการเปล่ียนแปลงทรัพยากรอันมีจํากัดบนโลก ใหเกิดอรรถประโยชนสูงสุดสําหรับพลเมืองของตนน่ันเอง

“เราไมควรทึกทกัเอาวาผูคนทีม่ชีีวิตอยูอยางคอนขางยากจนหรือมีภาวะเจ็บปวยเร้ือรังจะตองไมพอใจ กับชีวิตของตนเองเสมอไป”

นิก มารคส (Nic Marks)เปนผูกอต้ังศูนย ศึกษาความเป นอยู ที่ดี(Centre for Wellbeing) มูลนิธิเศรษฐกิจใหม หรือ เนฟ (The New Economics Foundation – nef) และเปนผูเขียนหนังสือ ดัชนีโลก (ไม) มีสุข (The (un) Happy Planet Index) เขาจะรวมเปนวิทยากรพิเศษในงานเวทีเสวนาหัวขอ “ความสขุแปรเปลีย่นโลกไดหรอืไม?” ระหวางวันท่ี ๒- ๔ สิงหาคม ๒๕๕๓ และเปนวิทยากรอบรม เชิงปฏิบัติการ หัวขอ “Well-being at Work” ในวนัองัคารท่ี ๓ สงิหาคม ณ หองสมาคมนสิติเกาคณะรัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย

ผูสนใจกิจกรรมขางตน สามารถเขาไปอาน รายละเอียดไดที ่www.schoolforwellbeing.org หรือสอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมไดที่ คุณพัชรี โทร 02-622-0955, 622-0966 อีเมล [email protected]

ตารางแสดงอันดับของประเทศท่ัวโลกตามคาดัชนีเอชพีไอ

School for

(ดัชนีโลก(ไม) มีสุข: นิก มารคสและทีมงาน เขียน, เนาวนิจ สิริผาติวิรัตน แปล)

Page 21: ตลาดสีเขียว Vol.11

ความหวัง ความฝน แรงบันดาลใจ: 100 ผูนําวิสัยทัศนแหงศตวรรษท่ี ๒๐

คําพูดอนัแหลมคมบาดความรูสกึขางตนน้ีเปนพียงเส้ียวเล็กๆ จากมุมมองของ 3 ใน 100 ผูนาํวิสยัทัศน แหงศตวรรษที่ 20 ที่ไดรวบรวมไวในหนังสือก่ึงสารคดีประวัติบุคคลที่ชื่อ ความหวัง ความฝน แรงบันดาลใจ : 100 ผูนําวสิยัทัศนแหงศตวรรษท่ี 20 ซึง่ม ีสาทิศ กุมาร และเฟรดดี ไวทฟลด เปนบรรณาธิการ หนังสอืเลมน้ี นําเสนอเร่ืองราวชีวิตและผลงานของเหลาผูนําท่ีลุกข้ึนมาทาทายและตอกรกับความไมเปนธรรมทางสังคม ชองวางระหวางคนรวยกับคนจน การเหยียดผิว หรือแมแตการลมสลายของธรรมชาตแิละระบบนิเวศ ไปจนถงึ ความขาดแคลนทางจิตวิญญาณ ดวยแนวทางสันตวิิธี อาวุธของบคุคล เหลาน้ีคอืคมปญญาท้ังทางพุทธปญญา มโนทัศน และเหนืออืน่ใดคอื มโนธรรมสาํนึกอนัเปนจติสาธารณะ ผนวกกับวิสัยทัศนและความหวังเต็มเปยมที่มี ตอมนุษยชาติและโลกใบน้ี หนังสอืไดแบงกลุมผูนาํออกเปน 3 กลุมใหญๆ ไดแก กลุมผูนาํดานนิเวศ ดานสังคม และดาน จติวิญญาณ เร่ืองราวของเขาเหลาน้ีเปนท้ังแรงบนัดาลใจ ใหความหวัง ขณะเดียวกันก็ชวยเยียวยาบาดแผลท่ีมนุษยไดกระทําไว กับดาวเคราะหดวงน้ี แมเวลาจะผานมารวมศตวรรษแลว แตผลงานของพวกเขายังคงสดใหม เปนเคร่ืองเตือนใจวาเราไมเคยโดดเด่ียว ไมเคยไรความหวัง และไมเคยอับจนหนทาง ในยุคที่ผูคนกําลังแสวงหาแรงใจ ฝนถึงโลก ทีด่กีวา และหวังท่ีจะฝาวิกฤต คงไมมอีะไรดีไปกวาการไดอานเร่ืองราวของผูทีไ่ดฟนฝาอุปสรรคนานามาย่ิงกวาท่ี

เราจะสามารถจินตนาการได Healthy

นิตยสารมุมVol. 1 No. 2 เดือนพฤษภาคม-กรกฎาคม 2553

“มมุ” เปนนิตยสารธรรมะท่ีไมเนนการยกหลักธรรมมานําเสนออยางท่ือๆ หากแตเลือกท่ีจะพูดถึงเร่ืองราวท่ีเปนไปในสังคมที่เก่ียวโยงกับชีวิตประจําวันของผูคน เพราะผูจัดทําเช่ือวา ธรรมะน้ันมีอยูในทุกความธรรมดา อันท่ีจริง นิตยสารเลมนี้ไมไดเกิดข้ึนมาอยางโดดๆ แตเปนโครงการสงเสริมกิจกรรมหนึ่งภายใตมูลนิธิหยดธรรม วัตถุประสงคหลักๆ เพ่ือ สรางสรรคเผยแพรขอมูลธรรมะดวยเน้ือหาท่ีอานงาย ผานรูปเลมสวยงามสีสันสดใส เพ่ือสื่อสารกับกลุมเยาวชนเปนหลัก ดวยหวังวาเร่ืองราวท่ีนาํเสนอจะซึมซาบกลายเปนเมล็ดพันธุแหงความดีงาม ผลดิอกออกชอเบงบานในจิตใจของเยาวชน สืบไป เพ่ือสืบสานเจตนารมยของมูลนิธิฯ ที่วา “การทําดีเพ่ือผูอื่น คือการทําเพ่ือฝกฝนตนเองอยางถึงท่ีสุด” นั่นเอง นอกจากนิตยสารจะนําเสนอในลักษณะรูปเลมแลว ยังไดนาํเน้ือหาท้ังหมดเผยแพรในรปูแบบของ e-Book เพ่ือใหกลุมเยาวชนสามารถเขาถึงไดงาย ซึ่งผูอานท่ีสนใจสามารถเขาไปดูหรือดาวนโหลดไฟลไดที่ www.dhammadrops.org มาชวยกันสนับสนุนนิตยสารดีๆ ที่ตั้งใจทําเพ่ือสรางสรรคใหเรามีสังคมที่ดีกวาเดิมกันนะคะ

recommend

www.truefood.org

เว็บไซตของกรีนพีซ เนนเน้ือหาเก่ียวกับอาหารท่ีแทจริง อาหารปลอดจีเอ็มโอ จีเอ็มโอ คอื การดดัแปลงพนัธุกรรมสิง่มชีวิีตเพ่ือผลประโยชนในเชงิการคาแตฝนธรรมชาต ิและตรงกันขาม กับออรแกนิคโดยส้ินเชิง จากการสํารวจของกรีนพีซพบวา อาหารท่ีวางขายอยูในซุปเปอรมาเก็ต ในเมืองไทยปนเปอนจเีอ็มโอหรือสิง่มชีวิีตดดัแปลงพันธุกรรม โดยไมมกีารติดฉลากบอกผูบรโิภคแตอยางใด ทัง้น้ีในสหภาพยุโรป อาหารจีเอ็มโอถูกปฏิเสธอยางส้ินเชิง แตบานเราซ่ึงถือเปนแหลงอาหาร ของโลกแทๆ แตพันธุกรรมพืชพื้นบานกลับถูกย่ํายีและทําใหแหลงอาหารออนแอ พืชจีเอ็มโอในทองตลาดท่ีมีขายท่ัวไป ไดแก ถ่ัวเหลือง ขาวโพด มันฝร่ัง มะเขือเทศ มะละกอ ฝาย และคาโนลา(พืชใหนํ้ามัน) กรีนพีซทําโครงการ “เรารักขาวไทย” ซึ่งใหความสนใจ เฉพาะเจาะจงกับการรักษาพันธุขาวใหปลอดจีเอ็มโอ ทุกวันน้ีพันธุขาวไทยกวา 17,๐๐๐ ชนิด กําลังตกอยูในภาวะเส่ียงท่ีจะสูญเสียไปจากแผนดินไทย ในฐานะผูบริโภค เราตองชวยปกปอง ขาวไทยดวยการเลือกบริโภคขาวพันธุธรรมชาติเทาน้ัน เพ่ือสนับสนุนชาวนาไทยและเกษตรกร ของชาติใหปลอดจากเง้ือมมือของจีเอ็มโอ

VISIONARIES: The 20th Century’s 100 Most Important Inspirational Leaders

“สิ่งท่ีเศรษฐกิจอุตสาหกรรมเรียกวา ‘การเจริญเติบโต’ นั้น แทจริง แลว

เปนการโจรกรรมจากธรรมชาติและประชาชนรูปแบบหนึ่ง” วันทนา ศิวะ

บรรณาธิการ :

แปล :

ราคา :

บรรณาธิการ

ฉบับแปล :

ความหนา :

สํานักพิมพ :

สาทิศ กุมาร และ

เฟรดดี ไวทฟลด

กรรณิการ พรมเสาร

440 บาท

สดใส ขันติวรพงศ

532 หนา

สวนเงินมีมา

Page 22: ตลาดสีเขียว Vol.11

22วารสารตลาดสีเขียว

design

Flowformโฟลวฟอรม

ประดิษฐกรรมงานศิลปะชิน้เล็ก โฟลวฟอรม นาํแนวคิดดังกลาวมาประกอบ ดวยวัสดเุซรามกิสีสวยงาม เพียงพ้ืนท่ีเล็กนอยก็สามารถสรางมมุสงบทีเ่ติมเตม็พลงัชีวิตใหกับบานหรือที่ทํางานของทานได โฟลวฟอรมมวิีธีการติดตัง้งายๆ เมื่อเติมนํ้าก็สามารถนั่งเอนกายสดับฟง เสียงน้ําไหล จากการคนพบการไหลเวียนของนํา้ในทวงทํานองเดียวกับสายน้ําของภูเขา และจังหวะของธรรมชาติ ปฏิมากรรมท่ีลอธรรมชาติชิ้นน้ี สามารถ นํามาจัดวางในบรรยากาศมุมใดของ ที่พักทานก็ได โฟลวฟอรม แตละใบจะใหเสียงที่แตกตางกัน หากตองการเสียงอันสงบ เย็นควรเติมนํ้าใหอยูในระดับเต็มเสมอ และหม่ันเติมนํ้าทุกๆ สองหรือสามวัน ตามสภาพแวดลอม(ดูคูมือประกอบ) ขณะน้ีมีสีใหเลือก 6 เฉดสี ดวยราคา 8,200 บาท ตอหน่ึงชุด

สนใจแวะชม โฟลวฟอรม ไดท่ีรานสวนเงินมีมา 77, 79 ถนนเฟองนคร แขวงวัดราชบพิธ พระนคร กทม. 10200 โทร. 02-622-0966, 02-622-0955 อเีมล [email protected] เว็บไซต w w w . s u a n - s p i r i t . c o m และ www.thaigreenmarket.com

“การไหลเวียนของนํ้าและเสียงนํ้า ไหลชวยการผอนคลาย”

พลังนํ้าหนุนพลังชีวิต

Page 23: ตลาดสีเขียว Vol.11

Support

ลุงมี เก็บผักท่ีปลูกในสวนมา จาํหนาย โดยลงุมบีอกวา ปลกูแบบไมใชสารเคมี ไมฉีดยาฆาแมลง ถามวาผัก ของลุงมี จะเขาขายท่ีสามารถเรียกวา เกษตรอินทรียไดหรือไม ถาพิจารณาตาม เกณฑมาตรฐานเบื้องตน ก็ตองถาม ลุงมีวา -ใชเมลด็พันธุจากการผลิตระบบอินทรียหรือไม -ใชอนิทรยีวัตถุจากภายในฟารม หรือภายนอก -สวนท่ีอยู ติดกันใชสารเคมี หรือไม แลวมีการจัดทําแนวกันชนหรือ ไม ระยะหางเทาใด -ฯลฯ นีเ่ปนเพียงตัวอยางเล็กๆ นอยๆ ที่นาจะพอทําใหเห็นถึงความแตกตางของการทําการเกษตรตามวิถีพ้ืนบาน กับเกณฑมาตรฐานเกษตรอนิทรยี รายละเอียดปลกียอยท่ีเพ่ิมขึ้นอาจจะดูยุงยากในการ ปฏิบัติตาม แตถาหากเกษตรกรสามารถปฏิบัติไดตามเกณฑมาตรฐาน ผูที่ไดรับประโยชนก็คอื ตวัเกษตรกรและผูบรโิภค

เพราะสุขภาพท่ีดีนั้นเกิดจากวิถีการกิน ดังประโยคท่ีวา กินอยางไร ไดอยางน้ัน นั่นเอง ปาดา อยูหมูบานเดียวกับ ลุงมี ปาดา เห็นวาลุงมีไมใชยาฆาแมลงจริงๆ ปาดามีความม่ันใจ ซื้อผักจาก สวนลุงมีโดยตลอด ที่รานขายผักอีกจังหวัดหน่ึง คุณสมศรีตองการซื้อผักท่ีปลูกแบบ อนิทรีย คนขายบอกวา มผีกัจากสวนลุงมี คุณสมศรีไมรูจักลุงมี คุณสมศรีไมแนใจวาจะเชื่อถือไดมากนอยแคไหน ในทางกลับกัน หากผักจากสวนลุงมี มีฉลากซ่ึงมีตราสัญลักษณติดวาสินคาน้ีไดรับการ รบัรองจากหนวยงานท่ีเชือ่ถอืได สามารถตรวจสอบขอมลูได คณุสมศรีก็จะมคีวามมั่นใจในตัวสินคา ถึงแมจะไมไดเห็นดวยตาเชนปาดาก็ตาม “มาตรฐานสินคาเกษตรและ หนวยงานตรวจรับรองระบบ” จงึมบีทบาทสําคัญในการสรางความเช่ือมั่นใหกับผู บริโภค สําหรับประเทศไทย หนวยงานท่ีเปนหนวยงานหลักในการจดัทาํมาตรฐาน

มาตรฐานเกษตรอินทรีย หนวยรับรองเพื่อสุขภาพ

ระดับประเทศและใหการรับรองระบบงาน คือ สํานักงานมาตรฐานสินคาเกษตร และอาหารแหงชาติ หรือ มกอช. มาตรฐานท่ี มกอช. จดัทาํข้ึนน้ัน นอกจากจะตองสรางความเช่ือมั่นใหกับผูบรโิภคในประเทศแลว ยังตองสรางความ เชือ่มัน่ใหกับผูบรโิภคในภูมภิาคอ่ืนๆ การจัดทํามาตรฐานของ มกอช. จึงตองจัด

Page 24: ตลาดสีเขียว Vol.11

24วารสารตลาดสีเขียว

ทําใหเปนท่ียอมรับและสอดคลองกับ มาตรฐานระหวางประเทศ เชน Codex, OIE และ IPPC ที่มักเรียกกันวา “WTO three sister organization” โดย มกอช. เปนผูประสานความรวมมอืกับหนวยงานท่ีเก่ียวของและผูมีสวนไดสวนเสีย เพ่ือ จดัเตรียมทาทีของประเทศไทย ในการเขารวมพิจารณาของท้ัง 3 องคกร ทั้งน้ีการ กาํหนดทาทจีะอาศยัขอมลูทางวทิยาศาสตร เปนพ้ืนฐานสําคัญ รวมท้ังคาํนึงถึงประเด็นทีอ่ยูในความสนใจของผูมสีวนไดสวนเสีย และเน่ืองจากผูบรโิภคยุคใหมจึงคํานึงถึงสุขอนามัยความปลอดภัยในการบริโภคและรักษาสิ่งแวดลอมมากขึ้น ผลิตผล ทางการเกษตร ที่ถึงแมจะมีคุณภาพ ไดมาตรฐาน เชน ไดรบัมาตรฐาน การปฏิบตัิทางการเกษตรท่ีด ีหรอื จเีอพี (GAP) ก็ยังไมเพียงพอตอการตอบสนองความตอง การของผูบริโภคในปจจุบัน ผลิตภัณฑ เกษตรอินทรีย ซึ่งเกิดจากกระบวนการ ผลิตที่ปลอดภัย ปลอดสารเคมี และเปนมิตรกับสิ่งแวดลอมและสวัสดิภาพสัตว (animal welfare) จงึเปนผลิตภัณฑทาง เลอืก ทีม่คีวามตองการมากข้ึนเปนลําดับทัง้ตลาดในประเทศและตลาดตางประเทศ มกอช. มหีนาท่ีดาํเนินการรับรองระบบงาน (Accreditation) ดานเกษตรอินทรีย แกหนวยรับรอง เพ่ือใหระบบการรับรองเปนท่ีเชือ่ถือยอมรบัในระดบัสากล มกอช. โดย สํานักรับรองมาตรฐานสินคาและระบบ คุณภาพ (สรม.) ในฐานะหนวยรับรอง ระบบงาน (Accreditation Body : AB) เปนผูรับผิดชอบดําเนินการใหการรับรอง

หนวยรับรองดานสนิคาเกษตรและอาหาร (Certification Body : CB) โดยหนวย รบัรองท่ีจะขอรับการรับรองจะตองปฏิบตัิตามมาตรฐานสากลวาดวยขอกําหนด ทั่วไปสําหรับหนวยรับรองคุณภาพ ผลิตภัณฑ (General Requirements for Bodies Operating Product Certifi-c a t i o n S y s t e m s , I S O / I E C Guide 65 : 1996) และจะตองตรวจรบัรองตามเกณฑมาตรฐานข้ันต่ําเกษตรอินทรีย ของ มกอช. โดยในปจจุบัน มกอช. ไดจดัทํามาตรฐานสินคาเกษตร ในหมวด มาตรฐานระบบ ที่เก่ียวของกับเกษตร อินทรีย จํานวน 4 เร่ือง ไดแก -การผลิต แปรรูป แสดงฉลากและจําหนายเกษตรอินทรีย -ปศุสัตวอินทรีย -อาหารสัตวนํ้าอินทรีย -การเล้ียงกุงทะเลระบบอินทรีย ซึ่งหนวยรับรองฯ ที่ไดรับการ รบัรองระบบงานจาก มกอช. ในปจจบุนัมี 2 หนวยงาน คือ สถาบันพืชอินทรีย กรมวิชาการเกษตร และ สํานักงาน มาตรฐานเกษตรอินทรีย (มกท.) สําหรับเกษตรกรท่ีตองการขอรับการรับรอง สามารถตดิตอขอรบัการรับรองจากหนวยรับรองทั้งสองหนวยงานท่ีกลาวมา และหากผูบรโิภคเลือกสนิคาท่ีไดรบัการรบัรองจาก 2 หนวยงานน้ี โดยดูจากตราสัญลักษณ

หรือโลโกก็สามารถมั่นใจไดวาสินคาท่ี ทานเลือกเปนสินคาท่ีมีคุณภาพ ได มาตรฐานเกษตรอินทรียระดับเดียวกับ มาตรฐานสากล

เครื่องหมายรับรองมาตรฐานท่ัวไปเปนเคร่ืองหมายสินคาเกษตรท่ีใชแสดงกับสินคาเกษตรท่ีไดรับใบรับรองตาม มาตรฐานท่ัวไปเพ่ือเปนการสงเสริมให ผูผลติ ผูสงออก หรอืผูนาํเขาสนิคาเกษตร ผลติและจาํหนายสนิคาเกษตรทีไ่ดมาตรฐาน เพ่ือความปลอดภยัของผูบริโภค

สินคามีมาตรฐานความปลอดภัย ตามมาตรฐานสินคาเกษตร หรือ มาตรฐานสากล

สินคามมีาตรฐานความปลอดภยั และการคัดแยกคุณภาพ หรอืมกีารจัดการเปนพิเศษเพ่ือใหไดสินคาท่ีมีคุณภาพ ระดับสูง ตามมาตรฐานหลักเกณฑที่ กําหนดไว

เครื่องหมายรับรองมาตรฐานบังคับเปนเคร่ืองหมายท่ีแสดงกับสนิคาเกษตรท่ีไดรับใบรังรองตามมาตรฐานบังคับ เน่ืองจากมีความจําเปนที่จะตองควบคุมใหสินคาเกษตรไดมาตรฐาน เพ่ือความ ปลอดภัยของผูบริโภค

Page 25: ตลาดสีเขียว Vol.11

Calenda

การจัดกระบวนการเรียนรูเพื่อการ เปลี่ยนแปลง ขั้น ๑ Facilitation for Transformation เปนหลักสูตรการอบรมซึ่งเนน กระบวนการเรียนรูที่ทําใหผูเรียนรูจักตนเอง เขาใจความเปนไปของโลกสรรพสิ่ง เคารพ และตระหนักในความหลากหลายของเพ่ือนมนุษย เขาใจตําแหนง/สถานะ และใช ศักยภาพของตนเองไดอยางมีจิตสํานึกครั้งท่ี ๑ วันท่ี ๑๒ – ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๓ครั้งท่ี ๒ วันท่ี ๒๔ – ๒๘ กันยายน ๒๕๕๓ครั้งท่ี ๓ วันท่ี ๑๒ – ๑๖ พฤศจิกายน ๒๕๕๓สถานท่ี อาศรมวงศสนิท รังสิต คลอง ๑๕ อ.องครักษ จ.นครนายก วิทยากร: ณฐ ดานนนทธรรม สนุสิา จาํวิเศษ และ สมบัติ ทารักรับจํานวน ๒๕ ทานบริจาคเขารวมกิจกรรม ทานละ ๗,๐๐๐ บาท (รวมคาท่ีพัก อาหาร และรถรับสง)

การโคชเพื่อเสริมสรางพลังชีวิต (Life Coaching) ปลุกชีวิตใหตื่นจากการหลับใหล ดวยการฟงความจริงภายในท่ีคุณไมเคยรับรู เปนกระบวนการสนทนาท่ีทําใหผู คนได คนพบทางออกของปญหาดวยตัวเอง อาศัยคําถามอันทรงพลัง การฟงอยางลึกซึ้ง การใชญาณทัสนะจับประเด็นชีวิตระหวางสนทนาระหวางวันท่ี : ๑-๓ ตุลาคม ๒๕๕๓สถานท่ี:อาศรมวงศสนิท รังสิต คลอง ๑๕ อ.องครักษ จ.นครนายก

วิทยากร: จีรนันท หลายพูนสวัสด์ิ : ณัฐ ดานนนทธรรมรับจํานวน ๒๔ ทาน (เทาน้ัน)บรจิาคเขารวมกิจกรรม ทานละ ๕,๕๐๐ บาท (รวมคาเอกสาร ทีพั่ก อาหาร และรถรับสง)สอบถามรายละเอียดเพ่ิมเติมไดที่ ฝาย ประชาสัมพันธ เสมสิกขาลัย สํานักงาน อาศรมวงศสนิท โทรศัพท ๐๓๗-๓๓๒ ๒๙๖ ถึง ๗ หรือ ๐๘๔-๓๕๐ ๐๙๔๖ (สํานักงาน อาศรมวงศสนิท)เว็บไซต www.wongsanit-ashram.org , www.semsikkha.orgอีเมล [email protected]

พบกับตลาดนัดสีเขียว จําหนายพืชผักเกษตรอินทรีย อาหารเพื่อสุขภาพ สินคาจากชุมชนเพื่อสิ่งแวดลอม ตลาดนัดสีเขียวโรงพยาบาลปทุมธานี ทุกวันพุธ เวลา 07.00 น. - 14.00 น. ตลาดนัดสีเขียว โรงพยาบาลบางโพ ทุกวันศุกร เวลา 10.00 - 15.00 น. ตลาดนัดสีเขียว ศูนยสุขศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต ทุกวันพฤหัสฯ เวลา 07.00 – 14.00 น. ตลาดนัดสีเขียว รพ.มิชชั่น ทุกวันอาทิตย เวลา 09.00 - 14.00 น. ตลาดนัดสีเขียว อาคารรีเจนทเฮาร ถ.ราชดําริ ทุกวันพฤหัสฯ เวลา 10.30 – 15.00 น.

การสรางบานดินดวยตนเอง “You can hand your own home” รวมศึกษาเร่ืองราวของบานดิน ชมภาพตัวอยางบานดินจากทุกภูมิภาค ทั่วโลก เรียนรูหลักการและข้ันตอนสราง บานดินท่ีถูกตองท้ังภาคทฤษฎีและปฏิบตัิจาก วิทยากรผูมปีระสบการณ เขาใจหลกัปฏิบัติในการสรางบานดินอยางงาย แลกเปล่ียน ทศันคติรวมกันและสรรคสรางบานดินดวยตัวคุณเองเทคนิคอิฐดินดิบและกอนฟาง วิทยากรโดย:สมบูรณ ฐิติชวลิตกุล ครั้งท่ี๑๒ ๒๘-๒๙ สิงหาคม ๒๕๕๓ครั้งท่ี ๑๓ ๒๕-๒๖ กันยายน ๒๕๕๓เทคนิคอิฐดินดิบ วิทยากรโดย: ธนา อุทัยภัตรากูร ครั้งท่ี ๑๔ ๒-๓ ตุลาคม ๒๕๕๓สถานท่ี : อาศรมวงศสนิท รังสิต คลอง ๑๕ อ.องครักษ จ.นครนายกรับจํานวน ๒๗ ทานบริจาคเขารวมกิจกรรม ทานละ ๒,๕๐๐ บาท (รวมคาท่ีพัก อาหาร และรถรับสง)

เร่ิมกิจกรรมทุกๆวันเสารตลอดทุกเดือนเวลา 13.00 ถึง 16.00 น.รับจํานวนจํากัดเพียงวันละไมเกิน 20 ทานสนใจสงรายละเอียด แจง ชื่อ เบอรติดตอกลับ และวันเวลาท่ีสะดวกมาไดที่อีเมล [email protected] หรือโทร. 089 670 4600 (พี) www.paperranger.co.cc

“รวมแบงปนแรงกาย แรงใจ และเวลา มาเปนอาสาทําสมุดเพ่ือนองๆกัน”

Page 26: ตลาดสีเขียว Vol.11

26วารสารตลาดสีเขียว

Page 27: ตลาดสีเขียว Vol.11

สมัครสมาชิกวารสารตลาดสีเขียว • การสมัครสมาชิกมีค่าธรรมเนียมท่านละ 200 บาทต่อปี • ใช้เป็นส่วนลดในการเข้าร่วมกิจกรรมการเย่ียมฟาร์ม ของเครือข่าย 5 % • ได้รับวารสารตลาดสีเขียวรายสองเดือนรวม 6 ฉบับต่อปี • สามารถเข้าร่วมกิจกรรมท่ีเครือข่ายจัด โดยไม่เสียค่าใช้จ่าย ติดต่อ : บริษัทสวนเงินมีมา จํากัด 77,79 ถนน เฟ่ืองนคร แขวงวัดราชบพิธ เขตพระนคร กรุงเทพฯ 10200 tel: 02-622-0955, 02-622-0966 Fax : 02-622-3228 downloadใบสมัครได้ท่ีwww.thaigreenmarket.com

อัตราคาโฆษณาในการจัดพิมพวารสารฯยังคงขาดงบประมาณในการผลิตท่ีจะเผยแพรไปยังผูที่สนใจโดยไมเสียคาใชจาย จึงใครขอเชิญทานรวมสนับสนุนดังกลาว ดวยรูปแบบดังน้ี 1.ลงโฆษณา(เน้ือหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด 1 A4 พิมพ 4 สี สนับสนุนงบประมาณ 10,000 บาท/ฉบับ 2.ลงโฆษณา(เน้ือหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด ½ A4 พิมพ 4 สี สนับสนุนงบประมาณ 5,000 บาท/ฉบับ 3. ลงโฆษณา(เน้ือหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด 1 A4 พิมพ 2 สี สนับสนุนงบประมาณ 5,000 บาท/ฉบับ 4..ลงโฆษณา(เน้ือหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด ½ A4 พิมพ 2 สี สนับสนุนงบประมาณ 3,000 บาท/ฉบับ 5.ลง โลโกองคกรพิมพ 4 สี จํานวน 3 ฉบับงบประมาณ 10,000 บาท 6.ลง โลโกองคกรพิมพ 4 สี จํานวน 6 ฉบับงบประมาณ 15,000 บาท 7. ลงบทความ(เน้ือหาพรอมภาพประกอบ) ขนาด 1 A4 พิมพ 2 สี สนับสนุนงบประมาณ 4,000 บาท/ หนา

“เพ่ือแลกเปล่ียนและเช่ือมโยงผูประกอบการ ผูผลิต ผูบริโภคท่ีคํานึงถึงความย่ังยืนและเปนมิตรกับธรรมชาติ”ในการจัดพิมพวจึงใครขอเชิญทา 1.ลงโฆษณา( 2.ลงโฆษณา( 3. ลงโฆษณา 4..ลงโฆษณา 5.ลง โลโกองค

6.ลง โลโกองค

“เพ่ือแลกเปล่ียน

Page 28: ตลาดสีเขียว Vol.11

28วารสารตลาดสีเขียว