ข้อคิดเห็นต่อรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์...

3
เชิญ ไกรนรา สานักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคกลาง สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ข้อคิดเห็นต่อรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการศึกษาเพื่อกาหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที่กาญจนบุรีและ บริเวณใกล้เคียงเพื่อเปิดประตูเศรษฐกิจด้านตะวันตก 23 กันยายน 2557 ข้อเสนอแนะต่อรายงานการศึกษา 1. เห็นควรให้เปลี่ยนการใช้คาว่า “ระเบียงเศรษฐกิจ”ซึ่งแทนความหมายว่า Corridor ที่มีความหมายโน้มเอียง ทางด้านสถาปัตยกรรมซึ่งหมายถึงทางเดินเชื่อมระหว่างห้องภายในอาคาร มาเป็นคาว่า “แนวพื้นที่พัฒนา เศรษฐกิจ” ซึ ่งจะสอดคล้องกับบริบทการพัฒนาจังหวัดมากกว่าเนื่องจากเป็นความหมายที่สะท้อนการพัฒนา เศรษฐกิจที่เกิดขึ้นตามแนวเส้นทางการขนส่ง (Transport Corridor) ซึ ่งอาจเป็นเส้นทางถนนหรือรถไฟ และ ส่วนใหญ่กาหนดเป็นเส้นตรง 2. เห็นควรให้ระบุเพิ่มเติมแนวคิดของการออกแบบการวิจัย ซึ่งควรประกอบด้วย แนวคิดการพัฒนาแนวพื้นที่เศรษฐกิจ (Corridor Approach) แนวคิดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain Approach) แนวคิดการวางแผนกายภาพ (Physical Planning Approach) การมีส่วนร่วมในการวางแผน (Participatory Planning Approach) และควรเพิ่มเติมเครื่องมือ (Methods) ในการรวบรวมข้อมูลซึ่งควรประกอบด้วย การสารวจภาคสนามเส้นทางการค้าและการขนส่งในเมียนมาร์ การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview) การประชุมกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (Focus group discussion) รวมทั้งภาครัฐและภาคเอกชน การระดมสมอง (Brain storming) จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ การกาหนดบทบาทของพื้นที่ตามสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น (Scenario Planning) GIS การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment : SEA) นอกจากนี้ควรระบุวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งควรประกอบด้วย การวิเคราะห์แนวพื้นที่พัฒนาเศรษฐกิจ (Corridor Analysis) การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain Analysis)

description

เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน

Transcript of ข้อคิดเห็นต่อรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์...

Page 1: ข้อคิดเห็นต่อรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report)โครงการศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที

เชิญ ไกรนรา ส านกัพฒันาเศรษฐกิจและสงัคมภาคกลาง ส านกังานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสงัคมแหง่ชาติ

ข้อคิดเห็นต่อรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report) โครงการศึกษาเพื่อก าหนดแนวทางการพัฒนาพ้ืนที่กาญจนบุรีและ

บริเวณใกล้เคียงเพือ่เปิดประตูเศรษฐกิจด้านตะวันตก

23 กันยายน 2557 ข้อเสนอแนะต่อรายงานการศึกษา 1. เห็นควรให้เปลี่ยนการใช้ค าว่า “ระเบียงเศรษฐกิจ”ซึ่งแทนความหมายว่า Corridor ทีมี่ความหมายโน้มเอียงทางด้านสถาปัตยกรรมซึ่งหมายถึงทางเดินเชื่อมระหว่างห้องภายในอาคาร มาเป็นค าว่า “แนวพ้ืนที่พัฒนาเศรษฐกิจ” ซ่ึงจะสอดคล้องกับบริบทการพัฒนาจังหวัดมากกว่าเนื่องจากเป็นความหมายที่สะท้อนการพัฒนาเศรษฐกิจทีเ่กิดข้ึนตามแนวเส้นทางการขนส่ง (Transport Corridor) ซ่ึงอาจเป็นเส้นทางถนนหรือรถไฟ และส่วนใหญ่ก าหนดเป็นเส้นตรง 2. เห็นควรให้ระบุเพ่ิมเติมแนวคิดของการออกแบบการวิจัย ซึ่งควรประกอบด้วย

แนวคิดการพัฒนาแนวพ้ืนที่เศรษฐกิจ (Corridor Approach)

แนวคิดห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain Approach)

แนวคิดการวางแผนกายภาพ (Physical Planning Approach)

การมีส่วนร่วมในการวางแผน (Participatory Planning Approach)

และควรเพิ่มเติมเครื่องมือ (Methods) ในการรวบรวมข้อมูลซึ่งควรประกอบด้วย

การส ารวจภาคสนามเส้นทางการค้าและการขนส่งในเมียนมาร์

การสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth interview)

การประชุมกลุ่มเป้าหมายเฉพาะ (Focus group discussion) รวมทั้งภาครัฐและภาคเอกชน

การระดมสมอง (Brain storming) จากกลุ่มผู้เชี่ยวชาญ

การก าหนดบทบาทของพ้ืนที่ตามสถานการณ์ที่อาจจะเกิดขึ้น (Scenario Planning)

GIS

การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment : SEA) นอกจากนี้ควรระบุวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งควรประกอบด้วย

การวิเคราะห์แนวพ้ืนที่พัฒนาเศรษฐกิจ (Corridor Analysis)

การวิเคราะห์ห่วงโซ่คุณค่า (Value Chain Analysis)

Page 2: ข้อคิดเห็นต่อรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report)โครงการศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที

เชิญ ไกรนรา ส านกัพฒันาเศรษฐกิจและสงัคมภาคกลาง ส านกังานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสงัคมแหง่ชาติ

การวิเคราะห์เชิงพ้ืนที่ (Spatial Analysis) เพ่ือสนับสนุนการวางแผนกายภาพ

การวิเคราะห์การวางแผนแบบมีส่วนร่วม (Participatory Planning Analysis)

การวิเคราะห์นโยบาย (Policy Analysis)

การประเมินสิ่งแวดล้อมระดับยุทธศาสตร์ (Strategic Environmental Assessment : SEA) 3. การวิเคราะห์ปัจจัยภายใน ควรเพิ่มเติมประเด็นความเชื่อมโยงทางการผลิตใน 3 กลุ่มพ้ืนที่ศึกษาโดยการ วิเคราะห์ Backward-Forward Linkages ของอุตสาหกรรมที่ส าคัญ 4. เห็นควรให้เพิ่มบทบาทของพ้ืนที่ศึกษาดังนี้

จังหวัดกาญจนบุรี ควรเพิ่มเติมบทบาทการเป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ การให้บริการเป็นแหล่งประชุมและสัมมนา บริการดูแลสุขภาพ ฐานการผลิตอุตสาหกรรมชายแดน และชอปปิ้ง เป็นต้น

กรุงเทพฯและปริมณฑล ควรเพ่ิมบทบาทเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจสนับสนุนธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ เป็นต้น

กลุ่มจังหวัดชายฝั่งทะเลตะวันออก ควรเพ่ิมบทบาทเป็นฐานการผลิตยานยนต์และชิ้นส่วน เป็นต้น 5. ควรมีการวิเคราะห์ความเป็นไปได้ในการเชื่อมโยงของการผลิตข้ามพรมแดน หรือการผลิตร่วมบริเวณชายแดน (Cross-Border Production Linkages) ระหว่างพื้นที่ศึกษาของไทยกับเมืองทวายและเมืองทิก ิทั้งในด้านการแลกเปลี่ยนวัตถุดิบ การแปรรูปหรือความร่วมมือในกระบวนการผลิตของสินค้าท่ีส าคัญ 6.ควรมีการศึกษาแนวทางการพัฒนาระบบเมืองและการส่งเสริมความเชื่อมโยงระหว่างเมืองและชนบทในพ้ืนที่ศึกษา และผลกระทบของการพัฒนาต่อชุมชนที่ตั้งอยู่ตามแนวพ้ืนที่พัฒนาเศรษฐกิจตอนใต้ 7.ควรมีการวิเคราะห์กลุ่มประเทศเป้าหมายที่สนใจเปลี่ยนมาใช้บริการท่าเรือแหลมฉบังเพ่ือขนส่งไปผ่านยังท่าเรือทวาย และชนิดและปริมาณสินค้าที่คาดว่าจะผ่านมาใช้บริการท่าเรือทวาย (หากเกิดขึ้น) 8.ควรมีการวิเคราะห์พื้นที่และอุตสาหกรรมเป้าหมายเพื่อการพัฒนาเขตอุตสาหกรรมชายแดนของจังหวัดกาญจนบุรี และความเชื่อมโยงกับเขตอุตสาหกรรมชายแดนบริเวณพ้ืนที่ด่านพระเจดีย์สามองค์ท่ีมีอยู่ในปัจจุบัน 9.ควรพัฒนากลไกในการผลักดันการพัฒนาออกเป็นสองระดับคือ 9.1 กลไกขับเคลื่อนการพัฒนาตามแนวพัฒนาพ้ืนที่เศรษฐกิจตอนใต้ (Southern Economic Corridor) ระดับภาพรวมที่เน้นการมีส่วนร่วมและประสานความร่วมมืออย่างใกล้ชิดระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน

Page 3: ข้อคิดเห็นต่อรายงานการศึกษาฉบับสมบูรณ์ (Final Report)โครงการศึกษาเพื่อกำหนดแนวทางการพัฒนาพื้นที

เชิญ ไกรนรา ส านกัพฒันาเศรษฐกิจและสงัคมภาคกลาง ส านกังานคณะกรรมการพฒันาการเศรษฐกิจและสงัคมแหง่ชาติ

9.2 กลไกบริหารจัดการพ้ืนที่เขตเศรษฐกิจพิเศษเฉพาะพ้ืนที่ เช่น พุน้ าร้อน ด่านพระเจดีย์สามองค์ หรืออ าเภอเมืองกาญจนบุรี เป็นต้น 10. ควรเพิ่มข้อเสนอแนะการพัฒนาที่จะท าให้การพัฒนาประสบความส าเร็จซึ่งควรแบ่งออกเป็น 2 มิติคือ 10.1 แนวทางการสนับสนุนการพัฒนาภายในประเทศ ควรประกอบด้วย

ด้านการเงินและการลงทุนและการสนับสนุนจากรัฐบาลไทย เป็นต้น 10.2 แนวทางการสนับสนุนการพัฒนาระหว่างประเทศ ควรประกอบด้วย

การเชื่อมโยงโครงสร้างพ้ืนฐานทางถนนระหว่างประเทศไทยและเมียนมาร์

ด้านกฎหมายและข้อตกลงด้านการอ านวยความสะดวกทางการค้า การเคลื่อนย้ายเงินทุน แรงงาน และยานพาหนะ เป็นต้น

การสนับสนุนจากรัฐบาลเมียนมาร์และองค์การระหว่างประเทศ

------------------