รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด...

14
บทที1 บทนํา ความเปนมาของปญหาและแนวทางการแกปญหา หากเราลองมองดูการใชชีวิตประจําวันของเราสิ่งหลักๆ ก็ตองเกี่ยวของกับการใชแสง สวาง ไมวาจะเปนการเรียนในหองเรียนก็ตองใชแสงไป หองน้ํา หองทํางาน หรือแมแตตามทอง ถนนหนทาง หลายคนคงเคยมีปญหากับการลืมปดไฟในหอง ทําใหสิ้นเปลืองคาไฟฟา และยัง สงผลใหเครื่องใชไฟฟา และยังสงผลใหเครื่องใชไฟฟา อายุการใชงานคงสั้นลง โดยที่ยังไมได ประโยชนเต็มที่เลย นอกจากนี้ยังมีปญหา ในความไมสะดวกอีกอยางหนึ่ง คือการเขาหองน้ํา ตาม ปรกติแลวเกือบทุกครั้งเราตองเปดไฟ เพราะเปนหองที่มืด ครั้นเมื่อทําภารกิจเสร็จแลวปดไฟทั้งๆ ทีมือยังเปยก จึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะถูกไฟดูดได อีกอยางหนึ่ง ถาเขาหองน้ําตอนกลางคืน ตอนที่เราออกจากหองน้ําแลวลืมปดไฟ ทําใหมืด จึงลําบากในการมองหาทางเดินเพราะตามธรรมชาติแลว ตาของมนุษย ไมสามารถปรับสภาพการ มองเห็นไดเร็วพอ ตอนแรกเราจะมองเห็นทางเดินไดพอลางๆ เมื่อเปดไฟตาก็ปรับสภาพรับแสง สวางได แตพอปดไฟตาก็จะไมสามารถรับสภาพความมืดได ทําใหมองไมคอยเห็นทางเดิน ปญหาหาเหลานี้เปนเรื่องที่กวนใจมนุษยเราเสมอมา จึงคิดสรางสิ่งประดิษฐที่สามารถ ทํางานไดอัตโนมัติ เมื่อเราเดินผานก็สั่งงานใหเครื่องใชไฟฟาทํางาน พอเดินออกมาจากหอง เครื่อง ก็รับรูแตยังไมสั่งใหปดเครื่องใชไฟฟาในทันที แตจะหนวงเวลาตอไประยะหนึ่ง จึงชวยแกปญหาทีผานมาได ในกรณีหลดไฟในหองน้ําก็จะสวางคางอยูพักหนึ่งทําใหเราสามารถมองเห็นทางเดินได เวลาตอมาผมเขามาในหองอีก โดยที่หลอดไฟไมทันดับหรือยังไมหมดเวลาที่หนวงไว มัน ก็จะสั่งงานใหสวางคางตอไปไดทําใหสะดวกมากทีเดียว นอกจากนี้ยังควบคุมการหนวงเวลาปดได 2 ชุด ในกรณีที่ตองการใหปดเครื่องใชไฟฟาไมพรอมกัน เชนตอนอากาศรอน กําหนดใหเปด หลอดไฟกอน แลวตามดวยพัดลม จึงทําใหหองเย็นสบายเสมอ

description

รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรดตอนอยู่ วศบ.คอม ปี1 เทอม 3รายละเอียดเพิ่มเติมKnow2Pro.com

Transcript of รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด...

Page 1: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

บทที่ 1 บทนํา

ความเปนมาของปญหาและแนวทางการแกปญหา หากเราลองมองดูการใชชีวิตประจําวันของเราสิ่งหลักๆ ก็ตองเกี่ยวของกับการใชแสงสวาง ไมวาจะเปนการเรียนในหองเรียนก็ตองใชแสงไป หองนํ้า หองทํางาน หรือแมแตตามทองถนนหนทาง หลายคนคงเคยมีปญหากับการลืมปดไฟในหอง ทําใหสิ้นเปลืองคาไฟฟา และยังสงผลใหเครื่องใชไฟฟา และยังสงผลใหเคร่ืองใชไฟฟา อายุการใชงานคงสั้นลง โดยท่ียังไมไดประโยชนเต็มท่ีเลย นอกจากน้ียังมีปญหา ในความไมสะดวกอีกอยางหนึ่ง คือการเขาหองนํ้า ตามปรกติแลวเกือบทุกคร้ังเราตองเปดไฟ เพราะเปนหองท่ีมืด ครั้นเมื่อทําภารกิจเสร็จแลวปดไฟท้ังๆ ที่มือยังเปยก จึงมีโอกาสเสี่ยงที่จะถูกไฟดูดได อีกอยางหน่ึง ถาเขาหองนํ้าตอนกลางคืน ตอนท่ีเราออกจากหองนํ้าแลวลืมปดไฟ ทําใหมืดจึงลําบากในการมองหาทางเดินเพราะตามธรรมชาติแลว ตาของมนุษย ไมสามารถปรับสภาพการมองเห็นไดเร็วพอ ตอนแรกเราจะมองเห็นทางเดินไดพอลางๆ เมื่อเปดไฟตาก็ปรับสภาพรับแสงสวางได แตพอปดไฟตาก็จะไมสามารถรับสภาพความมืดได ทําใหมองไมคอยเห็นทางเดิน ปญหาหาเหลานี้เปนเรื่องท่ีกวนใจมนุษยเราเสมอมา จึงคิดสรางสิ่งประดิษฐท่ีสามารถทํางานไดอัตโนมัติ เม่ือเราเดินผานก็สั่งงานใหเครื่องใชไฟฟาทํางาน พอเดินออกมาจากหอง เครื่องก็รับรูแตยังไมสั่งใหปดเคร่ืองใชไฟฟาในทันที แตจะหนวงเวลาตอไประยะหน่ึง จึงชวยแกปญหาท่ีผานมาได ในกรณีหลดไฟในหองนํ้าก็จะสวางคางอยูพักหน่ึงทําใหเราสามารถมองเห็นทางเดินได เวลาตอมาผมเขามาในหองอีก โดยท่ีหลอดไฟไมทันดับหรือยังไมหมดเวลาที่หนวงไว มันก็จะสั่งงานใหสวางคางตอไปไดทําใหสะดวกมากทีเดียว นอกจากน้ียังควบคุมการหนวงเวลาปดได 2 ชุด ในกรณีที่ตองการใหปดเครื่องใชไฟฟาไมพรอมกัน เชนตอนอากาศรอน กําหนดใหเปดหลอดไฟกอน แลวตามดวยพัดลม จึงทําใหหองเย็นสบายเสมอ

Page 2: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

วัตถุประสงค 1. เพ่ือศึกษาการใช sensor อินฟาเรดในการตรวจจับวัตถุ 2. เพ่ือศึกษาการใชงาน ดัดแปลงวงจรอิเล็กทรอนิกสเขาถึงการใชงานในชีวิตประจําวัน

เพ่ือศึกษาการใช sensor ในการควบคุมการเปดปดวงจรอเิลก็ทรอนิกส ประโยชนท่ีคาดวาจะไดรับ

1. มีความรูความชํานาญในการใชงาน sensor มาประยุกตใชกับงานตางๆ 2. มีความรูในการประยุกตวงจรอิเล็กทรอนิกสเพ่ือควบคุมเครื่องใชไฟฟาภายในบาน 3. ไดรับความสะดวกในการใชชีวิตประจําวัน

ขอบเขตของโครงงาน สวิตซ ปด-เปด อัตโนมัติ ตรวจสอบโดยแสงอินฟาเรด ทํางานโดยการใชแสงอินฟาเรด ซึ่งใชการตรวจจับวัตถุตัดแสง มีผลใหวงจรทํางานโดยชุดหนวงเวลา และ ชุดควบคุมอุปกรณไฟฟาทํางาน ซึ่งก็คือหลอดไฟในหองนํ้า วงรจะทํางานอีกคร้ังเมื่อมีวัตถุตัดแสงอีกครั้ง โดยจะหนวงเวลาใหหลอดไฟทํางานไปอีกระยะหนึ่ง ถาหากยังไมมีวัตถุมาตัดแสงอีก หลอดไฟก็จะดับ น่ันคือใชไมตองกดสวิตซไฟ เพียงแตเดินผานเทานั้น วงจรก็จะควบคุมหลอดไฟ ใหอัตโนมัติ

Page 3: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

บทที่ 2

การคนพบรังสีอินฟราเรด

ในป ค.ศ. ๑๘๐๐ ขณะท่ี เฮอเชล กําลังติดตามศกึษาดวงอาทิตยอยู ในกลองดูดาว ตองมีการใชเลนสกรองแสง ซึ่งทําเปนสีตางๆ เฮอเชล ตองการทราบวา ในเลนสแตละสี จะเปลีย่นคาแสดงความรอนของดวงอาทิตยหรือไม ทานจึงประดิษฐอุปกรณการทดลองอยางงายๆ เพ่ือหาคําตอบ ซึ่งนับเปนวิธีทดลองท่ีหลักแหลมเปนอยางมากทานใชปริซึมแยกแสง แลวใหแสงตางๆมาตกท่ีเทอรโมมิเตอร ซึ่งทาสีดําทีก่ะเปาะ เพ่ือใหดูดความรอนดียิ่งข้ึน ความท่ีเปนนักวิทยาศาสตรท่ีละเอียดถี่ถวนเปนวิสัยประจําตัว ทานก็ต้ังเทอรโมมเิตอรตัวหน่ึงนอกเหนือจากแสงสีตางๆน้ัน เพ่ือเปนตัวควบคุมการทดลอง ปรากฏวา แสงสีตาง มีอณุหภูมิสูงกวาแสงสขีาว และอุณหภูมสิูงข้ึนจาก สีมวง ไปหาสแีดง เฮอเชล จึงเกิดความอยากรูข้ึนมา แลววัดแถบเหนือแสงสแีดงข้ึนไปที่ไมปรากฏมีสีอะไร ดูเหมือนแสงอาทิตยธรรมดาเทาน้ันเอง แต เฮอเชล ก็ประหลาดใจเปนอยางยิ่ง เม่ือปรากฏวา เทอรโมมิเตอร ตัวที่อยูนอกเหนือจากแสงสแีดงน้ัน กลับวัดไดอณุหภูมสิูงกวาทุกตัวเฮอเชล จึงทําการทดลองตอไป ก็พบวา สวนของแสงท่ีมองไมเห็นแตรอนกวาสแีดงน้ี มีคุณสมบัติทางกายภาพเชนเดียวกับคลื่นแสงทีม่องเห็นไดทุกประการ เชน การหักเห ดูดซับ สองผานหรอืไมผานตัวกลาง ฯลฯ ในตอนแรก ทานเรียกแสงน้ีวา calorific rays ซึ่งกเ็ชนเดิมท่ีการตั้งชือ่ของทานไมคอยจะเปนที่ถูกใจใครเทาไรนัก รังสีท่ีถกูคนพบใหมน้ี กถ็ูกเปลี่ยนชือ่ไปเปน รังสอีินฟราเรด ท่ีเรารูจักกันมาทุกวันน้ี

Page 4: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

infrared ray เปนแสงท่ีมีความยาวคลืน่ท่ีตํ่ากวาแสงขาว ( Visible Light )ซึ่งเปนแสงท่ีมนุษยสามารถมองเห็นได แสงอนิฟราเรดถกูคนพบโดย Sir Frederic William Herschel ( 1738-1822)Gเมื่อป ค.ศ.1800โดยขณะทําการทดลองเร่ือง แถบสีตางๆใน Spectrum แสงแดดวาแตละแถบสีมีคุณสมบัติอยางไร การทดลองโดยใชเทอรโมมิเตอรวัดอณุหภูมิของแตละลําแสง โดยเร่ิมวัดจากแสงสีมวงไปเร่ือยๆ คร้ันพอเลื่อนเทอรโมมิตอรมาจนถึงแถบสแีดง ปรากฏวาเทอรโมมเิตอรวัดอุณหภูมิไดสูงข้ึนทันที หลังจากไดวัดความรอนในแถบสแีดงแลวเขาบังเอิญทําเทอรโมมเิตอรเขยิบออกไปจากแสงสแีดงเลก็นอย ทําใหอณุหภูมิสูงกวาเดิม ซึ่งทําใหเขาคิดวาตองมีแสงอกีชนิดหน่ึงท่ีมองไมเห็น และลําแสงน้ีก็ทําใหเกิดความรอนได ซึง่การท่ีจะทําใหเกดิความรอนไดเม่ือไปสองกระทบกับวัตถุ และปริมาณความรอนจะมากหรอืนอยขึ้นอยูกับคุณลักษณะของสารนั้นๆ

Page 5: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

บทท่ี 3 วิธีการดําเนินงาน

ลําดบัขั้นการคนหาวงจร 1.ภาครับ ชุดโครงงานนี้ สวนท่ีมีความสําคญั คือ ชุดรับแสงอินฟาเรด เพราะยังไมทราบวาจะใชตัวอะไรมารับแสงอินฟาเรดได สวนตัวสงแสงคาดวาจะใชรีโมทได จากเครือ่งรับโทรทัศนระบบรีโมทคอนโทรล ไดไดความคิดท่ีจะศึกษาดูวาใชตัวอะไรเปนตัวรับแสงน้ี จึงไดแกะดูภายในเครือ่งเปนกลองโลหะเล็กๆ สงสัยวาเปนตัวรับแสงแนเพราะวางอยูดานหนาเคร่ือง มีวัตถคุลายเลนสติดอยูดวย ผมจึงแกะออกมาใสวงจรแลวมีขาใชงานท้ังหมด 3 ขามฃ คือ 1.ไฟลี้ยงขนาด 5 V เอามเิตอรมาวัดไฟท่ีขาออกไดปกติ 5v พอกดรีโมทแลววัดได 4v และเข็มมิเตอณสั่นเล็กนอย แสดงวามีไฟกระแสสลับออกมาดวย ผมจึงไปคนหาวงจรท่ีสามารถเพ่ิมแรงดนัใหสูงจ้ึนไดประมาณ 9-12 v และแปลงใหเปนไฟกระแสตรงดวย ทดลองทําไปเรือ่ยจนไดเปนวงจรดังรูป

รูปที่ 1 วงจรภาครับอินฟราเรด

Page 6: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

หลักการทํางาน จากรูปท่ี 1 เปนตัวรับแสงอนิฟาเรดใชไฟเลีย้ง 5v จึงตองใช ZD1 และ R1 ทําหนาท่ีลดไฟ

เปน +5v คงท่ีและ C1-C3 ทําหนาท่ีชวยลดสัญญาณรบกวนหรือไฟกระเพ่ือม เม่ือกดสวิตซรีโมทก็จะมีสัญญาณพัลลออกมาท่ี out ของ IC1 แตมีระดับแรงดันไมสูงเพียงพอและเปนไฟกระแสสลับ จึงตองมี C4,D1,D2,C5 จัดเปนวงจรทวีแรงดันสองเทาและเปลีย่นเปนไฟกระแสตรง จากนั้นไฟทไดกผ็าน R2 เขาท่ีขา B ของ Q1 ขยายกระแสใหสูงขึ้น สามารถขับหลอด LED1 ใหสวางได และกนํ็าเอาไฟท่ีครอมขา C ของ Q1 ไปใชขับภาคตอไป เหตุที่ตอแบบน้ีเพ่ือกําหนดให LED1 ก็ดันและไฟท่ีขาออกก็จะมีคาระดับสูง เน่ืองจาก Q1 ไมนํากระแสน่ันเอง

Page 7: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

ภาคสง ตอไปกเ็ปนวงจรภาคสง ซึ่งเดิมทีคิดวาจะใชเปนรีโมทเปนตัวสง แ ตเทาท่ีลองใชดูมีปญหา คือ เม่ือมีวัตถผุานแสงกไ็มมีผลใดๆ คดิวาความแรงของแสงมีมากจึงใชไมได ดวยหตผุลน้ีจึงตองเรามหาวงจรสงแสงอินฟาเรด LED1 ก็ดับ แมวาวัตถุนัน้จะเร็วเพียงใดก็ตาม ในขณะเดียวกนัท่ีขาออกก็มีระดับสูงพอกอนสงไปยังภาคหารสองตอไป หลักการทํางาน ดังรูปที่ 2 วงจรนสงแสงอินฟราเรดท่ีใช IC2 ทําหนาทีผ่ลติความถี่รูปสีเ่หลี่ยม หรือวงจรอะเสตเบิลมัลติไวเบรเตอร มีคาความถี่ประมาณ 600 Hz ซี่งมีคาใกลเคียงความาพ่ีของรีโมทท่ัวไปคาความถี่ท่ีไดขึน้อยูกับคา R4,R5,C6 หาจากสูตร คือ F = 1.44/((R4+2R5)C8) และชวงเวลาท่ี LED2 ติดประมาณ 0.7 mS ตอไซเคิล มาจากสูตร T2 = RC สวน C6,C7,C9 ทําหนาท่ี ตัวชวยใหวงจรมีเสถยีรภาพมากขึ้น

รูปท่ี 2 วงจรภาคสง

Page 8: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

ภาคหาร 2 ในภาคน้ีเปนระบบการทํางานของวงจรดิจิตอลท่ีมีหลกัการงายๆ คือ ในครั้งแรกมีสัญญาณเขาระดับสูงหรือเทียบเปนลอจิก High ทางขาออกของวงจรมีลอจิกทันทีและคางไวจนกวามีสัญญาณเขามาอีกครั้ง ระดับลอกจิกก็จะลดลงเปนระดับเดิมในตอนแรกคือระดับคา หรอื ลอจิก LOW คงมีคําถามวามันจะหารสองอยางไร หรือ ต้ังชื่อใหมันเทๆ ท่ีวาหารสอง เขานับเอาสัญญาณเขาท้ังสองระดับ ทั้งชวงไฟสูง และไมมีไห อานแลวยังวว ดูรูปแสดงผังการทํางานดังรูปท่ี 3 จากแนวความคิดน้ีจึงไดวงจรท่ีทํางานตามแบบไดดังรูปท่ี 4 วงจรน้ีทําหนาที่เปน ไอซีหารสอง จากท่ีทดลองวจจรน้ีทํางานไดดี เม่ือเดินผานหลอด LED3 ก็จะติด เม่ือเดินกลับมาอีกคร้ังหลอด LED3 ก็จะดับ แสดงวาใชไดคร้ัง

รูปท่ี 3 ภาพแสดงการทํางาน สัญญาณเขาและออกของภาคหาร 2

รูปท่ี 4 วงจรภาคหาร 2

Page 9: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

หลักการทํางาน ในรูปท่ี 3 ภาคหารสองท่ีประกอบดวยวงจรภายในอีก 2 สวน คือ 1.สวนโมโนสเตเบิลมัลติไวเบเตอร เม่ือสัญญาณลอจิก 1 เขามาทางขา 11 ก็จะทําใหขา 13 เกดิเปนสัญญาณลอจิก 1 มีชวงระยะเวลาหนึ่ง แลวกก็ลับเปนลอจิก 0 อกีคร้ังหน่ึง หรอืเทียบไดกับวา เม่ือมกีารกระตุนครั้งหน่ึงก็จะใหสัญญาณออกไปลูกหน่ึง มีชวงเวลา 0.7 วินาที โดยมี R9,C13 เปนตัวกําหนดคาเวลาน้ีซึ่งไดจากคํานวนสตูร คอื T = 0.7 RC วงจรน้ีมีไวเพ่ือแกปยหาในกรณีท่ีเดินผานแสงแลว แตมือของเราดันแกวงผานอีก ทําใหเครือ่งเขาใจผิดวาเปนการเดนิออกจึงสั่งใหปดเคร่ืองใชไฟฟาได เมือ่ใสวงจรน้ีเครือ่งจะรับรูเพียงตอนรางกายผานแสงครั้งแรกเทาน้ัน สวนการผานแสงท่ีต่าํกวา 0.7 วินาที เครือ่งก็จะไมทํางานแตอยางใด 2. สวน D ฟลิปฟลอบ ในท่ีน้ีจัดตอเปนวงจรหารสอง เม่ือมีลอจิก 1 มากระตุนท่ีขา 3 ครั้งหนึ่งก็จะมีระดับลอจิกเปลี่ยนสําหรับ C10,R8 ตอไวเปนการรเีซ็ดวงจรในตอนทีเ่ปดเครือ่งในครั้งแรก ใหขาออกเปนลอจิก 0 เสมอ สวนอุปกรณอื่นๆ คือ C11,C12,D3,R7 ทําหนาท่ีชวยใหวงจรมีเสถียรภาพข้ึน

รูปท่ี 5 วงจรหนวงเวลาอยางงายๆ

Page 10: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

ภาคหนวงเวลาปด จากหลักการของวงจรหนวงเวลาอยางงายๆ ดังรูปท่ี 5 เมือ่เรากดสวิตซ ก็จะมีไฟอกท่ีเอาตพุต ตอมาเม่ือปลอยสวิตซแรงดันไฟฟาท่ีเอาตพุตก็ยังคงมีอยูชวงระยะเวลาหน่ึง เน่ืองจากมตัีวเก็บประจุ C1 เปนตัวคอยเก็บไฟไวในตอนท่ีเรากดสวิตซและปลอยออกมาในตอนท่ีเราปลอยสวิตซ สําหรับเวลาชา-เร็วในการเก็บไฟไวน้ันข้ึนอยูกับคา Ct และ Rt หากมีคามากก็จะนานในทางกลับกันคนอยก็จะเร็ว ซึ่งพอสรุปไดเปนสูตรคือ T = 0.7CtRt นอกจากน้ียังข้ึนอยูคาความตานทานของโหลดท่ีนํามาตอยงัเอาตพุตดวย ดวยหลักพ้ืนฐานน้ี จึงไดดัดแปลงวงจรดังรูปท่ี 6 จะเห็นไดวาใช IC4 ทําหนาที่เหมือนสวิตซอเิลก็ทรอนิกส และยังใช IC5 ตอเปนวงจรกันชน ในขา 6,13 ของ IC4 เปนขาควบคุมแทนการกดสวิตซื เม้ือมรีะดับลอจิก 1 ทําใหไฟไหลผานแยกเปน 2 ทาง มายัง IC4a และ IC4d เกิดเปนสัญญาณท่ีดีทําใหเกิดลอจิกเปน 1 ท่ีขาออก 41 และขาออก 2 จึงเปนผลให LED4,LED5 ติดสวางบงบอกการทํางานเครือ่งใชไฟฟาท้ัง 2 ชุดได แตเม่ือระดับสัญญาณท่ีขาเขาม่ีลอจิกเปน 0 สวิตซอเิลก็ทรอนิกสท่ีจะไมตอไฟก็ไมใหไหลผาน IC4 ไดอกี แตเอาตพุตก็ยังคงม่ีไฟอยูระยะหน่ึง หลอดไฟ LED4,LED5 ก็ยังคงตดิสวางเพราะไฟท่ีเก็บประจุไวใน C16,C17 ก็ยังคงมีอยูตามหลกัการวงจรที่แลว สําหรับ IC5 เปนไอซแีนนดเกตท่ีตอเปนวงจรบัฟเฟอรทําหนาท่ีเหมือนกันชน แทนท่ีตอกับขาออกโดยตรง จึงมผีลใหชวงเวลามีไฟนานข้ึน เพราะท่ีขาอนิพุตของไอซีน้ีมีคาความตานทานมาก จึงไมมีผลกดคาความจุของตัวเก็บประจุ เวลาจึงมีคาปกติไมนอยเกินไป สําหรับการหนวงเวลาท่ีขาออก 1 ประมาณ 1.30 วินาท และขาออกประมาณ 2.40 นาที

รูปที่ 6 ภาคหนวงเวลาปด

Page 11: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

ภาคจายไฟ วงจรท้ังหมดท่ีไดทดลองผานมาผมใชไฟเลี้ยงขนาด 9v จากแบตเตอรี่ ซึ่งไมคอยสะดวกนักหากสรางใชงานจริง จึงสรางเปนวงจรจายไฟ โดยนําไฟบาน 220v น้ีแปลงใหเปนไฟ 9v ใชไดผลดเีชนเดียวกับไฟจากแบตเตอรี่ ดังรุปที่ 8 ดูวงจรแอลวก็เปนวงจรงายๆ คงเคยใชกันมาแลว มีหลักการงายๆ ใชหมอแปลง T1 ลดไฟลดเหลือ 9v แลวแปลงใหเปนไฟกระแสตรง โดยมี D4,D5,C18,C19 จัดเปนวงจรเรียงกระแสแบบเต็มคลืน่ ไดเปนแรงดันไฟตรงประมาณ 12v จากนั้นกผ็าน C6,ZD1,D1,R21,C20,C21,C22 จัดเปนวงจรรักษาระดับแรงดันคงท่ี 9v ซึ่งไดไฟตรงท่ึมีความบริสุทธข้ึน พรอมท่ีจะจายไฟสูภาคตางๆ ท่ีผทานมา และม่ี LED6 เปนตัวแสดงผลการทํางานของวงจร

รูปท่ี 8 วงจรภาคจายไฟ

Page 12: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

ลายวงจรท่ีใชทําสวิตซ ปด-เปด อัตโนมัติ ตรวจสอบโดยแสงอินฟราเรด

รูปท่ี 9 การวางตําแหนงอุปกรณ และลายพร้ินตของภาครับ

รูปที่ 10 การวางตําแหนงอุปกรณ และลายพร้ินตของภาคสง

Page 13: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com

.

รูปท่ี 11 การวางตําแหนงอุปกรณ และลายพร้ินตของภาคหนวงเวลาปด

รูปท่ี 11 การวางตําแหนงของอุปกรณ และลายพร้ินตภาคหาร 2

Page 14: รายงานสวิตช์เปิดปิดอัตโนมัติแบบอินฟาเรด - Know2Pro.com