วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน...

40
ปที่ 9 เลมที่ 3 ประจำเดือน เมษายน - มิถุนายน 2557 สัมภาษณพ�เศษ ดร.ว�ฑูรย สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม กาวสูการพัฒนา ที่เปนเลิศรอบดาน Driving Sustainability Through SMART

Transcript of วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน...

Page 1: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

ปที่ 9 เลมที่ 3ประจำเดือน เมษายน - มิถุนายน 2557

สัมภาษณพ�เศษ ดร.ว�ฑูรย สิมะโชคดี

ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

กาวสูการพัฒนาที่เปนเลิศรอบดาน

Driving Sustainability

Through SMART

Page 2: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

Contents

05 On the Cover กนอ.ก้าวสู ่ความพร้อมรอบด้าน บนฐาน“นวัตกรรม” I-EA-T’s Innovations in Natural Disaster Preparedness

12 Green Industry เศรษฐกิจพอเพียงในภาคการผลิต S u f f i c i e n c y E c o n om y i n Manufacturing SectorO

n t

he

Co

ver

FEATURES

Tec

hNIC

AL

Eco Interview“ อุตสาหกรรมสี เ ขี ยว . . . จ ากพลวั ตสู ่ วิ ถีปฏิบัติ” ในทรรศนะของ ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดีปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม“GreenIndustry.. .FromTheoryto Pract ice”InterviewwithIndustry M in i s t ry ’ s Pe rmanen t Sec re ta ry Dr.WitoonSimachokedee

Eco Aseanความยั่งยืนด้านพลังงานอาเซียน:โอกาสพลังงานทดแทนของไทยเสริมความมั่นคงลดโลกร้อนASEAN’sEne rgySus ta inab i l i t y : Thailand’sAlternativeEnergytoBoostEnergySecurity&ReduceGlobalWarming

08

26

คณะที่ปรึกษา

นายวีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู้ว่าการกนอ.นางศรีวณิก หัสดินรองผู้ว่าการ(สายงานบริหาร)รักษาการรองผู ้ว ่ าการ(สายงานยุทธศาสตร์และการเงิน)นายจักรรัฐ เลิศโอภาส รองผู้ว่าการ(สายงานปฏิบัติการ2)นายพีระวัฒน์ รุ ่งเรืองศรี รองผูว่้าการ(สายงานท่าเรอือตุสาหกรรม)รักษาการรองผู ้ว ่ าการ(สายงาน ปฏิบัติการ1)

นางสาวสมจินต์ พิลึก รองผู้ว่าการ(สายงานบริการและสิ่งแวดล้อม)

บรรณาธิการ

นางสุวัฒนา กมลวัทนนิศาผู้ช่วยผู้ว่าการ

ผู้ช่วยบรรณาธิการ

นางสุพรศรี สะสมบุญ ผู้อ�านวยการฝ่ายบริหารนางสาวปคุณดา ชั้นบุญ ผู้อ�านวยการกองประชาสัมพันธ์

กองบรรณาธิการ

นางสุชาดาไกรนุกูลนางสริสาสุวรรณกูฏนางสาวจันทร์ธรศรีธัญรัตน์นายพิชัยจันทร์แสงศรีนายวันฉัตรกรรณสมบัตินายโฆษิตหาญพลนางสาวรักชรินทองหงส์นางสาวสิริวรรณวัฒนิตานนท์

ภาพประกอบ

นายสรรค์ชัยกีรติสิรสิทธ์ินายวรพลวรบุตร

Page 3: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

16 Eco Focus มาบตาพุด-คิตะคิวชูความร่วมมือ สู ่การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรม เชิงนิเวศแห่งอาเซียน MapTaPhut-Kitakyushu: CooperationfortheASEAN’s EcoTownDevelopment

Eco Cool ปลูกต้นไม้(พันธุ ์นี้)ดีเวอร์ ลดมลพิษคืนอากาศสดชื่นให้โลกเรา Growing(These)PlantsisCool!!! GreenerWorld,LessPollution, BetterAirQuality

22 Econovation ตามไปดธูรุกจิ“ก�าจดัสารพษิในดนิ” สุดล�้าที่ญี่ปุ ่น Haveyouheardaboutthe bri l l iant “SoilRemediation” business in Japan?

30ฝ่ายสมาชิก

นางสาวณันวดีทับมานางธัญทิพย์เลิศสุริยตระกูลนางปริษาคุณาทรฐิติ

ผลิตโดย:บริษัทเปรียววิชญ์จ�ากัดสนใจขอรับเป็นสมาชิกวารสารกนอ.หรือให้ข้อเสนอแนะได้ที่:กองประชาสัมพันธ์การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยโทรศัพท์0-2253-0561 โทรสาร 0-2253-2965

“คิตะคิวชูอีโคทาวน์ เป ็นตัวอย ่างอันดีที่ท�าให ้เห็นว ่า ชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรมสามารถอยู ่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืนเพียงใด ซ่ึงจังหวัดระยองเองก็เปรียบเสมือนบ้านของโรงงานอุตสาหกรรมจ�านวนมากที่ตั้งอยู ่ในโครงการพัฒนาชายฝั่งทะเลภาคตะวันออกผมเชื่อว่าหากการพัฒนาเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมของคิตะคิวชูสามารถท�าให้โลกน้ีน่าอยู่มากข้ึนได้ผลลัพธ์เช่นนี้ก็จะเกิดขึ้นกับประเทศไทยเป็นล�าดับต่อไปได้เช่นกัน”

Mr.JunichiSONO,DeputyDirector,KitakyushuAsianCenter

forLowCarbonSociety

Eco Quote

Page 4: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

The changingcircumstances,

political,socialoreconomic,andeven

climatechangehave“signaled”thatwe

need to “adjust” and even “change” our

att i tudes,ourperspect ivesandour

approachinaddressingproblems.We

arealsoinfactrequiredto “improve”

whatsoeverflawswehavetoensurethat

wecanheadforthe“better things or

greater sustainability”inthefuture.

Throughoutthepast41years ,

t h e I ndus t r i a l E s t a t e Au t ho r i t y o f

Thailand(I-EA-T)hasplayedakeyrole

inThailand’sindustrialdevelopment.

Inaddit ion,I-EA-Thasensuredthe

preparedness of industrial estates and

i ndus t r i a l f ac to r i es to dea l w i t h any

situationthatmayarisethroughemergency-

responseplans,inspect ionsofsafety

systems,alarmsystem,logisticssystem,

communicationssystem,evacuationplans,

anddeclarationsofchemicalsusedineach

factory.Thelistofchemicalshasbeenshared

withrelevantauthorities,whichcompilea

databasefortheefficientsupervisionof

entrepreneurs at all industrial estates across

thecountry.Throughtheirsupervisoryroles,

entrepreneurs are instructed to increase

safetypract iceatthe i rfac i l i t ies .The

additional caution serves to boost safety in

livesandpropertiesontheoverall.Inevents

ofanemergency,i twi l lalsominimize

จากสถานการณ์ความเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศที่ทุกภาคส่วนต่างเผชิญร่วมกันในขณะน้ีไม่ว่าจะเป็นความเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศสังคมเศรษฐกิจรวมไปถึงการเมืองมีสิ่งหนึ่งที่คล้ายคลึงกันน่ันคือทุกๆการเปลี่ยนแปลงได้ ส่งสัญญาณเพื่อให้เรา“ปรับตัว”ไปจนถึง“ปรับเปลี่ยน”วิธีการรับมือกับปัญหาปรับทัศนคติหรือมุมมองในการท�างานตลอดจน“ปรับปรุง” แก้ไขสิ่งที่เป็นข้อบกพร่องในด้านต่างๆเพื่อที่จะมุ ่งไปสู ่สิ่งที่ดีกว่า หรือยั่งยืนกว่าในอนาคต

ตลอด41ปีทีผ่่านมาการนคิมอตุสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)เป็นหน่วยงานที่มีบทบาทส�าคัญต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมของประเทศและได ้ท�าหน ้าที่หลักในการจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมพร ้อมระบบสาธารณูปโภคสาธารณูปการ เพื่อรองรับการเจริญเติบโตในภาคอุตสาหกรรมตลอดจนการเตรียมความพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่างๆทั้งในส่วนของนิคมอุตสาหกรรมและโรงงานอุตสาหกรรมให้ความส�าคัญในการจัดท�าแผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตรวจสอบระบบความปลอดภัยต่างๆระบบสัญญาณเตือนภัยระบบขนส่งและเส้นทางเดินรถ(Logistics)การเตรียมความพร้อมทั้งด้านการสื่อสารการอพยพคนงานตลอดจนจัดท�าบัญชีรายชื่อสารเคมีต่างๆที่ใช้ภายในโรงงาน ให้แก่หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นฐานข้อมูลก�าชับผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมทั่วประเทศเพิ่มความระมัดระวังในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินอันจะมีส่วน ช่วยลดการสญูเสยีหากเกดิเหตฉุกุเฉนิพร้อมทัง้บรูณาการความร่วมมอืจากหน่วยงานเครือข่ายต่างๆ ท้ังภาครัฐและเอกชนเพื่อเพิ่มศักยภาพและ

Message from the Governor

losses.Inth isregard,theI-EA-T

has i n t eg ra tede f f o r t s f r ombo th

government agencies and pr ivate

entities for increased capabilities in

respondingtoemergencies.“I-EA-T

Operation Center”areestablishedto

efficiently manage industrial estates and

developshareddatabaseforsupervision

andenvironmental-qualitymonitoring.

Nomatterwhatchangesmaycome,

theI-EA-Tisreadytoadjustitselfin

termsofhumanresourcesandpolicies

accordingly.Suchreadinessreflects

thattheI-EA-Tiswellonthepathof

excellenceforthegoalofushering

Thailandintothetruesustainability.

Driving Sustainabilitythrough SMART

ขีดความสามารถในการบริหารจัดการร่วมกันได้อย่างทันท่วงทีโดยท้ังน้ีกนอ.ได้จัดตั้ง“ศูนย์ปฏิบัติการ กนอ.”ขึ้นเพื่อให้การบริหารจัดการนิคมอุตสาหกรรมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและบูรณาการข้อมูลร่วมกัน ทั้งในด้านการก�ากับดูแลและเฝ้าระวังคุณภาพสิ่งแวดล้อมรวมท้ังเป็นศูนย์กลางบัญชาการกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินและประสานให้ความช่วยเหลือเพื่อสร้างความเชื่อมั่นให้กับประชาชนและนักลงทุน

ภายใต้สถานการณ์หรือความเปลี่ยนแปลงท่ีเกิดขึ้นกนอ.มีความพร้อมท่ีจะปรับตัวท้ังในแง่บุคลากรและการด�าเนินนโยบายขององค์กรเพื่อให้สอดรับกับความเปลี่ยนแปลงน้ันๆและน่ีคือภาพสะท้อนของ การก้าวสู ่ความเป็นเลิศรอบด้าน เพื่อสร้างสรรค์การพัฒนาประเทศ ให้ก้าวสู่ความยั่งยืนอย่างแท้จริง

Driving Sustainability through SMART

04 ECo challenge

ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม

ผู ้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย

Dr. Verapong Chaiperm

I-EA-T Governor

Page 5: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

05 ECo challenge

ช ่วง เวลาหลายปีมาน้ี เกิดความเปลี่ยนแปลงในระบบสิ่งแวดล้อมโลกระบบเศรษฐกิจตลอดจนระบบการเมืองในภูมิภาคอย่างมากมายซึ่งส ่งผลต่อประเทศไทยในหลากหลายมิติ กล ่าวคือ ก ่อให ้ เกิดการเปลี่ยนแปลงทั้งทางกายภาพวิถีชีวิตการท�าธุรกิจการประกอบอาชีพความเป็นอยู่ฯลฯรวมถึงก่อให้เกดิการปรับตวัต่อผลกระทบด้านลบ ที่เด่นชัดคือเรื่องของ“ภัยธรรมชาติ”ท�าให้เกิดความตระหนักแก่ทุกภาคส่วนที่ต ้องหันมา ให้ความส�าคัญกับการ“เตรียมความพร้อม”เพื่ อ รั บมื อทุ กๆ คว ามท ้ า ท ายจ ากก า รเปลี่ยนแปลงที่ถาโถมเข้ามาอย่างไม่หยุดยั้ง

ป ัจ จุบัน การนิคมอุตสาหกรรมแห ่งประเทศไทยหรือกนอ.มีนิคมอุตสาหกรรมและโรงงานอุตสาหกรรมที่ต้องก�ากับดูแลเป็นจ�านวนมากมีชุมชนโดยรอบนิคมอุตสาหกรรมเปรียบเสมือนเพื่อนบ้านที่ต้องดูแลและสร้างความเชื่อมั่นต่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินการเกิดเหตุ “ไม่คาดฝัน” ใดๆ ท้ังอุบัติเหตุและอุบัติภัยจึงเป็นสิ่งที่ กนอ.

on the cover

ต้องเตรียมความพร้อมสูงสุด เพื่อรับมือและลดผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต ่อทุกภาคส่วน ด้วยเหตุนี้การท�างานบนฐานข้อมูลท่ีทันสมัยรวดเรว็มคีวามครบถ้วนครอบคลมุมีประสทิธิภาพสูงสุดจึงเป็นสิ่งท่ีส�าคัญอย่างยิ่งยวด เพื่อให้การวิเคราะห์สถานการณ์มีความแม่นย�า น�าไปสู่การด�าเนินการแก้ไขอย่างทันท่วงที

ศูนย์ปฏิบัติการ กนอ. อีกหนึ่งความพร้อม สู่ความเป็นเลิศ

กนอ.ได้จัดตั้ง“ศูนย์ปฏิบัติการ กนอ. (I-EA-T Operation Center) หรือ EMC2@ I-EA-T”ขึ้นณส�านักงานใหญ่เพื่อท�าหน้าท่ีเป ็น ศูนย ์ รวมข ้อมูลการก� ากับดู แลนิคมอุตสาหกรรมและโรงงานอุตสาหกรรมในนิคมฯเพื่อให้การบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อมและความปลอดภัย เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและมีการบูรณาการข้อมูลร่วมกันและเป็นศูนย์กลางบัญชาการกรณีเกิดเหตุฉุกเฉินหรือภัยพิบัติรวมถึงการประสานให้ความช่วยเหลือและข้อเสนอแนะกับนิคมอุตสาหกรรมต่างๆ

โดยศูนย์ปฏิบัติการกนอ.ตั้งอยู ่ที่ชั้น5อาคารกนอ.ส�านักงานใหญ่ประกอบด้วย 1)ห้องควบคมุ(ControlRoom)เป็นห้องควบคมุระบบการสื่อสารและข้อมูลต่างๆ2)ห้องประชุมบัญชาการ ส�าหรับใช ้เป ็นห ้องประชุมและ ห้องบัญชาการในกรณีฉุกเฉิน รองรับผู ้เข ้าร่วมประชุมได้ประมาณ30คน3)ห้องประชุมย่อยส�าหรับเจ้าหน้าที่ระดับปฏิบัติการเพ่ือสนับสนุนข้อมูลให้แก่ผู้บริหารรองรับได้15คน 4)ห้องผู้อ�านวยการศูนย์ปฏิบัติการฯส�าหรับเป็นห้องท�างานของผู้อ�านวยการศูนย์ฯหรือ ผู้บริหารศูนย์ฯและ5)พื้นท่ีส่วนพักผ่อนส�าหรับเจ้าหน้าท่ีท่ีปฏิบัติงานภายในศูนย์

กนอ. ก้าวสู่ความพร้อมรอบด้านบนฐาน “นวัตกรรม”

นอกจากการจัดเตรียมความพร้อมด้านสถานท่ีแล้วอีกสิ่งหนึ่งท่ีเป็นหัวใจของศูนย์ปฏิบัติการแห่งนี้ก็คือ“เทคโนโลยีอันทันสมัย” โดยมีการติดตั้งระบบต่างๆ เพ่ือรองรับการท�างานอย่างรวดเร็วฉับไวได้มาตรฐานสากลอาทิระบบแสดงผลห้องควบคุมระบบประชุมทางไกล ระหว ่ างศูนย ์ปฏิบั ติการฯ และ ศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อม

Page 6: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

06 ECo challenge

on the cover

และความปลอดภยัของส�านกังานนคิมอตุสาหกรรมระบบเครือข่ายและการเชื่อมโยงเครือข ่ายระบบรักษาความปลอดภัยเครือข ่าย(FireWall) ระบบโทรศัพท์แบบไอพี ระบบเสียงส�าหรบัห้องประชมุระบบคอมพวิเตอร์อนัทนัสมยั ระบบรับสัญญาณทีวีดาวเทียมระบบวิทยุสั่งการ ระบบส�ารองไฟฟ้าและระบบป้องกันไฟฟ้า ส่วนเกินระบบกล้องวงจรปิดระบบควบคุมการเข้า-ออกระบบสนับสนุนการตัดสินใจเป็นต้น

เชื่อมโยงข้อมูลรอบด้าน ปฏิวัติระบบบริหารจัดการด้านสิ่งแวดล้อม

ในแง่การด�าเนินงานของศูนย์ปฏิบัติการกนอ. จะมีการเ ช่ือมโยงข ้อมูลจากนิคมอุตสาหกรรมเข้าสู ่ศูนย์ปฏิบัติการฯโดยผ่านศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่เป็นHubซึ่งกระจายอยู ่ในภูมิภาคจ�านวน 7แห่งดังนี้

โดยในระยะแรกของการจัดตั้ งศูนย ์ ปฏบิตักิารกนอ.จะมกีารเชือ่มโยงข้อมลูทัง้ระบบการตรวจวัดคุณภาพอากาศในบรรยากาศ(AQMS) ระบบประชุมทางไกลผ่านVDOConferenceและโทรศัพท์แบบไอพี ระบบตรวจสอบคุณภาพอากาศจากปล ่องแบบอัตโนมัติต ่อเนื่อง(CEMs) ระบบตรวจวัดคุณภาพน�้า(WQMS) ระบบกล้องวงจรปิด(CCTV)ซึง่ในอนาคตจะมกีารพฒันาและเชือ่มโยงข ้อมูลที่จ� า เป ็นต ่อการบริหารจัดการด ้าน สิ่งแวดล้อมและความปลอดภัยในส่วนต่างๆ

พื้นที่ นิคมอุตสาหกรรมท่ีเป็น Hub

พื้นที่ภาคตะวันออก1 นิคมฯมาบตาพุดจังหวัดระยอง

พื้นที่ภาคตะวันออก2 นิคมฯอีสเทิร์นซีบอร์ด(ระยอง)จังหวัดระยอง

พื้นที่ภาคเหนือ นิคมฯภาคเหนือจังหวัดล�าพูน

พื้นที่ภาคกลาง นิคมฯบางปะอินจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

พื้นที่กรุงเทพฯและปริมณฑล นิคมฯลาดกระบังกรุงเทพมหานคร

พื้นที่ภาคใต้ นิคมฯภาคใต้จังหวัดสงขลา

พื้นที่ภาคตะวันตก นิคมฯสมุทรสาครจังหวัดสมุทรสาคร

เพิ่มมากขึ้นเพื่อสามารถวิเคราะห์สถานการณ์และด�าเนินการแก้ ไขได้อย่างทันท่วงทีและ มีประสิทธิภาพสูงสุด

นับเป็นอีกหนึ่งก้าวส�าคัญของการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยในการบูรณาการระบบบริหารจัดการด ้านสิ่ งแวดล ้อมและ ความปลอดภยัโดยน�านวตักรรมและเทคโนโลยีอันทันสมัยมาประยุกต์ ใช ้ เพื่อสร ้างความ เชื่อมั่นพร้อมส่งมอบบริการท่ีเป็นเลิศให้แก่ผู ้มีส่วนได้ส่วนเสียทุกภาคส่วน

Forthepastdecadestherehavebeenchangesinglobaleconomy,politics,andenvironment.InThailand,tremendouschangescanbeseeninpeople’swaysoflife,waysofearningaliving,andwaysofdoingbusinesses.Among negative and most obvious impactsarefromnaturaldisasters. Topreventorcopewiththeadverseevents,allpartiesneedtoaddressallchallengesindisastersituations

Withalargenumberofindustriales ta tes and fac to r i es unde r i t s s u p e r v i s i o n , a n d s u r r o u n d i n g communitieswhoneedsecurityandsafetyinlivesandassets,theI-EA-Thastoalwaysgetsettodealwith adve rseeven ts tha t maya r i se . Toachievethisgoal,anupdated da t abase and a f a s t , e f f e c t i v e emergency operat ion system are needed to ensure accurate analysis forimmediateresponse.

I-EA-T Operation Center – For Excellence in Emergency Preparedness

The I-EA-T Operation Center, or EMC2@ I-EA-T,isestablishedonthe5thFlooroftheI-EA-Theadquarters to act as a database cente r fo r environment,emergencymanagementanddisasterpreparednessaswellasa coordinator to provide assistances andrecommendat ionstoa l l the industrialestates.

TheEMC2@ I-EA-T comprises 1)ControlRoom,takingcontrolofall c o m m u n i c a t i o n s y s t e m s a n d information,2)CommandandMeetingRoom,whichcanaccommodateamaximumof30persons,3)Asmallmeeting room for operation officers to provideinformationtoexecutives,whichcanaccommodateupto15persons,4)Director’sOperationRoom,and5)CommonRoomforoperationofficers.

Page 7: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

07 ECo challenge

Connecting All Information, Revolutionizing Environmental Management

Atoperationallevel,theI-EA-T linksinformationofallindustrialestatesviathefollowingsevenEnvironmentalMonitoring&ControlCentersorhubs,scatteringindifferentareas:

Duringtheinitialstage,thereisdataintegrationoftheAirQualityManagementSystem(AQMS),VDOConferenceSystem,IPPhoneSystem,ContinuousEmissionMon i to r i ngSys tem(CEMs) , Wate r

Areas Industrial Estate Hubs

EasternArea1 MapTaPhutIndustrialEstate,RayongProvince

Eastern Area 2 EasternSeaboardIndustrialEstate,RayongProvince

NorthernArea NorthernRegionIndustrialEstate,LamphunProvince

Central Area BangPa-InIndustrialEstate,AyutthayaProvince

Bangkokandperipheries LadkrabangIndustrialEstate,Bangkok

SouthernArea SouthernRegionIndustrialEstate,SongkhlaProvince

WesternArea SamutSakhornIndustrialEstate,SamutSakhornProvince

Qual i tyMonitor ingSystem(WQMS), andclosedcircuittelevisions.Inthe future,integrationwillincludemoredatanecessary in environment and safety management for maximum efficiency in analyses and immediate response to adverseevents.

ThisisanimportantstepforwardoftheI-EA-Tinenvironmentandsafetymanagement.Innovationsandadvancetechnologiesareusedtoprovideexcellentservicesto,andbuildupconfidencein,allinvolvedparties.

I-EA-T’s Innovationsin Natural Disaster Preparedness

Apart from readiness in terms of physicalsite, advanced technology isanothercrucialpartofthecenter. Forfastoperationandquickresponse toemergencies,variousinternationalstandardsystemsareinstalled.Thesesystemsincludemonitor ingsystem, teleconferencingsystem,theEnvironmental Monitoring&ControlCenters(EMCCs),networkingsystem,firewall,IPphonesystemstocentralizemanagementofcommunications connecting multiple sites,latestcomputersystem,satellite TVsystems,rad iocont ro l sys tem, reservepowersystemandsafetysystem,entrance-exit control & closed-circuit televisionsystem,anddecisionsupportsystem.

Page 8: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

08 ECo challenge

ECO Interview

ความล้มเหลวของการพัฒนาแบบดัง้เดมิท�าให้โลกแสวงหาแนวคดิทีเ่ป็นกลางทีส่ดุมาเยียวยากระทั่งได้บทสรุปที่ว่าโลกควรปรับเปลี่ยนแนวทางการพัฒนาเสียใหม่ให้เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมและสอดคล้องกับข้อจ�ากัดของธรรมชาติมากขึ้นน�ามาสู่แนวทาง“การพัฒนาที่ยั่งยืน”ซึ่งแทรกซึมเข้าไปในทุกส่วนของสังคมโลกปัจจุบัน

จากจุดเ ร่ิมต ้นเดียวกันนั้น เอง ภาคอตุสาหกรรมของไทยกไ็ด้ก้าวเดนิไปบนเส้นทางสู่ความยั่งยืนทีละก้าวๆกระทั่งได้พัฒนาแนวคิดที่มี“นิยามเฉพาะตัว”อีกทั้งยังมี“วิธีการ”ที่แตกต่างเพือ่สร้างความยัง่ยนืบนพืน้ฐานเศรษฐกจิสงัคมชุมชนและสิง่แวดล้อมแบบไทยๆแนวคดิดังกล่าวถูกน�าเสนอภายใต้ช่ือ“อุตสาหกรรม สีเขียว” โดยมีกระทรวงอุตสาหกรรมเป็น หน่วยงานหลักในการขับเคล่ือน

“อุตสาหกรรมสีเขียว...จากพลวัตสู่วิถีปฏิบัติ”

และผูท้ีม่ส่ีวนส�าคญัอย่างยิง่ในการผลกัดนั“อุตสาหกรรมสีเขียว”ให้กลายเป็นวาระระดับประเทศจะมาเปิดเผยที่มาที่ไปจุดเริ่มต้นของแนวคิดตลอดจน“หัวใจส�าคัญ”ที่ท�าให้ค�าค�าน้ีไม่ได้เป็นเพียงแนวคิดสวยหรูแต่จับต้องได้จริงท่านผู้นี้คือดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

ท่านปลัดฯ มีความเห็นอย่างไรต่อกระแสของการพัฒนาอย่างย่ังยืน ในแวดวงอุตสาหกรรมโลก และ กระแสดังกล่าวมีผลกระทบต่อ ภาคอุตสาหกรรมไทยมากน้อยแค่ไหน และอย่างไร?

“กระแสของแนวคิดในการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีความส�าคัญในทุกภาคส่วนไม่เฉพาะแวดวงอุตสาหกรรมโลกเท่านั้นซึ่งถ้าเรามาวิเคราะห์กันให้ดีจะพบว่า ในค�าว่า“ยั่งยืน” ประกอบด้วย2แนวคดิหลกัๆคอื1)มองให้ไกลไกลไปจนถึงรุ่นลูกรุ่นหลานและคนรุ่นต่อๆไป

ในอนาคต2)มองอย่างรอบคอบและครบถ้วน น่ันคือมองท้ังในมิติของเศรษฐกิจสังคมและ สิ่งแวดล้อมส�าหรับประเทศไทยกระแสการพัฒนาอย่างยั่งยืนมีผลกระทบต่อภาคอุตสาหกรรมไทยเป็นอย่างมากแต่เป็นผลกระทบเชิงสร้างสรรค์เพราะท�าให้เกิดการ“ปรับตัว”ซึ่งในท้ายที่สุดแล้วผู้ประกอบการที่ปรับตัวเพื่อให้ธุรกิจเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและมีความรับผิดชอบต่อสังคมมากขึ้น จะสามารถลดต้นทุนในการผลิตลงได้จึงเป็นการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันได้อีกทางหนึ่งและที่ส�าคัญคือการอยู่ร่วมกับชุมชนได้อย่างปกติสุข”

แรงบันดาลใจเบื้องหลัง “อุตสาหกรรมสีเขียว” ที่ริเริ่มโดยท่านปลัดฯ มีที่มาอย่างไร?

“จุดเริ่มต้นจริงๆของแนวคิดนี้เกิดข้ึนตอนท่ีผมเดินทางไปร่วมการประชุมปฏิญญามะนิลาว่าด้วยอุตสาหกรรมสีเขียวในเอเชียที่ประเทศฟิลิปปินส์ปี2552ซึ่งได้มีการกล่าวถึงนิยามของ

ในทรรศนะของ ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมMr. Witoon Simachokedee, Ph.DPermanent Secretary, Ministry of Industry

Special

Page 9: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

09 ECo challenge

Followingthefailureofconventionaleconomic-orienteddevelopmentoverthepastdecades,anewapproachtodevelopmenthasemergedwithanaimtoputmorefocusonenvironmentalconservationandbalancedecologicalsystem.The “sustainable development”trendhasincreasinglygainedmomentum globally and been integrated into all emerging economies to ensure security of nationalresourcesandbetterqualityoflifeforall.

Thai landhasalsogradual lyadoptedthissustainabledevelopment concept.Withitsuniquedefinition,andThai-styledapproachofsustainable development,Thailandhasthe“Green Industry”project,spearheadedbytheIndustryMinistry.

Amongthekeyfigures,whohavepushedforwardtheGreenIndustryprojectas a national agenda is Permanent Secretary of Industry Ministry Dr. Witoon Simachokedee.

What is your opinion on the global trend of sustainable development? And, what are the impacts on Thai industrial sector?

“Theglobalsustainabledevelopmenttrendhastremendousimpactsnot onlyonindustrialsector.Theword“sustainable”impliestwomeanings:1)tolookintothefutureforthebenefitsofmanygenerationstocome,and2)tolook holisticallyintermsofeconomy,societyandenvironment.Thistrendhasbroughtabout alertness among business operators to be more environmentally friendly and sociallyresponsible.Thisalsohelpsreduceproductioncost,whileenhancingcompetiveness.”

What are your inspirations behind the “Green Industry” project? “MyinspirationcomesfromtheManilaDeclarationonGreenIndustryinAsia

IattendedinthePhilippinesin2009.TherearemanydefinitionsofGreenIndustrybuttheonemostattractivetomeisdefinedbytheUnitedNationsIndustrial DevelopmentOrganization(UNIDO):“Green Industry for low carbon society”.However,forthegeneralpublic,thisisstillhardtodigest.Myfirstjob,therefore,ishowtoputtheconceptintopractice.

Atoperationallevel,eachdepartmentinsidetheIndustryMinistryhas beendoingitsenvironmentalactivities,albeitseparately.Mysecondjobis howtointegratetheirenvironmentalactivitiesunderthesoleumbrellaofthe Green Industryproject.

“Green Industry...From Theory to Practice”

ค�าว่า‘อุตสาหกรรมสีเขียว’ (GreenIndustry)ในความหมายที่กว้างและเป็นนามธรรมแต่ที่สะดุดใจผมที่สุดคืออุตสาหกรรมสีเขียวต้องอยู่ในสงัคม Low Carbon Societyแต่เมือ่พจิารณาค�าจ�ากัดความของUNIDOในแนวทางดังกล่าวกย็งัค่อนข้างเข้าใจยากโดยเฉพาะส�าหรบัประชาชนทั่วไปโจทย์ข้อแรกในตอนนั้นจึงเป็นการหา ค�าตอบว่าท�าอย่างไรจึงจะน�านิยาม น�าความรู้ ไปสู ่การปฏิบัติจริงได้ โดยส่วนตัวผมเชื่อว่า ทุกอย่างควรเป็นแนวคิดที่เมื่อน�าไปปฏิบัติแล้วเห็นมรรคผลจริงๆ ไม่ใช่เป็นเพียงความคิด ในภาพกว้างๆ เหมือนถ้าเราจะตีความตามกฎหมายนักกฎหมายก็ควรจะต้องตีความไปสู่สิง่ทีเ่ราเข้าใจได้ปฏบิตัไิด้ไม่ใช่ตคีวามแล้วต้องตีความต่อไปอีกเรื่อยๆ”

“ในแง่ของการด�าเนนิงานผมเหน็ว่าภายในกระทรวงอุตสาหกรรมแบ่งออกเป็นกรมต่างๆมากมายแต่ละหน่วยงานก็มีกิจกรรมด้าน สิ่งแวดล้อมเป็นของตัวเองท�าอย่างไรจึงจะ บรูณาการงานด้านสิง่แวดล้อมของทกุหน่วยงานในกระทรวงอุตสาหกรรมให้เป็นหน่ึงเดียวโดยมีค�ากลางๆว่า‘อุตสาหกรรมสีเขียว’เป็นหลักในการเชื่อมโยงนี่เป็นโจทย์ข้อที่สอง”

“อีกเหตุการณ์ที่เป็นแรงบันดาลใจของผมต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมให้เป ็นมิตรกับ สิ่งแวดล้อมและชุมชนเรื่องนี้เกิดขึ้นตั้งแต่สมัยที่ผมยังหนุ่มตอนนั้นผมเดินทางไปตรวจโรงงานทางภาคใต้โรงงานหนึง่โรงงานแห่งนีถู้กร้องเรยีนและมีปัญหากับชาวบ้านในชุมชนเป็นประจ�า ชนิดอยูร่่วมกนัไม่ได้เลยท�าให้ฝ่ายราชการส่วนกลางต้องเข้าไปประสานและลงไปแก้ปัญหาตลอด แต่พอกลับมาก็มีปัญหาอีกต่อมาเมื่อผมเป็น รองปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมมีโอกาสได้ไปมอบรางวัลธรรมาภิบาลสิ่งแวดล้อมปรากฏว่าเจ้าของโรงงานรายนี้ที่เคยมีปัญหากับชุมชน

Interview with Industry Ministry’s Permanent Secretary Dr. Witoon Simachokedee

Page 10: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

10 ECo challenge

ขึ้นมารับรางวลัท�าใหผ้มแปลกใจมากและอยากรู้ว่าท�าไมเขาจึงเปลี่ยนแนวคิดซ่ึงพอได้ซักถามก็ได้รับค�าตอบว่าเป็นเพราะเขาไม่อยากอยูอ่ย่างนัน้อกีต่อไปไม่อยากเอาเวลาไปทะเลาะและมคีวามขดัแย้งกบัชาวบ้านอกีจงึหนัมาลงทนุแก้ไขปัญหาเพื่อท�าให้กิจการเป็นที่ยอมรับดีกว่า ซ่ึงค�าว่า‘เป็นที่ยอมรับ’นี้สอดคล้องกับสิ่งที่ผมพบในเมืองลูเวอร์คูเซ่นประเทศเยอรมนีที่ตั้งโรงงานของนิคมฯไบเออร์ เอจี(BayerAG)บริษัท ยกัษ์ใหญ่ในธรุกจิอตุสาหกรรมเคมแีละยาทีน่ัน่มแีต่โรงงานทีเ่ตม็ไปด้วยสารเคมตีัง้อยูฟ่ากหนึง่ของถนนขณะที่อีกฟากหนึ่งเป็นอพาร์ทเม้นท์พกัอาศยัเป็นชุมชนขนาดใหญ่มเีพยีงถนนก้ันกลาง ซึง่ผูบ้รหิารของเขาบอกว่าการอยูร่่วมกนัระหว่างโรงงานและชุมชนได้เพราะการพึ่งพาอาศัยกัน เขาบอกว่า ‘We Depend on each other’ ถ้าไม่มีไบเออร์ชุมชนก็อยู่ไม่ได้ถ้าไม่มีชุมชน ไบเออร์ก็อยู่ไม่ได้เช่นกัน”

“ทั้งหมดที่เล่ามาคือโจทย์และกรณีศึกษาท่ีท�าให้ผมต้องการผลกัดนั‘อตุสาหกรรมสเีขยีว’ ให้เกิดขึ้นในบ้านเราและอุตสาหกรรมสีเขียวที่ผมอยากเห็นต้องเป็นโครงการที่สามารถดึงโรงงานและผู้เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมมากๆด้วยความสมคัรใจ(ไม่ใช่ถกูบงัคบัเข้าร่วม)ไม่ใช่ต้องท�าได้จงึวางกรอบแนวความคดิและความต้องการให้ทีมงานสนับสนุนของผมช่วยกันสานต่อ จนสรปุได้แบบขัน้บนัไดเริม่ต้นจากง่ายไปหายากเพราะผมอยากให้ผู้ประกอบการเกิดความรู้สึกอยากเข้ามาร่วมแก้ปัญหาสังคมสิ่งแวดล้อม ด้วยตวัเองก่อนแล้วค่อยท้าทายด้วยการยอมรบั จากชมุชนซึง่เป็นขัน้สดุท้ายหลงัจากนัน้ผมจงึได้น�าแนวคิดดังกล่าวมาพัฒนาต่อยอดร่วมกับทุกหน่วยงานในกระทรวงอตุสาหกรรมจนสามารถจดัท�า โครงการอตุสาหกรรมสเีขยีวขึน้ในปี2554และสร้างผลงานจนเป็นที่ยอมรับอย่างกว้าง ในปัจจุบัน”

หลักการและค�านิยามของอุตสาหกรรมสีเขียวฉบับไทย แตกต่างจากสากลพอสมควร

“กว่าจะออกมาเป็นค�านยิามหรอืความหมายของอุตสาหกรรมสีเขียวแบบไทยแท้บน2แนวความคิดหลักคืออุตสาหกรรมที่ยึดมั่นใน การประกอบกิจการที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และอุตสาหกรรมที่ประกอบกิจการด ้วยความ รับผิดชอบต่อสังคมทั้งภายในและภายนอก

องค์กรตลอดห่วงโซ่อุปทานเพื่อการพัฒนา อย่างย่ังยืนค�านิยามนี้ผมแก้ไข20กว่ารอบและไม่ได้สนใจว่าอุตสาหกรรมสเีขียวท่ีเป็นสากลเขาตั้งอย่างไรแปลอย่างไรผมเชื่อในปรัชญาตะวันออกเชื่อในการปรับปรุงอย่างต่อเน่ือง ขอแค่นีก่้อนปรบัปรงุกระบวนการผลติปรบัปรงุวิธีคิดปรับปรุงวิธีบริหารจัดการ เพื่อน�ามาสู่ หลักการที่ส� าคัญของอุตสาหกรรมสี เขียว ฉบับไทยแท้ซึ่งตั้งอยู่บน2เสาหลักคือ1) การปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง และ 2) การพัฒนาอย่างยั่งยืน”

แนวทางอุตสาหกรรมสีเขียว กับเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ มีความเชื่อมโยงกันอย่างไร?

“ผมว่าทั้งสองเรื่องต่างก็สอดคล้องกัน มีเป้าหมายเดยีวกนั แม้วธิกีารอาจจะต่างกนั แต่ในแง่ ของเป้าหมายและผลลพัธ์ทีต้่องการคล้ายคลงึกนั คือ มีการให้ชุมชนยอมรับเหมือนกัน ซ่ึงผม เห็นว่า การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย หรอื กนอ. ได้รเิริม่เรือ่งนีอ้ย่างถกูต้องแล้ว เพราะเป็นสิง่ทีม่คีวามส�าคญัต่อภาคอตุสาหกรรมมาก”

สิ่งที่ท่านปลัดฯ มองว่า เป็น “ความท้าทาย” ที่สุด ในการด�าเนินโครงการอุตสาหกรรมสีเขียว

“ความยั่ งยืน นั่นแหละ ผมหมายถึง ความย่ังยนืทีเ่กดิจากการบรหิารจดัการทีถ่กูต้อง

อย่างต่อเนือ่งความต่อเนือ่งจะต้องอยูบ่นพ้ืนฐานของการปรับปรุงอย ่างต ่อเนื่อง นี่คือสิ่งที่ ผมคิดว่าส�าคัญที่สุดส�าหรับการบริหารจัดการ ทุกอย่างเพื่อน�าไปสู ่อุตสาหกรรมสีเขียวและ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ ผู้บริหารระดับสูง จะต้องด�าเนินการอย่างจริงจังไม่ได้ท�าเพราะกระแสล่าสุดกระทรวงอุตสาหกรรมได้จัดงาน International Conferenceอุตสาหกรรม สเีขียวระดบัโลกท่ีกรงุเทพฯปรากฏว่านกัวชิาการจากต่างประเทศท่ึงมากท่ีคนไทยสามารถท�าให้อุตสาหกรรมสีเขียวไปสู ่การปฏิบัติที่เป็นขั้น เป็นตอนได้อย่างเห็นผลชัดเจนและยอมรับว่าวิธีการท่ีเราค่อยๆเดินจากระดับท่ี1ถึง5ซึ่งเป็นสิ่งท่ีเป็นรูปธรรมจับต้องได้ท�าให้ผมภูมิใจมากวันน้ีจึงน่าภาคภูมิใจจริงๆท่ีผู้ประกอบการในภาคอุตสาหกรรม รวมถึงภาคส่วนอื่นๆ ให้ความส�าคัญกับแนวทางอุตสาหกรรมสีเขียวมากขึ้นเรื่อยๆแม้แต่โลโก้ของอุตสาหกรรม สีเขียวก็ปรากฏอยู่บนบรรจุภัณฑ์ของสินค้า นับสิบชนิดในปัจจุบัน”

ท้ายสุดนี้ ท่านปลัดฯ ได้ฝากถึง “กรอบทศันคต”ิ ทีส่�าคญั เพือ่ประสบความส�าเรจ็ในการปฏิบัติ สู่ความเป็นอุตสาหกรรมสีเขียว รวมถึงการท�าสิ่งต่างๆ นั่นคือ การมีจิตวิญญาณแห่งการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะท�าให้เกิด วงจรการพฒันาอย่างยัง่ยนื น�ามาซึง่ความส�าเรจ็ และ “ความสุข” ในสังคมไทยอย่างแท้จริง

อุตสาหกรรมสีเขียวที่ผมอยากเห็น ต้องเป็นโครงการที่สามารถดึงโรงงานและผู้เกี่ยวข้องเข้ามาร่วมมากๆ ด้วยความสมัครใจ (ไม่ใช่ถูกบังคับเข้าร่วม) ไม่ใช่ต้องท�าได้ จึงวางกรอบแนวความคิดและความต้องการให้ทีมงานสนับสนุนของผมช่วยกันสานต่อจนสรุปได้แบบ ข้ันบันได เร่ิมต้นจากง่ายไปหายาก เพราะผมอยากให้ผู้ประกอบการ เกิดความรู้สึกอยากเข้ามาร่วมแก้ปัญหาสังคม สิ่งแวดล้อมด้วยตัวเองก่อน

ECO Interview

Special

Page 11: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

11 ECo challenge

Anotherinspirationisafactorythatwonanenvironmentalgovernanceaward.WhenIwasayoungmanvis i t inga factoryinthesouthernpartofThailand,thefactoryhaddisputeswithsurroundingcommunitiesandtheycouldnotl ive harmoniouslydespiteseveralgovernmental reconciliations.Later,whenIwasIndustryMinistry’sdeputypermanentsecretary, Iwassurprisedtoseethefactory’sownerwinningagoodenvironmentalgovernanceaward.Theownertoldmethathedidnotwanttowastet imequarrel l ingwith communities but instead turned to solve problemstomakehisbusinessaccepted.Theconceptof“beingaccepted”isinlinewiththatofBayerAG,oneoftheworld’sleadingchemica lsandhea l thcare companyinLeverkusen,Germany.Ononesideoftheroadofthecompanyarechemicalsfactorieswhileontheothersidearelargeres ident ia l areas.Oneof i tsexecutivesoncesaidthatthisis possiblethanksto interdependence. ThecommunitiescannotsurvivewithoutBayerAGandviceversa.

“TheaboveareonlysomeinspirationsofmineinpushingforwardtheGreen Industryprojectin2011.Iwouldlove to see people part ic ipat ion inthe project.So,therearestagesofoperations,offering step-by-step guidance to attract businessoperatorstojoinenvironmentalproblem- solving prior to finally gaining acceptance from communities.”

What are the differences between Thailand’s and international Green Industry definitions and principles?

“Imademorethan20amendmentsbeforereachingthefinaldefinitionof the ‘GreenIndustry’ ,whichis ‘ the industry committed to environmentally friendlyproduction,focusingoncontinualimprovement of social responsibi l i ty

What is the most challenging task in implementing the Green Industry project?

“Themostchallengingtaskishowtosustaintheproject.Imeanthecontinuityofmanagement.Theexecutiveteamhastotaketheprojectseriously,notmerelyfol lowingthetrend.Aninternational conferenceonGreenIndustrywasheldbytheIndustryMinistryinBangkok recently,andmanyforeignscholarswereamazedatThailand’sgreenindustryprojectbeingputintopracticestepbystep.ThisisaprideofThaibusiness operatorsinindustrysector.And,moreandmoreoperatorsinothersectors alsofollowsuit.Thesedaysthe“GreenIndustry”logocanbeseenonpackagesofawiderangeofproducts.”

The Industry Ministry’s Permanent Secretary finally stresses that for the Green Industry to be successful we need to be in the spirit of continual improvement in order to achieve sustainable development and “happiness” in the Thai society.

throughoutthedemand-supplychainsinordertoachievesustainabledevelopment’.Ididnotreallycareabouttheinternationaldefinitions.IdobelieveintheEasternph i l osophy . I be l i evein con t i nua l improvement:improvementinproduction,thinking,administrativemanagementandrawmaterials.Thus,Thailand’sGreenIndustryprinciplesbasedontwopillars:1. Sustainable development,whichcan beachievedbybusinessoperators whoareenvironmentallyfriendlyandsociallyresponsible,and2. Continual improvement.”

How is the Green Industry project connected with eco industrial towns?

“Althoughthetwohavedifferent approachesbuttheyareinter-relatedwiththesamegoal.Thatistobeaccepted bycommunit ies.Theecoindustr ia l townsinitiatedbytheIndustrialEstateAuthorityofThailand,areverycrucialfortheindustrysector.IthinktheI-EA-Tisontherighttrack.”

I would love to see people participation

in the project. So, there are stages of operations,

offering step-by-step guidance to attract business

operators to join environmental problem-solving

prior to finally gaining acceptance from communities.

“ติดตามอ่านบทความจากปลายปากกาของดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดีปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมในคอลัมน์GreenIndustryได้ทุกฉบับ”Youcannowreadthe‘GreenIndustry’articleswrittenbyIndustryMinistry’sPermanentSecretary,Dr.WitoonSimachokedee,inEcoChallengeMagazine.

Page 12: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

12 ECo challenge

วัน นี้ กระทรวงอุตสาหกรรมได ้ น้อมน�า “ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาประยุกต์ ใช้ในภาคอุตสาหกรรมการผลิตแล้ว

คนทั่วไปมักจะมีความเข ้าใจว ่าเรื่องเ ศ รษ ฐกิ จ พ อ เ พี ย ง เ ป ็ น เ รื่ อ ง ข อ งภ า คเกษตรกรรม เป็นเรื่องของชนบทและเป็นเรื่องไกลตัวของสังคมเมืองท�าให้การประยุกต์ใช้ ในภาคอุตสาหกรรมไม่เป็นที่แพร่หลายและมีการน�าปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกต์ใช้ด้วยความเข้าใจที่มีความแตกต่างกันซึ่งโดยแท้จริงแล้วปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเป็นท้ังแนวคิดและแนวทางในการด�าเนินชีวิตให้เกิดประโยชน์สุขทั้งต่อบุคคลจนถึงองค์กรในทุกระดับและทุกสาขาความช�านาญ

มาตรฐานแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง ภาคอตุสาหกรรม(มอก.9999)นี้มวีตัถปุระสงค์ให้ภาคอุตสาหกรรมการผลิตน�าไปใช้บนพื้นฐานของ3องค์ประกอบกับ2เงื่อนไขเช่นเดียวกันเพื่อให้องค์กรของตนเองมีการพัฒนาที่สมดุลทั้งด้านเศรษฐกิจสังคมสิ่งแวดล้อมมีความมั่นคงและยั่งยืน

ส�านกังานมาตรฐานผลติภณัฑ์อตุสาหกรรมหรือสมอ.ได้แต่งตั้งคณะกรรมการวิชาการ

คณะที่1045 เรื่องมาตรฐานแนวปฏิบัติตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงขึ้นเพื่อศึกษาและจัดท�ามาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงภาคอุตสาหกรรมโดยมีท่านดร.สุเมธตันติเวชกุลเลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนาให้เกียรติเป็นที่ปรึกษารวมทั้งผู ้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานต่างๆทั้งภาครัฐและภาคเอกชนมาร่วมเป็นกรรมการวิชาการ

มาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมนี้ ได้ก�าหนดให้เป็นมาตรฐานเลขที่มอก.9999ซึ่ง

เป็นเลขมหามงคลเพือ่เป็นการเฉลมิพระเกยีรติพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมาตรฐานนี้ได้ลงประกาศในราชกิจจานุเบกษาลงวันที่4เมษายน2556

หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู ่หัวพิสูจน์กันมาแล้วว่าถ้าด�าเนินตามรอยเบ้ืองพระยุคลบาทจะเกิดการพัฒนาไม่ว่าต่อบุคลากรหรือองค์กรต่างๆอย่างสมดุลม่ันคงยั่งยืนและมีความสุข

เศรษฐกิจพอเพียง

ในภาคการผลิตโดย ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม

GREEn INDUSTRY

ดร.วิฑูรย์ สิมะโชคดี ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมMr. Witoon Simachokedee, Ph.DPermanent Secretary, Ministry of Industry

Page 13: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

Dr. Witoon Simachokedee Permanent Secretary Ministry of Industry

TheMinistryofIndustryhas embracedH is Ma jes ty theK ing ’s “Suf f ic iencyEconomyPh i losophy” andnowintroducedittothecountry’smanufacturingsector.

Mostpeoplewronglybelievethat theSufficiencyEconomyisrelevantto justarurallifeandtheagriculturalsector.Suchm ispe rcep t ionexp la ins why thephilosophyhasnotyetsecureda f irmholdintheindustrialsectorand itsapplications-whenmade-reflectvar iousinterpretat ionsofwhatthe Suff iciencyEconomyis.Infact,the SufficiencyEconomyPhilosophyconstitutesapract ica l gu ide l inev iawhicha l l individualsandorganizations,regardlessoftheirfieldsandexpertise,canadoptforhappinessandbenefits.

TheThaiIndustrialStandardon SufficiencyEconomyintheIndustrialSector(TIS9999)aimstoencourage theindustrialsectortopursuethree factorsandtwoconditionsthatwillguideitonthepathofeconomically,socially,and environmentally balanced development andallowittoenjoysecureandsustainablefuture.

Sufficiency Economyin Manufacturing Sector

TheThaiIndustrialStandardsInstitute(TISI)hassetupthetechnicalpanel No. 1045onSu f f i c iencyEconomy Philosophytostudyandsetupstandardfortheapplicationofthephilosophyinthe industrialsector.ChaipattanaFoundation’ssecretarygeneralSumetTantivejkulhasgraciouslyservedasthepanel’sadvisor.Onthepanelarespecialistsfromvariousagencies,bothfromtheprivateandthegovernmentsectors.

ThestandardpreparedbythepanelisauspiciouslydesignatedastheTIS9999tohonorHisMajesty,whoisalsoknownasKingRamaIX.TheTIS9999was publishedintheRoyalGazetteon4April2013.

Ithasbeenproventhatwhenan individualoranorganizationfollowsin HisMajesty’sfootstepsbyembracing theSufficiencyEconomyPhilosophy,oneenjoysbalanceddevelopment,security,sustainabilityandhappiness.

ในภาคการผลิต

13 ECo challenge

Page 14: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

14 ECo challenge

ในการน�ามาตรฐานแนวทางเศรษฐกิจ พอเพียงภาคอุตสาหกรรมไปปฏิบัติองค์กรควรพิจารณาหลักการของมาตรฐานน้ีซ่ึงจะน�าไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมของบุคลากรและองค์กรอันจะก่อให้เกิดการพัฒนาที่สมดุลมีความมั่นคงเติบโตได้อย่างยั่งยืนและมีความสุข พร้อมรับการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม ทั้งภายในและภายนอกรวมทั้งความไม่แน่นอนต่างๆด้วย

หลักการส�าคัญของมาตรฐานแนวทางประกอบด้วย 4 หลักการส�าคัญ คือ

(1) การมีส่วนร่วมของบุคลากรหลักการคือบุคลากรทุกระดับเป็นหัวใจ

ส�าคัญขององค์กรและการมีส่วนร่วมอย่างเต็มที่ของบุคลากรจะท�าให้สามารถใช้ความรู้ความสามารถเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์แก่องค์กร

องค์กรควร1. ส่งเสริมการมีส่วนร่วมและการสนบัสนนุ

ของบคุลากรในการปรบัปรงุประสทิธผิล และประสิทธิภาพขององค์กร

2.ท� า ให ้มั่ นใจว ่ าบุคลากรมีความรู ้ ความสามารถเพียงพอส�าหรับความ ต้องการทั้งในปัจจุบันและอนาคต

(2) การเคารพต่อผลประโยชน์ของผู ้มีส่วนได้เสีย

หลักการคือองค์กรควรเคารพพิจารณาและตอบสนองต่อผลประโยชน์ของผูมี้ส่วนได้เสีย

องค์กรควร1. ชี้บ่งผู้มีส่วนได้สีย

GREEn INDUSTRY

2. ยอมรบัและเอาใจใส่ในเรือ่งผลประโยชน์ ของผู้มีส่วนได้เสียอย่างเหมาะสมและ เป็นธรรมรวมทั้งสิทธิตามกฎหมาย และตอบสนองต่อข้อกังวลของผู ้มี ส่วนได้เสีย

(3) การบริหารแบบองค์รวมหลักการคือการบริหารแบบองค์รวม

สามารถช่วยในการพัฒนาวิสัยทัศน์ที่ชัดเจนของอนาคตที่ต้องการ

องค์กรควร1. มองอย่างครบวงจรโดยคิดอย่างเป็น

ระบบ ท้ังในเรื่อง การน�าองค ์กร การวางแผนการมุง่เน้นลกูค้าบคุลากร สารสนเทศกระบวนการและผลลัพธ ์ ทางธุรกิจ

2. ค�านึงถึงประโยชน์ขององค์กรและ ประโยชน์ของส่วนรวมท้ังในระยะสั้น

ทุกวันนี้ ต้องถือว่าปรัชญาและแนวความคิดด้าน

เศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว

ก็คือ วิสัยทัศน์ที่กว้างไกลของพระองค์ท่านที่น�าหน้า

และไปได้กับแนวความคิดด้าน ‘การพัฒนาอย่างยั่งยืน’

และระยะยาว(4) การบริหารเชิงระบบหลักการคือองค์กรควรชี้บ่งท�าความ

เข้าใจและบรหิารจดัการกระบวนการทีเ่กีย่วข้องให้เป็นระบบที่จะช่วยให้เกิดประสิทธิผลและประสิทธิภาพในการบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กร

องค์กรควร1. พิจารณาประสิทธิผลและประสิทธิภาพ

ในภาพรวมของระบบที่จะท�าให้บรรล ุ วัตถุประสงค์ขององค์กร ท้ังปัจจัย น�าเข้ากระบวนการผลลัพธ์ข้อมูล ป้อนกลับและสภาพแวดล้อม

2. พจิารณาให้ครอบคลมุตัง้แต่การวางแผน การจัดตั้งองค์กรการก�ากับดูแลและ การควบคุม

ทกุวนันี้ต้องถอืว่าปรชัญาและแนวความคดิด้านเศรษฐกิจพอเพียงของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวก็คือวิสัยทัศน์ท่ีกว้างไกลของพระองค์ท่านที่น�าหน้าและไปได้กับแนวความคิดด้าน“การพัฒนาอย่างยั่งยืน”(SustainableDevelopment:SD)ครับผม

Page 15: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

InapplyingtheTIS9999,organiza-tionsshouldfocusesonitsprinciplethatshallcreatebehavioralchangesatbothindividualandorganizationallevelsinawaythatfacilitatesbalanceddevelopment,security,sustainablegrowth,happinessandreadinesstocopewithchangingcircumstances,internallyorexternally,includinguncertainties.

The TIS 9999 prescribes the four main elements as follows:

(1) Participation by organization’s members

Principle:Membersofanorganization,nomatterwhattheirranksare,provetobetheheartoftheorganization.Onlythroughtheiractiveparticipationcan theorganizationfullybenefitfromtheirknowledgeandabilities.

The organization thus should:Promotethepart icipat ionofi ts

membersandsupportthemineffortstoimprovetheorganization’seffectivenessandefficiency.

1. Ensurethatitsmembershave adequateknowledgeandabilities bothforthepresentandforthe future.

2. Respectforstakeholders’interests(2) Principle: The organization should

respect, take into account and respond to the interests of stakeholders.

The organization thus should:1. Identifystakeholders2. Agreeandtendtotheinterestsof

thestakeholdersinanappropriate andfai rmanner,takinginto accounttheirrightsbylawsand theirconcerns.

(3) Holistic managementPrinciple:Itfacilitatesthedevelop-

ment of clear vision and identification of cleargoals.

The organization thus should:1. Takeaholisticapproachwhen

layingdownitsdirection,drawing upplans,andpursuingafocus oncustomers,staff,information technology,processes,and businessgoals.

2. Takeintoaccountnotjustits benefitsbutalsopublicinterests, boththeshort-termandthe long-termones.

(4) System Approach to ManagementPrinciple:Theorganizationshould

identify,study,understandandmanage

workprocessesthroughapropersystemtoachieveeffectivenessandefficiencyforitsgoals.

The organization thus should:1. Reviewtheeffectivenessand

theefficiencyofitscurrentsystem, whichcoversinput,processes, output,feedbackandenvironment, inabidtoachieveitsgoals.

2. Applysystemapproachtoall stageofworksfromplanning, o rgan i za t i ona l s t r uc tu r i ng , supervisionandcontrol.

Today,HisMajesty’sSufficiencyEconomyPhilosophyclearlyreflectshisimpressivevisionandthisphilosophy rea l lygoeswel l w i th “Susta inab le Development”concept.

Today, His Majesty’s Sufficiency

Economy Philosophy clearly reflects his impressive

vision and this philosophy really goes well with

‘Sustainable Development’ concept.

15 ECo challenge

Page 16: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

16 ECo challenge

Eco Focus

มาบตาพุด-คิตะคิวชูความร่วมมือสู่การพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศแห่งอาเซียน

ย้อนไปในปี1901ณเมือง“คิตะคิวชู”บนเกาะคิวชูทางตอนใต้ของญี่ปุ่นเมื่อโรงถลุงเหล็กYAHATAเปิดด�าเนินกิจการขึ้นและมีส่วนในการสร้างความมั่งค่ังทางเศรษฐกิจให้กับประเทศได้มหาศาลนี่คือจุดเริ่มต ้น “ยุคอุตสาหกรรมใหม่” ของญ่ีปุ ่นโดยแท้ ท�าให้เมืองคิตะคิวชูถูกจัดให้เป็น1ใน4พื้นที่อุตสาหกรรมหลักของญี่ปุ ่นไปโดยปริยาย

ทว่าความเฟื ่องฟูดังกล่าวกลับเติบโตขึ้ นพร ้อมๆ “ผลกระทบ” อันรุนแรงต ่อทรัพยากรธรรมชาติรวมถึงคุณภาพชีวิตของคนในเมืองอ่าวDokai เต็มไปด้วยน�้าเสีย บ้านเรือนถูกกัดกร่อนด้วยไอกรดจากโรงงานคราบเขม ่าและฝุ ่นละอองปนเป ื ้อนอยู ่ ใน อากาศกลายเป็น“วิกฤตการณ์”ด้านสิง่แวดล้อมที่ชาวเมืองไม ่อาจยอมรับได ้ น�ามาสู ่การ

หาทางออกเพื่อแก้ไขปัญหาอย่างจริงจังโดยเริ่มต้นจากการขจัดสาเหตุที่ก่อให้เกิดมลพิษในระดับโรงงานขยายผลสู่ความร่วมมือระหว่างภาคอุตสาหกรรมกับภาคประชาชนโดยมี“รัฐบาลท้องถิ่น” เป็นผู ้ขับเคลื่อนมาตรการด้านสิ่งแวดล้อมอย่างเข้มแข็ง

จ าก เมื อ ง ท่ี เ ป ็ น จุ ด เ ริ่ ม ต ้ น ของยุ คอุตสาหกรรมใหม่เปลี่ยนผ่านสู่การเป็นต้นแบบของ “เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิ เวศ”หรือ EcoTownที่เรารู้จักกันเป็นอย่างดีและในวันนี้ เมืองคิตะคิวชูวางเป้าหมายสู่การเป็น“WorldCapitalofSustainableDevelopment”หรือ“เมืองหลวงแห่งการพัฒนาท่ียั่งยืน”ภายใต้แผนยุทธศาสตร์GreenFrontier อันเป็นแผนการพัฒนาท่ียั่งยืนบนวิสัยทัศน์ ในการเปลี่ยนเมืองสู่เมืองคาร์บอนต�่าท�าให้คิตะคิวชู

เป็น“Eco-ModelCity”ของประเทศญ่ีปุ่นอีกหนึ่งต�าแหน่ง

ในระดับโลกองค์การเพื่อความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา(OECD)ได้เลือกเมืองสีเขียวต้นแบบ4เมืองคือคิตะคิวชูชิคาโกปารีสและสต็อคโฮล์ม เพื่อเป็นแหล่งศึกษาและเรียนรู ้การบริหารจัดการเศรษฐกิจที ่เชือ่มโยงกบัทรพัยากรธรรมชาตแิละส่ิงแวดล้อมในระดับเมืองใหญ่ และท้ังหมดที่กล่าวมานี้คือภาพของคิตะคิวชูที่เปรียบได้กับสัญลักษณ์เมืองแห่งอนาคตท่ีทุกภาคส่วนสามารถอยู ่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนโดยไร้ข้อกังขา

Page 17: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

17 ECo challenge

Map Ta Phut-Kitakyushu:Cooperation for the ASEAN’s Eco industrial Town Development

In1901,Japan’s“NewIndustrialAge”beganwiththeopeningofYAHATA’ssteelmillinKitakyushu.Asthemillhascontr ibutedgreatlytothecountry’s economicprosperity,KitakyushuhassincebecomeoneofthetopfourindustrialzonesinJapan.

Thethr ivingindustr ialsectorin Kitakyushu,however,initiallycamewithsevere“impacts”onnaturalresourcesandqualityoflife.Thetown’sDokaiBayfacedbadwaterpollution.Acidvapor andairpollutersspreadaround.The “environmentalcrisis”provedtooseriousforlocalstobearwith.Intheend,all relevantpartieshavecometogethertostopthepollutionfromfactories.Thepeople’ssectorandtheindustrialsectorhaveworkedtogetherinaddressingtheenvironmentalissues,withthe “localgovernment”playinganactiveroleinstrictlyenforcingenvironmentalmeasures.

ImplementingtheGreenFrontierstrategy,Kitakyushuhassoughttobealow-carbontownforthesakeofsustainability.Itispositioningitselfasthe“Eco-ModelCity”inJapan.

Attheinternationallevel,Kitakyushuisoneofthefourcitieschosenforthe OrganizationforEconomicCooperationandDevelopment’s(OECD)studyon urbangreengrowth.ThethreeothersareChicago,ParisandStockholm.Thestudyseeksfindingsthatwillallowefficient economicmanagement,takingintoaccountnaturalresourcesandenvironmentaspects.Apparently,Kitakyushuisamodelcityformutualco-existenceandthefuture.

Today,Kitakyushubecomesan“EcoTown”.Itisalsoonitspathtobethe“WorldCapitalofSustainableDevelopment”.

Page 18: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

18 ECo challenge

Eco Focus

วันนี้การขับเคลื่อนการพัฒนากลุ่มนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดสู ่เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศจัดเป็นวาระที่กระทรวงอุตสาหกรรมให ้ความส� าคัญอย ่ างมาก โดยการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทยหรือกนอ.ได้เข้าไปมีส่วนในการขับเคลื่อนการพัฒนาโดยน�าบทเรียนจาก“คิตะคิวชู”มาปรับใช้ ให้เกิดประโยชน์อย่างเป็นรูปธรรมในพื้นที่มาบตาพุดซึ่งที่ผ่านมามีแนวทางความร่วมมือเกิดขึ้นแล้วดังนี้

1. ผู ้แทนกระทรวงเศรษฐกิจการค้า และอุตสาหกรรมส�านักงานคิตะคิวชู (METI-Kitakyushu) ได ้ร ่วมกับ องค์การบริหารส่วนจังหวัดระยอง เพื่อพัฒนามาบตาพุดให้เป็นเมือง ต้นแบบ(ModelEcoTown)

2. เมืองคิตะคิวชูร่วมกับกรมโรงงาน อตุสาหกรรม(กรอ.)พฒันาResource -recyclingEconomyและแนวทาง ในการสร ้างสังคมคาร ์บอนต�่ าใน ด้านต่างๆไม่ว่าจะเป็นความร่วมมอืกนั ในการแลกเปลี่ยนข้อมูลเพื่อน�าไปสู่ การเปลีย่นแปลงการส่งเสรมิโครงการ 3Rทีป่ระกอบด้วยReduce,Reused, Recycle รวมทั้งการสร ้างความ ตระหนักและการมีส ่วนร ่วมของ ประชาชนในการRecycle และ การอนุรักษ์พลังงานให้มากย่ิงขึ้น

3. การแลกเปลี่ยนข้อมูลและเทคโนโลยี ระหว่างกนอ.และเมืองคิตะคิวชู

4. การพัฒนาศักยภาพบุคลากรรวมทั้ง สร้างความตระหนกัและการมส่ีวนร่วม ของประชาชน

จาก “คิตะคิวชู” ถึง “มาบตาพุด” สู่เส้นทางสร้างต้นแบบ เมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศแห่งอาเซียน

Page 19: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

19 ECo challenge

Thai land’sMin is t ryo fIndust ry has nowse r i ous l y s t r i ven to tu rn MapTa Phu t i ndus t r i a l zone i n t o anEcoIndustrialTown.ViatheIndustrialEstateAuthorityofThailand(I-EA-T),the ministryhasusedKitakyushuasamodelindevelopingtheMapTaPhut.Tangiblemeasuresare:

1. R ep r e s e n t a t i v e s f r om t h e MinistryofEconomy,Tradeand Industry(METI)-Kitakyushu haveworkedwiththeRayong P r o v i n c i a l A dm i n i s t r a t i v e Organ izat ionindeve lop ing M a p T a P h u t a s a M o d e l EcoIndustrialTown.

2. Kitakyushuhashelpedwiththe development of Resource - R e c y c l i n g E c o n o m y a n d low-carbontownini t iat ives, wh i c h i n c l ude i n f o rma t i o n sharing,thepromotionof3Rs namelyReduce,Reused,and Recyc le aswe l l asene rgy conservat ion.Act iv i t iesare conducted to boos t pub l i c awarenessofrecycleneed.

3. I-EA-TandKitakyushuhave e n g a g e d i n i n f o r m a t i o n / technologyexchanges.

4. Developmentofhumanresources andpromotionofpublicawareness/ publicparticipation.

From Kitakyushu to Map Ta Phut: The Path to Build the ASEAN Eco Industrial Town Model

Page 20: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

20 ECo challenge

Eco Focus

“คิตะคิวชูอีโคทาวน์เป็นตัวอย่างอันดีที่ท�าให้เห็นว่าชุมชนและโรงงานอุตสาหกรรมสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างกลมกลืนเพียงใดซึ่งจังหวัดระยองเองก็เปรียบเสมือน‘บ้าน’ของโรงงานอุตสาหกรรมจ�านวนมากท่ีตั้งอยู่ในโครงการพัฒนาชายฝั ่งทะเลภาคตะวันออกผมเชื่อว่าหากการพัฒนาเทคโนโลยีด้านสิ่งแวดล้อมของคิตะคิวชูสามารถท�าให้โลกนี้น่าอยู่มากขึ้นได้ผลลัพธ์เช่นนี้ก็จะเกิดขึ้นกับประเทศไทยเป็นล�าดับต่อไปได้เช่นกัน”

Mr. Junichi SONO, Deputy Director, Kitakyushu Asian Center for Low Carbon Society

จากปาฐกถาในงานสัมมนาEcoForumโอกาสครบรอบการสถาปนาปีท่ี41ของกนอ.

“หวัใจส�าคญั”ในการพฒันานคิมอตุสาหกรรมมาบตาพุดให้เป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศต้นแบบของประเทศไทยหรือมองไกลไปถึงระดับอาเซียนคือ “การบริหารจัดการ”ซึ่งกนอ.ได้ริเริ่มและสานต่อแนวทางการบริหารจัดการที่ได้แรงบันดาลใจจากคิตะคิวชูทั้งเรื่องการบริหารจัดการขยะที่จะมีการวางระบบWasteRecyclingอย่างเป็นรูปธรรมในเร็วๆนี้ การอนุรักษ์พลังงานในด้านต่างๆการบริหารจัดการอย่างมีส่วนร่วมและโปร่งใสโดยพัฒนาระบบบริหารจัดการสิ่งแวดล ้อมและความปลอดภัยอันทันสมัยอย่างต่อเน่ืองส่งเสริมให้ภาคประชาชนมีส่วนร่วมในการรับรู ้ข้อมูลข่าวสารอย่างเปิดเผยโปร่งใสตรวจสอบได้ซึ่งได้รับการยอมรับทั้งในระดับประเทศและระดบันานาชาติโดยองค์การพฒันาอตุสาหกรรมแห ่งสหประชาชาติ TheUni tedNat ion DevelopmentOrganization:UNIDOได้เลือกนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดเป็น1ใน5พื้นที่ที่มีความเป็นผู้น�าทางนวัตกรรมในการพัฒนาเครือข่ายเมืองยั่งยืน(EcoCity)

ในอนาคตนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดจะมี “ศูนย ์พัฒนาและบริหารจัดการเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ(EcoCenter)” เปิดด�าเนินการเพื่อเป็นศูนย์กลางการบริหารจดัการถ ่ายทอดความรู ้ ตลอดจนการด�าเนินงาน ในด้านต่างๆซึ่งท่านผู ้อ ่านสามารถติดตามความคืบหน้าและรายละเอียดของEcoCenterแห่งแรกของเมืองไทยพร้อมความคืบหน้าในส่วนงานอื่นๆได้ ในEcoChallengeMagazineฉบับต่อๆไป

คิตะคิวชู ไม่เพียงเป็นEcoTownที่ น่าสนใจระดับโลกแต่เมืองแห่งนี้ก�าลังก้าวล�้าสู ่ความเป็นSmartCityแห่งศตวรรษที่21อย่างเต็มรูปแบบแนวทางความร่วมมือในการพัฒนาเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศที่เริ่มต้นจากกลุ่มนิคมอุตสาหกรรมมาบตาพุดจึงนับเป็นก้าวส�าคัญของประเทศไทยในการแผ่ขยาย“การเติบโตที่ยั่งยืน”ไปสู่พื้นที่อ่ืนๆทั่วประเทศรวมถึงในระดับอาเซียนผ่านเครื่องมือที่เรียกว่า“นิคมอุตสาหกรรม”ซึ่งในอนาคตค�าค�านี้จะต ้องหมายถึงที่ที่ทุกภาคส่วนอยู ่ร ่วมกัน อย่างเกื้อกูล เข้าใจและก้าวไปพร้อมกันได้อย่างแท้จริง

ต้นแบบจากคิตะคิวชู สู่การสร้างมาบตาพุดให้เป็น “เมืองต้นแบบ”

Page 21: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

21 ECo challenge

Kitakyushu-based Development of Map Ta Phut as “Model Town”

“TheKitakyushueco-townisagoodexampleofcommunitiesandfactorieslivingtogetherinharmony,whileRayongishometomanyindustrialfactoriesalongtheEasternSeaboard.IbelieveThatKitakyshu’senvironmentaltechnologymakingtheworldabetterplace.NextisThailand”

Mr. Junichi SONO, Deputy Director, Kitakyushu Asian Center for Low Carbon Society

EcoForumonthe41st Anniversary of I-EA-T

Goodmanagementisa “key”indevelopingtheMapTaPhutIndustrialEstateasanecoindustrialtownmodel ofThailandandAsianregion.InspiredbytheKitakyushuEcoTown,theI-EA-T hascommittedtoapplyingparticipatorymanagemen t , a ccoun t ab i l i t y a nd transparencyprinciplesintoitswasterecycl ing,energyconservation,andsa fe ty sys tems . TheMapTaPhu t IndustrialEstatehasbeenrecognizedbytheUnitedNationsIndustrialDevelopmentOrganizationasoneofthefivefuture EcoCitiesinSoutheastAsia.

Inthenearfuture,anEcoCenter willbeestablishedintheMapTaPhutIndustrialEstateasahubofknowledgeandexperienceinallecomanagement.Moredetai lsonThai land’sf i rstEco CenterwillbeavailableinthefollowingissuesofEcoChallengeMagazine.

Kitakyushu,aworld-classEcoTown,isnowestablishingitselfasSmartCityofthe21stCenturytoo.ItscontributionstothedevelopmentofMapTaPhut,therefore,marksignificantstepsinThailand’spursuitof “sustainabledevelopment”.With MapTaPhutbecominganecoindustrialtown,itwillbecomearealrolemodelforotherpartsofThailandandalsooftheASEANregiontofollowsuits.Whenthisgoalmaterializes, “industrialestates” willbecomethekeytoolstocreatethe“EcoIndustrialTowns”orareaswhereall stakeholdersenjoymutualco-existence,understandingandprosperity.

Page 22: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

econovation

22 ECo challenge

ตามไปดูธุรกิจ“ก�าจัดสารพิษในดิน (Soil Remediation)” สุดล�้า ที่ญี่ปุ่นEconovation ฉบับนี้ จะพาคุณไปอัปเดตเรื่องราวของธุรกิจนวัตกรรมที่น่าสนใจ นั่นคือ “ก�าจัดสารพิษในดิน” หรือ Soil Remediation ณ Eco-System Hanaoka ประเทศญี่ปุ่น

ย้อนกลับไปในปี2003เมื่อรัฐบาลญี่ปุ่นประกาศใช้กฎหมายควบคุมมลพิษทางดินอย่างเข้มงวด(TheContaminatedSoilCounterMeasureLAW)บริษัทHanaokaMining ในกลุ่มDOWAซึ่งเริ่มต้นท�าธุรกิจนี้มาตั้งแต่ปี1996จึงได้รับการรับรองในฐานะผู้ ให้บริการก�าจัดสารพิษในดินเป็นรายแรกในญี่ปุ่นจากนั้นในป ี 2006 บริ ษัทได ้ เปลี่ ยนชื่ อมา เป ็น Eco-SystemHanaokaและขยายกิจการ จนกล่าวได้ว่าเป็นผู้ ให้บริการรายใหญ่ที่สุด

ท่ีEco-SystemHanaokaมีขนาดพื้นที่กว้างใหญ่ไพศาลมากแบ่งออกเป็นโซนต่างๆประกอบด้วย โรงงาน(MatsuminePlant)อาคารส�านักงาน โรงงานEco-Recycle พื้น ท่ีส� าหรับฝ ังกลบ(Landf i l l ) โรงงาน Eco-SystemAkitaและเขื่อนกักเก็บหางแร่(TailingDam)โดยกระบวนการก�าจัดสารพิษจะขึ้นอยู่กับชนิดของสารปนเปื้อนซึ่งแบ่งออกเป็น2กลุ่มได้แก่กลุ่มที่ปนเปื้อนโลหะหนักและกลุ ่มที่ปนเปื ้อนน�้ามันกับสารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย(VOCs)

ในหลายๆ ประเทศ อาทิ สหรัฐอเมริกา อังกฤษ ออสเตรเลีย แคนาดา ญี่ปุ ่น ฯลฯ

ต่างก็มีกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูที่ดิน เพ่ือลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม

ส่วนท่ีสหภาพยุโรปก็มีการออกมาตรการ รวมถึงกฎหมายท่ีเกี่ยวข้อง เพื่อกระตุ้น

ให้เกิดความตระหนัก ในเร่ืองดังกล่าวด้วยเช่นกัน

การก�าจัดสารพิษในดินหรือการฟื้นฟูดินที่ปนเปื้อนสารพิษในปัจจุบันสามารถท�าได้หลากหลาย วิ ธีการ และจัดอยู ่ ในหั วข ้ อ EnvironmentalRemediationที่ส�าคัญเรื่องหนึ่งซึ่งในหลายๆประเทศอาทิสหรัฐอเมริกาอังกฤษออสเตรเลีย แคนาดา ญ่ีปุ ่น ฯลฯ ต่างก็มีกฎหมายเกี่ยวกับการฟื้นฟูที่ดิน เพื่อลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมส่วนที่สหภาพยุโรปก็มีการออกมาตรการรวมถึงกฎหมายที่เกี่ยวข้องเพื่อกระตุ้นให้เกิดความตระหนักในเรื่องดังกล่าวด้วยเช่นกัน

ยิ่งเทคโนโลยีมีความก้าวหน้ามากข้ึนเราก็ย่ิงต้องพยายามหาทางพัฒนาวิธีการใหม่ๆส�าหรับการก�าจัดสารพิษในดินมากขึ้นเท่านั้นเพื่อให้ผืนดินกลับมาบริสุทธิ์สะอาดเพียงพอ ต่อการเป็นแหล่งผลิตอาหารเป็นแหล่งอนุรักษ์พันธุ ์สัตว์ป่าหรือแม้แต่เป็นท่ีดินส�าหรับการสร้างอาคารที่อยู่อาศัยที่ส�าคัญการขจัดสารพิษในผืนดินจะช่วยส่งเสริมการดูแลคุณภาพน�้าและอากาศอันจะช่วยให้โลกน้ีปลอดภัยยิ่งข้ึนส�าหรับสิ่งมีชีวิตท้ังมวล

Page 23: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

23 ECo challenge

Have you heard about the brilliant

“Soil Remediation” business in Japan? In this issue, Econovation would like to take you to Japan so that you can update yourself with an innovative business. A Japanese firm, Eco-System Hanaoka, has now been thriving on “Soil Remediation” services.

Being acrucialpartofEnvironmentalRemediation,soilremediationoreffortstorevitalizesoilcannowbedoneviavariousmethods.Manycountriesaroundtheworld,includingtheUnitedStates,theUnitedKingdom,CanadaandJapan,thushavealreadyissuedlawstogovernlandremediationastheyseektominimizeenvironmentalimpactsthereof.TheEuropeanUnionhasalsotakenthesamesteps,introducinglawsaswellasvariousmeasurestopromotelandremediation.

Astechnologyadvances,newermethodsatreclaimingcontaminatedsoilareunderdevelopment.Thiswillmakeit possibletopurifylandandmakeitpossibletousetheareaforgrowingfood,creatingwildlifepreserves,orevenallowing

Soil Remediation Flow in Eco-System Hanaokaแผนภาพแสดงขั้นตอนการก�าจัดสารพิษในดิน

ประเภทสารปนเปื้อนKindsofcontaminants

สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย*VOC:volatileorganiccompound

สารประกอบอินทรีย์ระเหยง่าย/น�้ามันVOCscontaminatedsoilOilcontaminatedsoil

โลหะหนักHeavy metal contaminated soil

ล้างดินSoilwashingtreatment

ดินที่ปนเปื้อน +น�้าContaminatedsoil +Water

บ�าบัดด้วยน�้าWatertreatment

ล้างด้วยน�้า +ใช้สารเคมีWashwate +Chemicals

ดินที่ปนเปื้อน +สารเคมีContaminatedsoil +Chemicals

ดินที่ปนเปื้อน +ปูนสุกContaminatedsoil +Quicklime

ContamingHeavy Metais

ดินที่ปนเปื้อน +ผงเหล็กContaminatedsoil +Ironpowder

สารผสมปูนสุกQuicklimemixing

สารผสมผงเหล็กIronpowdermixing

บ�าบัดดินด้วยการก�าจัด สารปนเปื้อนที่ไม่ละลายน�้า

Insoluble treatment

ปริมาณดินที่บ�าบัด ออกมา200ตัน/ชม.Maximumthroughput

200t/h

ปริมาณดินที่บ�าบัด ออกมา200ตัน/ชม.Maximumthroughput

200t/h

ปริมาณดินที่บ�าบัด ออกมา50ตัน/ชม.Maximumthroughput

50t/h

ปริมาณดินที่บ�าบัด ออกมา50ตัน/ชม.Maximumthroughput

50t/h

ดินที่ได้รับการบ�าบัดแล้วTreatment soil

humanstosafelyconstructdwellingsorcommercialbuildingsinthearea.Atthesametime,riddingthegroundofunsafe contaminantswillsupporteffortstocleantheairandwater,makingtheworldasaferplaceforalllivingthings.

PreviouslyknownasHanaokaMiningCo.,Ltd,the Eco-SystemHanaokahasoperateditssoil-remediation servicessince1996.SowhentheJapanesegovernment introducedtheContaminatedSoilCounterMeasureLawin2003,thefirmwasquicktoapplyforendorsementandbecamethecountry’sfirstlicensedsoil-remediationprovider.Usingits currentnamesince2006,Eco-SystemHanaokaisnowthe biggestproviderofsoil-treatmentservicesinJapan.

Page 24: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

econovation

24 ECo challenge

กรณีที่สารปนเปื ้อนไม่สามารถชะล้างออกได้ด้วยน�้าเปล่าจ�าเป็นต้องใช้สารเคมีที่เหมาะสมเข้ามาช่วยในกระบวนการล้างดินเพื่อแยกอนุภาคของสารปนเปื ้อนออกจาก เนื้อดิน เมื่อเสร็จสิ้นขั้นตอนการล้างก็จะน�าเข้าสู่กระบวนการคัดกรองตามประเภทเพื่อแยกกรวดทรายโลหะมีค่าสารพิษและน�้าที่มีอนุภาคของสารแขวนลอยเข้าสู ่กระบวนการบ�าบัดอื่นๆหรือน�าไปรีไซเคิลต่อ

อีกนวัตกรรมที่น ่าสนใจคือการก�าจัด สารปนเปื้อนด้วยวิธี Insoluble Treatment ซึ่งใช้กับดินที่ปนเปื ้อนโลหะหนักโดยน�าดินดังกล่าวมาผ่านกระบวนการที่ใช้สารเคมีเฉพาะท� าให ้ เนื้ อดินและโลหะจับตัว เข ้ าด ้วยกัน โลหะนัน้ๆจงึไม่สามารถแพร่กระจายได้อกีต่อไป ดินท่ีผ่านการบ�าบัดด้วยวิธีน้ี สามารถน�าไป ใช้งานได้หลากหลายและค่าใช้จ่ายในการก�าจัดสารพิษก็ต�่ากว่าวิธีการอื่นๆ นับเป็นอีกหน่ึงทางเลือกที่น ่ าสนใจส�าหรับอุตสาหกรรม อย่างยิ่ง

ส�าหรับหลักการขั้นพื้นฐานในการขจัดสารพิษให้หลุดออกจากดินนั้นมีขั้นตอนตามแผนภาพดังต่อไปนี้

ป ัจจุบันการควบคุมและแก้ ไขปัญหามลพิษทางดินของประเทศไทยมุ ่งเน ้นใช ้มาตรการทางกฎหมายเพื่อควบคุมการใช ้ประโยชน์จากทรพัยากรดนิพร้อมด้วยมาตรการทางเทคโนโลยีเพื่อควบคุมการก�าจัดของเสียและแหล่งก�าเนิดต่างๆแต่สิ่งที่เรายังไม่ได้ ให้ความส�าคัญมากนักก็คือการส�ารวจตรวจสอบและเฝ้าระวังคุณภาพดินโดยสม�่าเสมอรวมถึงการ “รักษา”ดินที่ถูกปนเปื ้อนให้กลับมา มีคุณภาพดีดังเดิมหรือลดผลกระทบจากการปนเปื ้อน ซ่ึงนวัตกรรมก�าจัดสารพิษในดิน ที่น�ามาฝากกันในฉบับนี้น่าจะเป็นไอเดียเพื่อการต่อยอดในภาคอุตสาหกรรมของไทย ท่ีก�าลังมุ่งสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศได้เป็นอย่างดี

Principle of Soil Washing Treatmentหลักการล้างดิน

ดินที่ปนเปื้อนContaminated soil

ล้างWashing

แยกประเภทClassification

ล้างด้วยเครื่องขัดDrum scrubber (Waterwashing)

แยกประเภทClassification

ทรายSand

น�าไปใช้ซ�้าReuse

อนุภาคดินเล็กๆSlim

เก็บกักปรับเสถียรToStabilizationcontainmentการแพร่กระจาย/การแยกตัว

Diffusion/Separation การแพร่กระจายในน�้า/การซึมตัวสู ่แร่ดินDiffusionintowater/Adsorption onto cray

อนุภาพแบบเนื้อหยาบCoarsseparticle

อนุภาคแบบเนื้อละเอียดFineparticleสารอันตรายต่างๆHazardoussubstances

ตะกั่วอาร์ซีนิกฟลูออรีนฯลฯ(Pb,As,F,etc)

อาจใช้วิธีก�าจัดพิษสารพิษในดินแบบอื่นเพิ่มเติมอาทิการแยกอนุภาคต่างๆตามกฎแรงโน้มถ่วงการแยกอนุภาคต่างๆตามกฎแรงแม่เหล็กและ การลอยตัวเพื่อให้สอดคล้องกับประเภทของดินที่ถูกปนเปื้อน(พิจารณาจากทั้งคุณลักษณะของดินและสารปนเปื้อน)DependingonthekindofContaminatedSoil(ContaminantsandSoilCharacter),anothertreatmentprocesswasaddedsuchasgravityseparation,magneticseparationandflotation.

Page 25: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

25 ECo challenge

การก�าจัดสารพิษประเภทที่ไม่ละลายน�้าInsoluble Treatment

TheEco-SystemHanaokaownsexpansivelandplots. InitscompoundaretheMatsuminePlant,OfficeBuilding, Eco-RecyclePlant,Landfill,Eco-SystemAkitaandTailingDam.Soi lsentforremediationcanbedividedintotwomain groups:onecontaminatedwithheavymetalsandtheothercontaminatedwithvolatileorganiccompounds(VOCs).

Soi lwashingisameanstoseparatecontaminants andfromsoilparticles.However,whenwashingalonecannotcompletetheremediation,Eco-SystemHanaokahasalso appliedwell-chosenchemicalstothecontaminatedsoil. Followingthetreatment,separatedcomponentsarethenbeclassifiedintovariouscategoriesnamelypebbles,sand, valuablemetals,toxinsandwaterwithsuspendedmatter particles.Allthesethingswillthenmovetorecycle/reuseprocess.

Insoluble treatment is also an innovative solution to contaminatedsoil.Throughtheuseofwell-chosenchemicals,some metals can merge into soil particles and no longer spread

around.Thetreatedsoilcanthenserveinvariousapplications.Whencomparedwithothertreatmentmethod,theinsolubletreatmentcomesatalowercostandisthusareallyinterestingalternativeforbusinesspeople.

InThailand,lawsenforcementisthefocusasauthoritiesseektopreventsoilpollutionandensuretheproperutilizationofsoilresources.Technologicalmeasuresarealsointroducedtoreininwastedisposal,includingatthestartpointofwaste.Thailand,however,hasnotyetpaidrealattentiontotheneedtosurvey,checkandmonitorsoilconditionsonaregularbasisandtodeliversoiltreatmentwhenneedsarise.Infact,soil remediationshouldnotbeoverlookedbecauseitisameans t o m in im izecon tam ina t i onimpac ts andres to re so i l quality.Econovationthushopesthatthestoryaboutthethrivingsoil-remediationservicesinJapanwillprovideagreatsourceofinspirationsforThaiindustries,whicharenowonthepath totheEcoTown.

ดินที่ปนเปื้อนด้วยโลหะหนักHeavy metal contaminated soil

โลหะหนักHeavy metals

อนุภาคดินSoil particles

สารเคมีChemicals

การเก็บกักไว้ด้วยกันContainment

Page 26: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

Eco Asean

26 ECo challenge

จากการประชุมรัฐมนตรีพลังงานอาเซียน ครั้งที่ 31 เมื่อวันที่ 23-27 กันยายน 2556 ท่ี เมืองเดนปาซาร ์ บนเกาะบาหลี อินโดนีเซีย ในหัวข้อ “ความยั่งยืนด้านพลังงานเพื่อความรุ่งเรืองของอาเซียน” ได้เพิ่มความหวังสู ่การสร้างความมั่นคงด้านพลังงานอาเซียน โดยได้บรรลุข้อตกลง 6 ข้อ ในการร่วมมือสนับสนุนของทุกชาติสมาชิกอาเซียน

ดร.คุรุจิต นาครทรรพ รองปลัดกระทรวงพลังงานผู ้เข้าร่วมประชุมในครั้งนี้กล่าวถึงความคืบหน้าจากการประชุมว่า “เนื่องจากพลังงานมีความส�าคัญกับประชากรในประเทศ

ความยั่งยืนด้านพลังงานอาเซียน :โอกาสพลังงานทดแทนของไทย เสริมความมั่นคง-ลดโลกร้อน

สมาชิกอาเซียนที่มีเกือบ 600 ล้านคน ซ่ึง ทุกฝ่ายต่างมีความร่วมมือด้านพลังงานกัน มานาน และมคีวามคบืหน้าในการขยายข้อตกลงด้านการเชื่อมโยงท่อส่งก๊าซธรรมชาติออกไปอีก 10 ปี ซึ่งเดิมหมดอายุในเดือนเมษายน 2557 ท่ีผ่านมา รวมทั้งยังได้พัฒนาการเชื่อมโยงสายส่งไฟฟ้าอาเซียน (ASEAN Power Grid) โดยการพัฒนาจุดเชื่อมโยงสายส่งไฟฟ้าใหม่ในอาเซยีนจะเสรจ็ปีหน้า ระหว่างเวยีดนาม-ลาว และมาเลเซีย-ฝั่งตะวันตกของเกาะกาลิมันตัน ทั้งยังมีแผนขยายสายส่ง 2 ปีข ้างหน้า ซ่ึง ไทยเราอยากเชื่อมกับพม่ามากขึ้น และยังมี ข ้อตกลงด ้ านถ ่ านหินภายใต ้การน� าของอินโดนีเซียซึ่งมีแหล่งถ่านหินและเป็นผู ้ผลิตรายใหญ่ โดยเน้นการแลกเปลี่ยนทางวิชาการ

ปัจจุบันอาเซียนมีก�าลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทน ทั้งพลังน�้า พลังงานชีวมวล

พลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย์ พลังงานความร้อนใต้พิภพ รวมท้ังสิ้น

39,000 เมกะวัตต์

เกี่ยวกับเทคโนโลยีถ่านหินสะอาดและเชื้อเพลิงเพื่อการผลิตไฟฟ้า”

ส�าหรับด้านพลังงานทดแทนได้รับความร่วมมือจากอาเซียนเป็นพิเศษ โดยปัจจุบันอาเซียนมีก�าลังการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานทดแทนทั้งพลังน�้าพลังงานชีวมวลพลังงานลม พลังงานแสงอาทิตย ์ พลังงานความร ้อน ใต้พิภพรวมท้ังสิ้น39,000เมกะวัตต์หรือคิดเป็นสัดส่วน29%ของก�าลังการผลิตไฟฟ้าอาเซียนทั้งหมดซึ่งประเทศไทยมีสัดส่วนของพลังงานทดแทนในอาเซียนสูงท่ีสุดรวมทั้งส้ิน6,600เมกะวัตต์คิดเป็น17%ของอาเซียนท่ีส�าคัญการบรรลุข้อตกลงการพัฒนาพลังงานทดแทนของอาเซียนจะเป็นการผลกัดนัเป้าหมายการใช้พลังงานทดแทนต่อไป

Page 27: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

27 ECo challenge

The hope for the ASEAN’s energy security grows further after member countries emerged from the 31st ASEAN Energy Ministers Meeting with a six-point agreement on energy cooperation. Held from September 23 to 27 in Denpasar, Bali, Indonesia last year, the meeting addressed the “Energy Sustainability for prosperity of the ASEAN community”.

Dr. Kurujit Nakornthap, Deputy Permanent Secretary of Thailand’s Energy Ministryandaparticipantinthemeeting,says,“Energy is very important to the ASEAN’s population or near ly 600 mi l l ion people. ASEAN nat ions have long cooperated on energy issues. And now, we have agreed to extend the validity of natural-gas pipeline agreement by 10 more years. Initially, the agreement would expire in April 2014. Now, ASEAN Power Grid development project has also been

ASEAN’s Energy Sustainability:Thailand’s Alternative Energy

to Boost Energy Security & Reduce Global Warming

progressing well. Next year, the grid between Vietnam and Laos and between Malaysia and West Kalimantan will be ready. Grid expansions are also planned. Thailand has already signed a coal agreement with Indonesia, a big supplier of coals, and has sought closer energy ties with Myanmar too. We focus on technical cooperation related to clean coal and fuel for electricity generating”.

ASEANnationshavethecombinedcapacitytoproduce39,000megawattswithalternativeenergy suchaswaterenergy,biomassenergy,windenergy,solarenergy,andgeothermalenergy.Inotherwords,thealternativeenergyaccountsfor29percentoftheregion’senergysourcesforelectricitygenerating. Thailand’salternativeenergyhasgenerated6,600megawatts,thehighestvolumeamongcountriesinthesameregion.WiththeASEAN’slatestagreementonenergycooperation,alternative-energydevelopmentwillgainfurthergroundshere.

Onenergyefficiency,ASEANmembercountrieshavealreadysuccessfullyloweredtheenergy intensityby7.56percent.Thailandevensetsitssightonloweringenergyconsumptionby25percent by2030,encouragingotherfellowASEANnationstofollowherfootsteps.

Page 28: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

Eco Asean

28 ECo challenge

ในด้านข้อตกลงด้านการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพนับว่าประสบผลส�าเร็จในการร่วมมือกันลดความเข้มข้นด้านพลังงานของอาเซียนลงได้ถึง7.56%โดยไทยมีเป้าหมายจะลดการใช้พลังงานให้ได้25%ภายในปี2573เพ่ือส่งสัญญาณให้ประเทศอาเซียนเอาจริงเอาจังในการอนุรักษ์พลังงานร่วมกัน

นอกจากนี้รัฐมนตรีพลังงานอาเซียนยังยืนกรานข้อตกลงด้านการใช้พลังงานนิวเคลียร์อย่างสันติ และเห็นว่าพลังงานนิวเคลียร์ยังเป็นโอกาสของการพัฒนาพลังงานในอนาคตโดยมีการขอรับความช่วยเหลือทางวิชาการจากจีนญี่ปุ ่นและเกาหลีรวมถึงการเตรียมความพร้อมจากเหตุการณ์ฟุกุชิมะที่ญี่ปุ่นด้วย

ส่วนด้านวิกฤติสภาพภูมิอากาศทั่วโลกต่างรณรงค์ ให้ลดการพึ่งพาเชื้อเพลิงฟอสซิลและเพิ่มสัดส ่วนการใช ้พลังงานหมุนเวียน มากขึ้น โดยการพัฒนาที่มุ ่งลดความเข้มข้นด้านพลังงานน�าไปสู ่การลดก๊าซเรือนกระจกและการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพโดยยังเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทนและสร้างความตระหนักในการใช้พลังงานสะอาดซึ่งไทยได ้ริ เริ่มและผลักดันโครงการสร ้าง ความตระหนักรู้ด้านพลังงานอาเซียนซึ่งได้รับความเห็นพ้องจากที่ประชุมร่วมกันโดยก�าหนดจะประชุมสัมมนาขึ้นที่ไทยช่วงเดือนมกราคมปีหน้าและยังมีโครงการสร้างการรวมตัวของตลาดพลังงานอาเซียนซึ่งคาดหวังจะลดความไม่สมดุลระหว่างความต้องการและการจัดการพลังงานลดการพึ่งพาพลังงานภายนอกและลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมด้วย

ระหว ่างการประชุมรัฐมนตรีพลังงานอาเซียนในคืนวันท่ี25กันยายน2556ยังมีการมอบรางวัลให้แก่ผู้ชนะการประกวดผลงานด้านการอนุรักษ์พลังงานและพลังงานทดแทนระดับภูมิภาคอาเซียน(ASEANENERGYAwards2013)ซึ่งประเทศไทยโดยกรมพัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน(พพ.)ส่งเข้าประกวดท้ังหมด10ประเภทรวม19โครงการได้รบัรางวลัชนะเลศิมากถงึ9โครงการและรางวัลรองชนะเลิศอีก4โครงการท�าให้ประเทศไทยยังคงรักษาแชมป์การคว้ารางวัลมากที่สุดในอาเซียน โดยได ้รับรางวัลถึง 13รางวัลจากท้ังหมด37รางวัลตัวอย่างเช่นบริษัท จันทบุรี สตาร์ช เพาว์เวอร์ จ�ากัดได้รับรางวัลชนะเลิศด ้านพลังงานทดแทน จากโครงการระบบบ�าบัดน�้าเสียเพื่อผลิตก๊าซชีวภาพมาผลิตกระแสไฟฟ้าบริษัท สหโคเจน กรีน จ�ากัด ได ้รับรางวัลด ้านโครงการพลังงาน ความร้อนร่วมจากพลังงานหมุนเวียนจากโครงการโรงไฟฟ้าชีวมวลของบริษัท และ โรงไฟฟ้าพลังน�้าชุมชนบ้านคลองเรือ อ�าเภอ

พะโต๊ะ จังหวัดชุมพรได้รับรางวัลด้านพลังงานทดแทนในระดับชุมชน โดยความร่วมมือกับการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย(กฟผ.)และคณะสงัคมศาสตร์มหาวทิยาลยัธรรมศาสตร์

จากรางวัลเกียรติยศด้านพลังงานของไทยท่ีได ้รับมากท่ีสุดในอาเ ซียนดังกล ่ าว ได ้สร้างชื่อเสียงและความภาคภูมิใจต่อชาวไทยโดยเฉพาะผู้บริหารกระทรวงพลังงานที่ขึ้นรับรางวัลเกียรติยศด้านพลังงานในการประกวดครั้งน้ีได้แก่นายณอคุณสิทธิพงศ์ปลัดกระทรวงพลังงานนายอ�านวยทองสถิตย์อธบิดีกรมพฒันาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน และ นายสุทัศน์ปัทมสิริวัฒน์อดีตผู้ว่าการการไฟฟ้าฝ ่ายผลิตแห ่งประเทศไทยต ่างปลื้มใจใน ผลงานดีเด ่นด้านพลังงานของประเทศไทย ในเวทีอาเซียนและเห็นความส�าคัญในการสร้างความตระหนักในการอนุรักษ์พลังงานของทุกฝ่ายไม ่ว ่าจะเป ็นหน่วยงานภาครัฐ ภาคธุรกิจภาคอุตสาหกรรมและภาคชุมชนในการร่วมมือร่วมใจกันอนุรักษ์พลังงานและสิ่งแวดล้อมอย่างจริงจังและยั่งยืน

Page 29: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

29 ECo challenge

ASEANenergyministershavealsoagreedtothepeacefuluseofnuclearpower.Describingnuclearpowerastheenergyofthefuture,theASEANcountrymembershaveplannedtoseektechnicalassistancefromChina,JapanandSouthKoreaintheirnucleardevelopmentthatwillincludepreparednesstodealwithincidentslikewhathappenedattheJapan’sFukushimanuclearpowerplant.

Onclimatecrisis,ASEANmemberswilljointheworldincampaigningforreduceduseoffossilfuelandforrenewable-energypromotion.Lowerenergyintensitywillleadtohigherenergyefficiencyandlowergreenhouse-gasemissions.ThailandhasalreadylaunchedinitiativestopromotetheuseofcleanenergyandpushedforthepublicawarenessoftheASEANenergysituation.Todate,ASEANmembercountrieshavemadeeffortstostrikethebalancebetweentheirenergysupplyanddemand.Theyhavealsotriedtominimizeenergyconsumption’senvironmentalimpacts.

The31stASEANEnergyMinistersMeetingincludedaceremonytopresenttheASEANENERGYAwards2013awardstowinners.Ofthetotal37awards,thirteenawardswenttoThailand,makingtheKingdomthebiggestwinner.Ofthe19entriessubmittedbyThailand,fourhavewonthetopawardswhiletheothernineentrieshavebeenthefirstrunners-up.AmongthewinnerswereChanthaburi Starch Power Company Limited,whichwonatopprizeforgeneratingelectricitywithbiomassfromitswastewatertreatmentsystem;SahacogenGreenCompanyLimited,whichwashonoredforitscogenerationproject,andthe Hydropower Plant of Ban Klong Ruea,

Pa Toh district, Chumphon province.ThiscommunityhasworkedonthisprojectincollaborationwiththeElectricityGeneratingAuthorityofThailand(EGAT)andThammasatUniversity.

ThailandisproudtohavewonthelargestnumberofASEANENERGY2013awards.Onstageattheaward-presentationceremonywereMr.NorkunSittipong,PermanentSecretaryforEnergy,Mr.AmnuayThongsathitya,DirectorGeneraloftheDepartmentofAlternativeEnergy,andMr.SutatPatmasiriwat,aFormerGovernorofEGAT.AlltheThairepresentativeshavebeenproudonregionalrecognitionofThailand’senergyexcellence.TheyhavealsointendedtofurtherpromoteenergyconservationandenvironmentalprotectioninallsectorsofThailand,includinggovernment,business,industrialand communitysectors.

Page 30: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

eco COOL

30 ECo challenge

“ต้นไม้” นอกจากจะให้ความสวยงาม สร้างความสดช่ืน ร่มรื่นและเป็นร่มเงาให้กับมนุษย์เราได้แล้ว ยังช่วยลดมลพิษ ลดก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์หรือสารเคมีต่างๆ ในอากาศ ช่วยบ�าบัดน�้าเสีย และช่วยปรับสภาพอากาศสดชื่นให้โลกเราได้อีกด้วย Eco Cool ฉบับนี้จึงคัดสรร “พันธุ์ไม้ลดมลพิษ ช่วยบ�าบัดน�้าเสีย” มาแนะน�าให้ปลูกกัน

ก่อนอื่นมาท�าความเข ้าใจกันก ่อนว ่า ต ้นไม ้สามารถช ่วยลดมลพิษได ้อย ่ างไร ค�าตอบคือต้นไม้เป ็นพืชสังเคราะห์แสงได้ ต้นไม้จึงสามารถดูดซับสารพิษ และมลภาวะต่างๆ จากอากาศ น�้า และดินได้ ซ่ึงด ้วยกระบวนการสังเคราะห์แสงของพืชจะเกิดขึ้นในเวลากลางวัน โดยใช้พลังงานแสงอาทิตย์ในการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์เข้าไปทางใบ และดูดน�้าทางราก จากนั้นจึงผ ่านกระบวนการสังเคราะห์แสงโดยเปลี่ยนก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และน�้า ให้กลายมาเป็นน�้าตาลเพื่อการเจริญเติบโตของต้นไม้ และปลดปล่อยก๊าซออกซิเจนออกมาในอากาศ เพื่อประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตอื่นๆต่อไปจึงท�าให้ต้นไม้เปรียบเสมือนเครื่องกรองอากาศจากธ ร รมช า ติ ที่ ช ่ ว ยลดมลภา ว ะ จ ากก ๊ า ซคาร์บอนไดออกไซด์และลดปริมาณก๊าซท่ีสร้างปรากฏการณ์เรือนกระจก(GreenHouseEffect)ที่ท�าให้เกิดภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน

ส�าหรับพันธุ ์ ไม ้ลดมลพิษท่ีเหมาะกับประเทศไทย ซึ่งมีสภาพภูมิประเทศเขตร้อน มีหลายชนิด โดยมีผลงานวิจัยของ ดร. บี.ซี. วูฟเวอร์ตัน(Dr.B.C.Wolverton)นักวิจัย แห่งสถาบันวิจัยอวกาศนาซาสหรัฐอเมริกาได้ท�าการวิจัยมากว่า25ปีจนพบว่าพืชเขตร้อนส่วนใหญ่เป็นไม้ดอกไม้ประดับท่ีนิยมปลูกกันโดยทั่วไปนั้นมีคุณสมบัติในการดูดสารพิษ และมลพิษในอากาศ ไม่ว่าจะเป็นมลภาวะจากก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์และสารพิษต่างๆอาทิเบนซีนฟอร์มาลดีไฮด์แอมโมเนียไซลีนทูลีนฯลฯโดยแบ่งกลุ่มพันธุ์ไม้ท่ีช่วยดูดสารพิษได้ดังนี้

กลุ่มไม้ประดับที่ช่วยปรับคุณภาพอากาศภายในอาคารได้ดีด้วยคุณสมบัติพิเศษในการช่วยฟอกอากาศได้แก่ว่านหางจระเข้สาวน้อยประแป้งพลูด ่าง ยางอินเดีย ไทรใบใหญ่ มรกตแดงกวักมรกตตีนตุ๊กแกฝรั่ง/ต้นไอวี่เดหลีและฟิโลใบหัวใจ

ปลูกต้นไม้ (พันธุ์น้ี) ดีเวอร์ลดมลพิษ คืนอากาศสดชื่นให้โลกเรา

Page 31: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

31 ECo challenge

“Plants” offer much more than shade and pleasant, refreshing environment. For this world, the plants have long eased pollution, reduced carbon dioxide/chemical amount in the air, and contributed to ecological balance. So in this issue, Eco Cool is pleased to recommend some of the best flora strains “for combating air/water quality problems”.

Growing These Plants is Cool! ! !

Greener World, Less Pollution,

Better Air Quality

Whycanplantstacklepollution?Plants are photosynthetic. They take in pollutants and contaminants from air, water and soil.Throughphotosynthesisandtheuseofsolarenergy,carbondioxideabsorbedviatheirleavesandwaterabsorbedviatheirrootsbecomesugarsthatnourishtheirgrowth.Moreover,theplantsreleaseoxygenforthebenefitsofvariousotherlivingthingsontheEarth.Trees,therefore,canbecomparedtonaturalfiltersfortheenvironment.Thetreeshavereducedcarbondioxideandvariousgreenhousegases,whicharewidelyblamedforglobalwarming.

Conducted by Dr. B.C. Wolverton, a NASA Clean Air Study reveals that most tropical plants in the tropical zones like Thailand are air-filtering.Theycanhandlecarbondioxide,benzene,formaldehyde,ammonia,xylene,tulene,andmanymore.Basedonmorethan 25yearsofinformationgathering,thestudyfindsthat:

Ornamental plants with outstanding ability to improve indoor air quality include AloeVera,Dieffenbachia,Epipremnumaureum,BanyanTree,Fiscusbenjamina,RedEmeraldPhilodendron,Zamioculcaszamifolia,EnglishIvy,SpathiphyllumandHeartLeafPhilodendron.

Page 32: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

eco cool

32 ECo challenge

กลุ่มไม้ดอกไม้ประดับที่มีประสิทธิภาพในการก�าจัดสารพิษสามารถดูดซับสารพิษ 4ชนิดนี้ได้ดีคือฟอร์มาลดีไฮด์ไตรครอโร- เอทิลีนเบนซีนและคาร์บอนมอนอกไซด์ได้แก่ปาล์มไผ่เขียวหมื่นปีตีนตุ๊กแกฝรั่งลิ้นมังกรจันผาขอบแดงวาสนาวาสนาอธิษฐานวาสนาราชินีเดหลีเยอร์บีราเบญจมาศกวักมรกตสับปะรดสีว่านหางจระเข้กระบองเพชรและกล้วยไม้ ใบหนาบางชนิด เช่นกล้วยไม้สกุลแวนด้า-ช้าง-ม็อคคาร่า-ฟาแลนนอปซิสรวมทั้งกล้วยไม้สกุลหวาย

นอกจากนี้ยังมีผลการศึกษาของอาจารย์เอกวัล ลืมพร้อมชัย คณะวิทยาศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พบว่ายังมีต้นไม้ที่ ช่วยลดมลภาวะในอากาศได้ดีคือ ต้นเข็มและต้นโมกมีประสิทธิภาพในการย่อยสลายมลพิษทางอากาศที่เกิดจากการเผาไหม้ของเชื้อเพลิงท่ีใช้กับรถยนต์และจากโรงงานอุตสาหกรรมได้ดี

นอกจากต้นไม้ลดมลพิษหลากหลายชนิดดังกล่าวยังมีพันธุ์ไม้ช่วยบ�าบัดน�้าเสีย โดยมูลนิธิชัยพัฒนาได้เสนอหลักการท่ัวไปของระบบปรับคุณภาพน�้าด้วยพืชท่ีมีคุณสมบัติพิเศษคือต้องเป็นพืชที่ชอบน�้าสามารถทนต่อสภาวะออกซิเจนในน�้าน้อยได้พอสมควรและมีการเจริญเติบโตที่ดีในอัตราที่ควบคุมได้ซึ่งสามารถน�ามาเพาะปลูกเพื่อใช้ ในการบ�าบัดน�้าเสียได้ดีโดยแบ่งเป็น3กลุ่มได้แก่

พืชลอยน�้า และพืชพ ้นน�้ า เป ็นพืชที่สามารถเจริญเติบโต อยู่ในน�้าท่ีมีความลึกไม่เกิน1เมตรได้แก่แพงพวยน�้าผักตบชวาบัวฯลฯ

พืชแช่น�้า และพืชชายน�้าเป็นพืชท่ีสามารถเจริญเติบโตอยู่ในน�้าท่ีมีความลึกไม่เกิน30เซนติเมตรได้แก่พุทธรักษาปักษาสวรรค์ธูปฤๅษีเตยและกก

พืชใต้น�้า เป็นพืชท่ีสามารถด�ารงชีวิตอยู ่ใต้น�้าได้และยังเป็นอาหารของสัตว์น�้าด้วย ได้แก่สาหร่ายหางกระรอกสาหร่ายฉัตรดีปลีน�้ า ฯลฯ โดยรากของพืชใต ้น�้ าเหล ่าน้ีสามารถดูดของเสีย สารอินทรีย ์ และแร ่ธาตุที่พืชต ้องการซึ่งปนมากับน�้าจึงช ่วยให้ คุณภาพน�้าดีขึ้น

ต้นไม้ จึงเป็นพืชที่มีคุณประโยชน์ต่อสิ่งมีชีวิตและโลกของเราอย่างยิ่ง ดังน้ัน พวกเราจึงควรมาช ่วยกันปลูกต ้นไม ้ เพื่อคืน ความชุ่มชื้น และสร้างอากาศบริสุทธ์ ให้โลกเราน่าอยู่ตลอดไป

ตีนตุ๊กแกฝรั่ง (Hedera helix)

กวักมรกต (Zamioculcas zamifolia)

พันธุ ์ ไม้ช่วยบ�าบัดน�้าเสีย ต้องเป็นพืชที่ชอบน�้า สามารถทนต่อสภาวะออกซิเจนในน�้าน้อยได้พอสมควร

สาหร่ายหางกระรอก (Hydrilla verticillata)

Page 33: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

33 ECo challenge

Devil's Ivy

Common indoor plants may provide a natural way of removing toxic agents such as benzene, formaldehyde and trichloroethylene from the air

A study by Chulalongkorn University’s lecturer Ekawan Luepromchai also reveals that the leaves of the Ixora and Moke trees are effective in easing air pollution.

Bamboo palm

Ornamental plants with solid ability to absorb toxic substances namely formaldehyde,trichloroethylene,benzeneandcarbonmonoxideareBambooPalm,Aglaonema,Hederahelix,Mother-in-lawsTongue,Marginata,JanetCraig,CornCane,Warneckei,PeaceLily,GerberaDaisy,PotMum,Zamioculcaszamifolia,Bromeliad,AloeVera,Cactus,andsomethick-leavedorchidssuchasthosefromthefamiliesofRhynchostylis,Vanda,MokaraPhalaenopsisandDendrobium.

A study by Chulalongkorn Univer-sity’s lecturer Ekawan Luepromchai also reveals that the leaves of the Ixora and Moke trees are effective in easing air pollution.Theycaneradicatepollutantsfromthecombustionofvehicleenginesandfactories.

Several other strains of plants, meanwhile, are good at treating polluted water. According to the Chaipattana Foundation, the plants suitable for water treatment mustenjoyaquaticenvironment,copewellwiththelowlevelofoxygeninwater,andreproduceinacontrollablemanner.Inall,thefoundationhasrecom-mendedthreefollowinggroupsofplantsfortheimprovementofwaterquality.

Floating plants and emerging plants: Theycanthriveinwateroflessthanonemeterindepth.TheyincludeCreepingWaterPrimrose,Lotus,andWaterHyacinth.

Swamp plants and marginal plants: Theycangrowinwateroflessthan30centimetersindepth.TheyincludeIndianShots,BirdofParadise,Cattail,PandanandSedge.

Submerged plantsareplantsthatgrowinaquaticenvironmentandserveassourcesoffoodforaquaticanimals.TheseplantsincludeHydril la,AmbuliaandPondweed.Theirrootscanabsorbtoxin,organicsubstancesandmineralsinthewater,thusallowingthewaterqualitytoimprove.

In all, plants are extremely useful and important to not just the world but also all living things. We, therefore, should grow plants to nourish the environment, create purer air and make this world a pleasant place to live in now and forever.

Page 34: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

Communities

34 ECo challenge

ดร.วีรพงศ์ไชยเพิ่มผู้ว่าการการนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)เป็นประธานลงนามสัญญาร่วมด� า เ นิ น ง า น จั ด ตั้ ง นิ ค มอตุสาหกรรมอดุรธานีจงัหวดัอุดรธานีระหว่างกนอ.และ

I-EA-TDr.VerapongChaiperm p r es i ded ove r a con t r ac t s i gn i ng ceremonybetweentheI-EA-Tand UdonThaniIndustrialCityCo.,Ltd.tosetuptheUdonThaniIndustrialEstateinUdonThaniProvince.Covering2,219raioflandinNonSoongandNongPaiSub-Districts,MuaungDistrict,theindustrialestateaimstobecomeakeyecoindustrialestate attractingelectronics,autoparts,electricityapp l iance , andrubber p rocess ing industries.TheUdonThaniIndustrialEstateisscheduledtogointofulloperationby2015.

ลงนามสัญญาร่วมด�าเนินงานจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมยามาโตะContract Signing to Set Up

Yamato Industrial Estate

ดร. วีรพงศ ์ ไชยเ พ่ิม ผู ้ ว ่ าการการนิคมอุตสาหกรรมแห ่งประเทศไทย(กนอ.) เป็นประธานลงนามสัญญาร่วมด�าเนินงานจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมยามาโตะอินดัสทรีส์จังหวัดชลบุรีระหว่างกนอ.และบรษิทัอเมรกินับวิเดอร์จ�ากัดในรปูแบบนคิมอตุสาหกรรมร่วมด�าเนนิงานกับกนอ.พื้นที่โครงการประมาณ690ไร่ ในท้องที่ต�าบลหนองใหญ่อ�าเภอหนองใหญ่จังหวัดชลบุรีเพื่อรองรับการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมโดยมีเอกชนผู้ลงทุนพัฒนาและให้บริการระบบสาธารณูปโภคและเป็นคลัสเตอร์หลักของอุตสาหกรรมไฟฟ้าและเทคโนโลยีอื่นๆมีการน�าหลัก EcoIndustrialมาใช้ ในการพัฒนานิคมฯมุ่งสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อทุกภาคส่วนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างยั่งยืนถือเป็นการพัฒนาที่มีประสิทธิภาพอีกโครงการหน่ึง

I-EA-TDr.VerapongChaipermpresidedoveracontractsigningceremonybetweentheI-EA-TandAmericanBuilderCo.,Ltd.,agreeingtosetuptheYamatoIndustrialEstatein

NongYaiSub-District,NongYaiDistrictinChonburiProvince.Covering690raiofland,thejoint-ventureindustrialestateaimsto become one of main eco industrial clusters for electrics and technologiesindustriesforsustainabilityandwell-beingsofallparties.

ลงนามสัญญาร่วมด�าเนินงานจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมอุดรธานี Contract Signing to Set Up

Udon Thani Industrial Estate

บริษัทเมืองอุตสาหกรรมอุดรธานีจ�ากัดในรูปแบบนิคมอุตสาหกรรมร่วมด�าเนินงานกับกนอ.พื้นที่โครงการประมาณ2,219ไร่ในท้องที่ต�าบลโนนสูงและต�าบลหนองไผ่อ�าเภอเมืองจังหวัดอุดรธานีเพื่อรองรับการขยายตัวภาคอุตสาหกรรมโดยมีเอกชนผู้ลงทุนพัฒนาและให้บริการระบบสาธารณูปโภคอุตสาหกรรมเป้าหมายอุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ชิ้นส่วนยานยนต์ ชิ้นส่วนหรืออุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าและอุตสาหกรรมต่อเนื่องจากยางพารามีการน�าหลักEcoIndustrialมาใช้ ในการพัฒนานิคมฯมุ่งสู่การเป็นเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศเพื่อทุกภาคส่วนสามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างย่ังยืนคาดว่าจะด�าเนินการพัฒนาได้ภายในปี2558

Page 35: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

35 ECo challenge

ดร.วีรพงศ์ไชยเพิ่มผู้ว่าการกนอ.ประชุมหารือผู้ประกอบการ ในนิคมฯบางชันโดยขอความร่วมมือทุกโรงงานให้ความส�าคัญในการจัดท�าแผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินตรวจสอบระบบความปลอดภัยต่างๆภายในโรงงานระบบสัญญาณเตือนภัยระบบขนส่งและเส้นทางเดินรถ(Logistics)ทางเข้า-ออกและการเตรียมความพร้อมท้ังด้านการส่ือสารการอพยพคนงานตลอดจนจัดท�าบัญชีรายช่ือสารเคมีต่างๆที่ใช้ภายในโรงงานให้แก่หน่วยงานต่างๆที่เกี่ยวข้องเพื่อเป็นฐานข้อมูลท้ังนี้มอบหมายให้ผู ้อ�านวยการส�านักงานนิคมฯต่างๆและผู้พัฒนานิคมฯ ทุกแห่งทั่วประเทศแจ้งก�าชับผู้ประกอบการให้เพิ่มความระมัดระวังในการปฏิบัติงานของเจ้าหน้าที่ เพื่อความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินลดการสูญเสียหากเกิดเหตุฉุกเฉินสามารถร่วมกันบริหารจัดการได้อย่างทันท่วงที

I-EA-TGovernorDr.VerapongChaipermmetwith industrialoperatorsinBangchanIndustrialEstatetoaskforallindustrial plants’ cooperation in designing emergency operations plan,inspectionofsafetysystem,alarmsystem,logistics system,andpreparednessforcommunicationsandevacuation,aswellasmakingdatabasesofallchemicalsused.Directorsofindustrial estate offices and industrial estate developers across thecountryareassignedtoinformtheiroperatorstobemorecarefulabouttheiroperationstoreducelossoflivesandassetswhenanemergencyarises.

กนอ. คุมเข้มสถานประกอบการ ทบทวนแผนปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินI-EA-T Reviews Emergency Operations Plan

ตรวจระบบการบริหารจัดการน�้าเสียWaste Water Management Inspection

at Bangpoo Industrial Estate

ดร.วิฑูรย์สิมะโชคดีปลัดกระทรวงอุตสาหกรรมและ ประธานกรรมการกนอ.น�าคณะผู้บริหารระดับสูงหน่วยงานที่เกีย่วข้องและสือ่มวลชนลงพืน้ทีต่รวจระบบบรหิารจัดการการบ�าบดั น�้าเสียส่วนกลางในนิคมฯบางปูและตรวจสอบน�้าทิ้งที่ผ่านการบ�าบัดแล้วก่อนปล่อยสู่สาธารณะเพื่อความเช่ือมั่นและมั่นใจให้แก่ประชาชนในการบริหารจัดการอย่างเป็นระบบและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานโดยมีดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่มผู ้ว่าการกนอ. และผู ้บริหารระดับสูง เข้าร ่วมณนิคมอุตสาหกรรมบางปู วันที่9พฤษภาคม2557

OnMay9,2014IndustryMinistry’sPermanent SecretaryandChairmanoftheI-EA-TBoardDr.WitoonSimachokedeeledanexecutiveteamofinvolved organizationandmediainavisittoBangpooIndustrialEstateforaninspectionofitswastewatermanagementsystem.Thevisitaimedtoincreaseconfidenceamongthepublicthattheindustrialestatehasmanageditswastewaterusingastandard,reliablesystem.ThevisitwasjoinedbyI-EA-TDr.VerapongChaipermandateamofseniorexecutives.

Page 36: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

Communities

36 ECo challenge

ดร.วีรพงศ์ไชยเพิ่มผู้ว่าการกนอ.และผู้บริหารระดับสูงร่วมงานสัมมนาประจ�าปี2557“TBCSDหนึ่งแรงผลักดันมุ่งมั่นสู่สังคมสีเขียว:MomentumforGreenChange”เพื่อเผยแพร่องค์ความรู้และการด�าเนินงานของTBCSDและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ในการด�าเนินงานเพ่ือสิ่งแวดล้อมและสังคมในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจสังคมและสิ่งแวดล้อมไทยให้ยั่งยืนต่อไป ในอนาคตจัดโดยองค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนณโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซ่าลาดพร้าววันที่19พฤษภาคม2557

I-EA-TGovernorDr.VerapongChaipermandI-EA-Texecutivesjoineda“2014TBCSD:MomentumforGreenChange”seminarattheCentaraGrandPlazaLadpraoHotelonMay19,2014.TheseminarwasheldbytheThaiBusinessCouncilfor SustainableDevelopment(TBCSC)tointroduceitsworksandexchangeexperiencesinsocialandenvironmentalactivitiesforsustainabilityofThailand’seconomy,societyandenvironment.

ศึกษาดูงานการจัดการกากของเสียแบบครบวงจรComprehensive Solid Waste Management System Study Trip

ดร.วีรพงศ์ ไชยเพิ่ม ผู ้ว ่าการ กนอ. น�าคณะผู ้บริหารกนอ. และกลุ ่มเครือข่าย ความร ่ วมมืออุตสาหกรรม( Indus t r i a l DevelopmentNetworkหรือIDNet)ศึกษา ดูงานการจัดการกากของเสียแบบครบวงจร ในภาคอุตสาหกรรมของบริษัทจีโอไซเคิล(ประเทศไทย)จ�ากดัจงัหวดัสระบรุีซึง่ให้บรกิารด้านการจัดการกากของเสียครบวงจรส�าหรับโรงงานอุตสาหกรรมด้วยระบบที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมวันที่22พฤษภาคม2557

I-EA-TGovernorDr .VerapongChaiperm,I-EA-TexecutivesandmembersoftheIndustrialDevelopmentNetwork(IDNet)paidastudytriptoGeocycle(Thailand)Co.,Ltd.inSaraburiProvinceonMay22,2014.Geocycle(Thailand)isawastespecia l is t ,provid ingenvi ronmental responsiblewastemanagementsolutionstoindustries.

หนึ่งแรงผลักดัน มุ่งมั่นสู่สังคมสีเขียวGaining Momentum for Green Change

Page 37: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

37 ECo challenge

นางสาวสมจินต์พิลึกรองผู้ว่าการกนอ.ร่วมงานแถลงข่าวและร่วมแสดงความมุ่งมั่น7องค์กรภาคีร่วมประกาศเจตนารมณ์ในการส่งเสริมอารยสถาปัตย์หรือUniversalDesignในองค์กรกลุ่มภาคธุรกิจอุตสาหกรรมถือเป็นแรงขับเคลื่อนท่ีส�าคัญของประเทศในการ ส่งเสริมอารยสถาปัตย์ปรับปรุงอาคารสถานที่ เพื่ ออ� านวยความสะดวกและสร ้ างความ เท่าเทียมกันให้แก่คนทุกกลุ ่ม ให้สามารถ เข้าถึงและใช้งานได้อย่างสะดวกและปลอดภัยณโรงแรมเซ็นทาราแกรนด์เซ็นทรัลพลาซ่าลาดพร้าววันที่19พฤษภาคม2557

OnMay19,2014,attheCentaraGrandPlazaLadpraoHotel ,I-EA-TDeputyGovernorMs.SomchinPiluek attendedapressconferenceandjoinedthesevenorganizationalliancesina commitmenttopromotingUniversal Designsintheirownorganizations.Theindustrialsectorisamongkeyinitiators inapplyinguniversaldesignsintheir building construction and improvement inordertoprovideconvenience,safetyandequalaccesstoallgroupsofpeople, includingthedisables.

องค์กรส่งเสริมอารยสถาปัตย์Industrial Organizations to Promote Universal Designs

นางสาวสมจินต์พิลึกรองผู้ว่าการกนอ.ร่วมแสดงความยินดีกับบริษัทกันยงอีเลคทริกจ�ากัด(มหาชน)ผู้ผลิตและจ�าหน่ายผลิตภัณฑ์เครื่องใช้ไฟฟ้ารายใหญ่ภายใต้เครื่องหมายการค้า“มิตซูบิชิอีเล็คทริค”จัดงาน“KYE50ปีเพื่อพรุ่งน้ีที่ดีกว่า”เพื่อแสดงความภูมิใจและประกาศเจตนามุ่งมั่นพัฒนาให้เติบโตอย่างยั่งยืนรวมถึงการเตรียมความพร้อมเพื่อขยายการส่งออกจากไทยสู่ตลาดโลกอย่างต่อเน่ืองณโรงแรมพลาซ่าแอทธินีเมื่อวันที่29พฤษภาคม2557

I-EA-TDeputyGovernorMs.SomchinPiluekcongratulatesKanYongElectricPublicCompanyLimited,aleadingproducerofelectricalappliancesunder“MitsubishiElectric”brandonits50thanniversary.The“50YearsofKYEforBetterTomorrow”fairwasheldatthePlazaAttheneeHotelonMay29,2014toannounceitscontinuouscommitmentforsustainablegrowthanditsreadinessinglobalexportexpansion.

ร่วมแสดงความยินดีCelebrating 50th Anniversary of Kan Yong Electric PLC

Page 38: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

Communities

38 ECo challenge

กนอ.ร่วมกับส�านักงานตรวจคนเข้าเมือง(สตม.)กรมการจัดหางาน(กกจ.)บริษัทอมตะคอร์ปอเรชันจ�ากัด(มหาชน)และบริษัทอมตะฟาซิลิตี้จ�ากัดในการเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการภายใต้ “โครงการมิติใหม่การให้บริการคนต่างด้าวในนิคมอุตสาหกรรม(MobileService)” เป็นการให้บริการกรณีการขอขยายระยะเวลาการอยู่ของช่างฝีมือ ผู้ช�านาญการและครอบครัวและการแจ้งพ้นช่างฝีมือผู้ช�านาญการและครอบครัวและบริการอื่นๆที่เกี่ยวข้องให้แก่ผู้ประกอบกิจการในนิคมอุตสาหกรรมที่ตั้งอยู่ในพื้นท่ีจังหวัดชลบุรีเพื่อให้ได้รับความสะดวกรวดเร็วประหยัดค่าใช้จ่ายและเวลาในการเดินทางในการรับบริการแบบเบ็ดเสร็จครบวงจรโดยไม่มีค่าใช้จ่ายในการด�าเนินการแต่อย่างใดโดยจัดให้บริการแก่ผู้ประกอบการในนิคมอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดชลบุรีซึ่งมีนิคมอุตสาหกรรมที่เปิดด�าเนินการแล้วจ�านวน6นิคมฯมีผู้ประกอบการรวมประมาณ1,000โรงงานให้บริการเดือนละ1ครั้ง(ทุกวันพฤหัสบดีที่2ของเดือนเริ่มต้ังแต่เดือนพฤษภาคม-กันยายน2557)ณศูนย์บริการส่วนหน้านิคมอุตสาหกรรมอมตะนครจังหวัดชลบุรี

TheI-EA-T,incollaborationwiththeImmigrationBureau,DepartmentofEmployment,AmataCorporationPLC,andAmataFacilityCo.,Ltd.,inenhancingI-EA-Tserviceforexpatsunderthe“One-StopMobileService”project.Thefree-of-chargeserviceincludesvisarenewalsandterminationforskilllabors,expertsandfamiliesofbusinessoperatorsintheindustrialestatesinChonburiprovinces.Theone-stopmobileservicehassofarofferedmonthlyservicetosixindustrialestatescomprisingaround1,000factoriesoneverysecondThursdayofeachmonthfromMaytoSeptember2014attheFrontServiceCenterin AmataCityIndustrialEstateinChonburiProvince.

กนอ. จัดบริการ Mobile Service แบบครบวงจรI-EA-T One-Stop Mobile Service

ค่ายเยาวชนไทย หัวใจ ECOEco-Conscious Youth Camp

กนอ.จัดกิจกรรมค่ายเยาวชนไทยหัวใจEcoประจ�าปี2557ระหว่างวันที่11-13พฤษภาคม2557ณอุทยานสิ่งแวดล้อมนานาชาติสิรินธร จังหวัดเพชรบุรี โดยโครงการดงักล่าวด�าเนนิการมาอย่างต่อเนือ่ง เพื่อเป็นการสร้างจิตส�านึกในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมให้กับเยาวชนและส่งเสริม การมีส่วนร่วมของพนักงาน/ลูกจ้างในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคม โดยมี บุตรหลานพนักงานกนอ.และเยาวชนจากโรงเรียนรอบนิคมฯอายุระหว่าง11-16ปีซ่ึงในปีน้ีมีเยาวชนและพนักงานกนอ.ที่มีจติอาสาเป็นพีเ่ลีย้งเยาวชนเข้าร่วมกจิกรรมในโครงการฯจ�านวนประมาณ80คน

DuringMay11and13,2014, anEco-Consc iousYou thCamp washeldbyI-EA-TattheSirindhornInternationalEnvironmentParkinPetchburiProvince.Theannualcampisheldtoraiseanenvironmental awarenessandtopromotesocial responsibility and participation among youth.Thisyearthecampwasjoinedbymorethan80persons,includingI-EA-Tstaffchildren,studentsaged11to16f romschoo lsnear the industrialestate,andI-EA-Tstaffwhovolunteerstotakecareofthestudents.

Page 39: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย ได้ประกาศนโยบาย กนอ. ใสสะอาด .. .ซึ่ ง แสดงให ้ เห็นถึ งความมุ ่ งมั่ น ในการด�าเนินงานของ กนอ. ที่มีประสิทธิภาพ โปร่งใส เป็นธรรม ตรวจสอบได้ ให้ความส�าคัญในเร่ืองการปฏิบัติตามกฎหมาย และจริยธรรมของผู้บริหารและพนักงานในองค์กร โดยการให้ความคุ้มครองผู้ร้องเรียน ผู้ให้ข้อมูลหรือให้ถ้อยค�าเกี่ยวกับการกระท�าผิดวินัย หรือกฎหมาย การทุจริต ประพฤติมิชอบ ฝ่าฝืนจริยธรรม จรรยาบรรณของ กนอ.

กนอ. มุ่งสู่องค์กรใสสะอาด

หากพบเห็นการประพฤติมิชอบใดๆของผู้บริหารหรือพนักงานในองค์กรสามารถร้องเรียนเป็นหนังสือถึงฝ่ายตรวจสอบภายใน(ฝตน.)หรือฝ่ายทรัพยากรบุคคล(ฝทบ.)ที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย(กนอ.)หรืออีกหน่ึงช่องทางคือe-mail: [email protected]ซึ่งจะมีหน่วยงานตรวจสอบข้อเท็จจริงที่เป็นความลับและเป็นธรรม

บคุลากรของกนอ.ทกุระดบัมุ่งมั่นปฏิบัติหน้าที่เพื่อประโยชน์ขององค์กรและส่วนรวมเป็นส�าคญั มีจิตส� านึกและเที่ ยงธรรมใน หน้าที่ ผดุงเกียรติและศักดิ์ศร ีของข้าราชการ ให้ควรแก่ความไว้วางใจและความเชื่อมั่นของลูกค ้ า พันธมิตรที่ เกี่ ยวข ้อง ตลอดจนประชาชน ด�ารงตน ตั้ งมั่ น เป ็นแบบอย ่ างที่ ดี ง าม สมกับเป ็นข ้าราชการที่ดีของแผ่นดิน

I-EA-T:

SMART & TRANSPARENCY

MOVING FORWARDWITH

Page 40: วารสาร Eco Challenge เล่ม 3 ฉบับประจำเดือน เมษายน-มิถุนายน 2557

ตามแนวทางสูเมืองอุตสาหกรรมเช�งนิเวศ ธุรกิจของคุณสามารถเปนสวนหนึ่ง

ในการสราง "การลงทุนสีเข�ยว" ในภูมิภาคอาเซ�ยนไดการนิคมอุตสาหกรรมแหงประเทศไทย สรางฐานการผลิตและบร�การในรูปแบบเมืองอุตสาหกรรมเชิงนิเวศ รองรับการเปนศูนยกลางการลงทุนสีเข�ยวแหงภูมิภาคอาเซียน

พบ Eco Challenge e-Magazine App โฉมใหม! พรอมใหคุณอัปเดตเร�่องราว Eco ไดทุกที่

โหลดฟร� ไมมีคาใชจาย ทาง Appstore และ Playstore เพียงเสิรชคำวา Eco Challenge Magazine คุณก็รวมเปนสวนหนึ่ง ของเมืองอุตสาหกรรมเช�งนิเวศได!

SpecialIssue