สรุป E 734

17
สรุปสาระสําคัญ EA 734 การบริหารสถานศึกษา ( Educational Administration ) โดย..นายอลงกรณ สุขสังข สาขาวิทยบริการ จังหวัดบุรีรัมย ยุทธศาสตรการพัฒนาสถานศึกษาสูมาตรฐาน 1. พัฒนาบุคลากร - ไดแก ผูบริหาร ครู ผูปกครอง กรรมการสถานศึกษา สรางความรูความเขาใจใหทุกคนตระหนักวาเปนภาระกิจที่ตองทํา รวมกัน 2. จัดโครงสรางขององคกร - ดูภาพรวม กําหนดพรรณางาน จัดบริหารวิชาการ ถาโครงสรางไมชัดเจนโรงเรียนจะมีปญหา กระบวนการจัด โครงสรางเริ่มจากการศึกษาสภาพปจจุบัน จัดทําคูมือการพรรณางาน คือกําหนดบทบาทหนาที่ของบุคลากรแตละฝายดูวาซ้ําซอน/ตกหลนหรือไม ให ควบคุมงานงาย 3. พัฒนาระบบการบริหาร - ผูบริหารตองปรับเปลี่ยนกระบวนการบริหร ตองกระจายอํานาจใหบุคลากรในโรงเรียนมีสวนรวม รวมทั้ง บุคคลภายนอก เชน ผูปกครอง ชุมชน มีสวนรวม 4. พัฒนาการจัดการเรียนรู - ผูบริหารตองทําความเขาใจกับครูเรื่องหลักสูตร ซึ่งเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนา ทําความเขาใจเรื่องการจัดการ เรียนรู การสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูถือเปนมาตรฐานของครู ผูบริหาร นักเรียน และเปนมาตรฐานของการประเมินภายนอก ( ดู พรบ.42 . 22 ) ผูบริหารตองมีความรู ความสามารถในกระบวนการนิเทศภายใน 5. พัฒนาสื่อเทคโนโลยีและแหลงเรียนรู การพัฒนาการจัดการเรียนรูจะสําเร็จตองมีสื่อการเรียนรูซึ่งอาจใชวัสดุ /เทคโนโลยี การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ( SBM ) เปนรูปแบบการบริหารโรงเรียนที่สอดคลองกับแนวทางการบริหารตาม พรบ.การศึกษาแหงชาติ .. 2542 มีลักษณะสําคัญดังนี1) เปนการเนนลักษณะเฉพาะตัวของแตละโรงเรียนที่มีความแตกตางกัน 2) เปนการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง 3) เปนการบริหารแบบมีสวนรวม (Participation) เปนหลักสําคัญ 4) มีความเชื่อวาโรงเรียนบริหารจัดการตนเองได 5) ใหโรงเรียนมีอํานาจและความ รับผิดชอบโดยตรงตอการดําเนินงานของโรงเรียนดวยตนเอง 6) มีความเชื่อวาโรงเรียนมิใชเพียงเปนหนวยปฏิบัติตามนโยบาย หรือตามแผนงานที่หนวย เหนือกําหนดเทานั้น แตเปนหนวยปฏิบัติที่สามารถวิเคราะห ปญหา สามารถกําหนดนโยบาย วางแผน และบริหารจัดการไดดวยตนเอง 7) โรงเรียนจะมี อํานาจมากขึ้นในการตัดสินใจ - การวางแผนพัฒนาโรงเรียน - การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน - การพัฒนาบุคลากร - การจัดการเงินและการงบประมาณ การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน มีหลักการสําคัญ ดังนี1. การกระจายอํานาจ คือ การบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง คณะกรรมการโรงเรียนมีสวนรวมในการตัดสินใจ 2. การบริหารตนเอง สถานศึกษามีอิสระในการตัดสินใจดวยตนเองมากขึ้น ภายใตการบริหารแบบองคคณะบุคคล รูปแบบการบริหารโรงเรียนตาม สภาพความตองการและความจําเปนของโรงเรียน 3) การบริหารแบบมีสวนรวม ผูมีสวนรวมสามารถกําหนดนโยบายและแผน กําหนดหลักสูตรทองถิ่น รวมคิดรวมทํา 4) ภาวะผูนําแบบเกื้อหนุน เปนภาวะผูนําที่เนนการสนับสนุนและการอํานวยความสะดวก ไมใชสั่งการและชี้นํา 5) การพัฒนาทั้งระบบ ปรับทั้งเรื่องโครงสรางและวัฒนธรรมองคการ 6) ความรับผิดชอบที่ตรวจสอบได โรงเรียนตองพรอมรับการตรวจสอบมีองคกรอิสระทําหนาที่ตรวจสอบและถวงดุล บทบาทของผูบริหารสถานศึกษา ที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 1) การเปนผูนําทางวิชาการ 2) การบริหารงานแบบมีสวนรวม 3) การ เปนผูอํานวยความสะดวก 4) การประสานความสัมพันธ 5) การสงเสริมพัฒนาครูและบุคลากร 6) การสรางแรงจูงใจ 7) การประเมินผล 8) การ สงเสริมสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนา 9) การเผยแพรประชาสัมพันธ 10) การสงเสริมเทคโนโลยี สมรรถนะที่จําเปนของผูบริหาร 1. สามารถสรางศรัทธาใหแกครูและผูรวมงาน 2. ทํางานเปนทีม 3. เปนผูนําทางวิชาการ 4. มีวิสัยทัศน 5. มี ความคิดริเริ่มสรางสรรค 6. มีมนุษยสัมพันธดี 7. มีความรูความสามารถในการบริหาร 8. กลาตัดสินใจกลารับผิดชอบ 9. ซื่อสัตยโปรงใส 10. เปนผู ประสานงานที่ดี 11. เปนนักประชาธิปไตย 12. เปนผูอํานวยความสะดวกสนับสนุน 13. เปนแบบอยางที่ดี บทบาทของครู - เปนผูรวมงาน เปนผูตัดสินใจ เปนผูริเริ่มและเปนผูปฏิบัติ บทบาทผูปกครอง - มีสวนรวมสนับสนุนโรงเรียนและเสนอแนวทางแกปญหา

description

 

Transcript of สรุป E 734

Page 1: สรุป    E  734

สรุปสาระสําคัญ EA 734 การบริหารสถานศึกษา ( Educational Administration )

โดย..นายอลงกรณ สุขสังข สาขาวิทยบริการ ฯ จังหวัดบุรีรัมย

ยุทธศาสตรการพัฒนาสถานศึกษาสูมาตรฐาน 1. พัฒนาบุคลากร - ไดแก ผูบริหาร ครู ผูปกครอง กรรมการสถานศึกษา สรางความรูความเขาใจใหทุกคนตระหนักวาเปนภาระกิจที่ตองทํารวมกัน 2. จัดโครงสรางขององคกร - ดูภาพรวม กําหนดพรรณางาน จัดบริหารวิชาการ ถาโครงสรางไมชัดเจนโรงเรียนจะมีปญหา กระบวนการจัดโครงสรางเริ่มจากการศึกษาสภาพปจจุบนั จัดทาํคูมือการพรรณางาน คือกาํหนดบทบาทหนาที่ของบคุลากรแตละฝายดูวาซํ้าซอน/ตกหลนหรือไม ใหควบคุมงานงาย 3. พัฒนาระบบการบริหาร - ผูบริหารตองปรบัเปลี่ยนกระบวนการบริหร ตองกระจายอํานาจใหบคุลากรในโรงเรียนมีสวนรวม รวมทั้งบุคคลภายนอก เชน ผูปกครอง ชุมชน มีสวนรวม 4. พัฒนาการจัดการเรียนรู - ผูบริหารตองทําความเขาใจกับครูเรื่องหลักสูตร ซ่ึงเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนา ทาํความเขาใจเรื่องการจัดการเรียนรู การสอนแบบบูรณาการ การจัดการเรียนรูถอืเปนมาตรฐานของครู ผูบริหาร นกัเรียน และเปนมาตรฐานของการประเมินภายนอก ( ดู พรบ.42 ม. 22 ) ผูบริหารตองมีความรู ความสามารถในกระบวนการนิเทศภายใน 5. พัฒนาสือ่เทคโนโลยีและแหลงเรียนรู –การพัฒนาการจัดการเรียนรูจะสําเร็จตองมส่ืีอการเรียนรูซ่ึงอาจใชวัสด/ุเทคโนโลยี การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน การบรหิารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน ( SBM ) เปนรูปแบบการบริหารโรงเรียนที่สอดคลองกบัแนวทางการบริหารตาม พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 มีลักษณะสําคัญดังนี ้ 1) เปนการเนนลกัษณะเฉพาะตัวของแตละโรงเรียนที่มีความแตกตางกนั 2) เปนการกระจายอํานาจการบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง 3) เปนการบริหารแบบมีสวนรวม (Participation) เปนหลักสําคัญ 4) มีความเชื่อวาโรงเรียนบริหารจัดการตนเองได 5) ใหโรงเรียนมีอํานาจและความรับผิดชอบโดยตรงตอการดําเนนิงานของโรงเรียนดวยตนเอง 6) มีความเชื่อวาโรงเรียนมิใชเพียงเปนหนวยปฏิบัติตามนโยบาย หรือตามแผนงานที่หนวยเหนือกําหนดเทานั้น แตเปนหนวยปฏิบัติที่สามารถวิเคราะห ปญหา สามารถกําหนดนโยบาย วางแผน และบริหารจัดการไดดวยตนเอง 7) โรงเรียนจะมีอํานาจมากขึ้นในการตัดสินใจ - การวางแผนพัฒนาโรงเรียน - การจัดการเรียนการสอนและการพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน - การพัฒนาบุคลากร - การจัดการเงินและการงบประมาณ การบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน มีหลักการสําคัญ ดังนี้ 1. การกระจายอํานาจ คือ การบริหารจัดการไปยังโรงเรียนโดยตรง คณะกรรมการโรงเรียนมีสวนรวมในการตดัสินใจ

2. การบริหารตนเอง สถานศึกษามอีิสระในการตดัสินใจดวยตนเองมากขึ้น ภายใตการบริหารแบบองคคณะบุคคล รูปแบบการบริหารโรงเรียนตามสภาพความตองการและความจําเปนของโรงเรียน 3) การบริหารแบบมสีวนรวม ผูมีสวนรวมสามารถกาํหนดนโยบายและแผน กําหนดหลกัสูตรทองถิน่ รวมคิดรวมทํา 4) ภาวะผูนําแบบเกื้อหนุน เปนภาวะผูนําที่เนนการสนบัสนุนและการอํานวยความสะดวก ไมใชส่ังการและชี้นํา 5) การพัฒนาทั้งระบบ ปรับทั้งเรื่องโครงสรางและวัฒนธรรมองคการ 6) ความรับผดิชอบที่ตรวจสอบได โรงเรียนตองพรอมรับการตรวจสอบมีองคกรอิสระทาํหนาที่ตรวจสอบและถวงดุล ♣ บทบาทของผูบริหารสถานศกึษาที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน 1) การเปนผูนําทางวิชาการ 2) การบริหารงานแบบมีสวนรวม 3) การเปนผูอาํนวยความสะดวก 4) การประสานความสมัพันธ 5) การสงเสริมพัฒนาครูและบุคลากร 6) การสรางแรงจูงใจ 7) การประเมินผล 8) การสงเสริมสนับสนุนการวิจัยและการพัฒนา 9) การเผยแพรประชาสัมพนัธ 10) การสงเสริมเทคโนโลยี ♣ สมรรถนะที่จาํเปนของผูบริหาร 1. สามารถสรางศรัทธาใหแกครูและผูรวมงาน 2. ทํางานเปนทมี 3. เปนผูนําทางวิชาการ 4. มีวิสัยทัศน 5. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค 6. มีมนุษยสัมพันธดี 7. มีความรูความสามารถในการบริหาร 8. กลาตัดสินใจกลารับผดิชอบ 9. ซ่ือสัตยโปรงใส 10. เปนผูประสานงานที่ด ี 11. เปนนักประชาธิปไตย 12. เปนผูอํานวยความสะดวกสนับสนนุ 13. เปนแบบอยางทีด่ี ♣ บทบาทของคร ู - เปนผูรวมงาน เปนผูตดัสินใจ เปนผูริเริ่มและเปนผูปฏิบัต ิ♣ บทบาทผูปกครอง - มีสวนรวมสนับสนุนโรงเรียนและเสนอแนวทางแกปญหา

Page 2: สรุป    E  734

2 บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาที่มีการบริหารโดยใชโรงเรียนเปนฐาน

1. การเปนผูนําทางวิชาการ – โดยใหการสงเสริมและสนับสนนุการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการจัดการเรียนการสอนทีเ่นนผูเรียนเปนสําคัญ มีการวางแผน มีนโยบายและยุทธศาสตรเพื่อการปฏิรูปการเรียนรูของสถานศึกษาอยางชดัเจน 2.การบริหารแบบมีสวนรวม – มีการบริหารอยางอิสระ บริหารงานในรูปแบบของคณะกรรมการสถานศึกษา เนนการมีสวนรวมทั้งครูและบุคลากรภายในโรงเรียน บุคคลและหนวยงานภายนอกโรงเรียน 3. การเปนผูอํานวยความสะดวก - อํานวยความสะดวกใหแกบคุลากร เชน หนังสือ ตํารา เทคโนโลยี การจัดสภาพแวดลอมแหงการเรียนรู จัดบรรยากาศของโรงเรียนใหอบอุนใหผูเรียนรักที่จะเรียนรู 4.การประสานความสัมพันธ - มีการประสานงานและสรางความสัมพันธอนัดกีับทุกฝายที่เกี่ยวของทั้งในและนอกสถานศกึษา เพือ่สรางเครือขายการสนับสนุนในดานตาง ๆ

5. การสงเสริมการพัฒนาครูและบคุลากร – โดยสงเสริมใหครูเขารับการฝกอบรม ประชุมสัมมนา ไปทศันศกึษา 6. การสรางแรงจูงใจ - มีทัศนคติในเชิงบวกกบัผูรวมงานมีความยืดหยุนกับการทํางานใหความสาํคัญของทีมงานและสรางแรงจูงใจในการทํางานดวยวิธีตาง ๆ

7.การประเมินผล - - สงเสริมการประเมินผลภายในสถานศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาชาต ิ 8. การสงเสริมสนับสนุนการวิจัยและพัฒนา - โดนสงเสริมและสนับสนุนการวิจัยและพัฒนาเพือ่สรางกระบวน

การเรียนรูในสถานศึกษาของครูและทีมงาน 9. การเผยแพรประชาสัมพันธ - การเผยแพรขอมูลขาวสารของโรงเรียนใหชุมชนและสาธารณชนทราบดวยวิธีการที่หลากหลาย เพือ่สรางความเขาใจซ่ึงกันและกนัและสรางการมีสวนรวมมากขึ้น 10. การสงเสริมเทคโนโลย ี - สงเสริมการใชเทคโนโลยีเพื่อใหทนัตอความเจริญกาวหนาทั้งในประเทศและตางประเทศ โรงเรียนนิติบุคคล ความเปนมา - การบัญญัติใหสถานศึกษาเปน นิตบิคุคล ในกฎหมายวาดวยระเบียบบรหิารราชการกระทรวงศึกษาธิการ พ.ศ.2546 ม.3 “ สถานศึกษาที่จดัการศึกษาขั้นพืน้ฐาน ตามมาตรา34(2) เฉพาะที่เปนโรงเรียนมีฐานะเปนนิติบุคคล” นับเปนการปฏิรูปการศกึษาครั้งสําคัญของประเทศไทย ซ่ึงสอดคลองกบั พรบ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิม่เติม(ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2545 วัตถุประสงคของสถานศึกษานติิบคุคล

1. เพื่อใหสถานศกึษามีอิสระ คลองตัวใหสามารถจัดการศึกษาไดสะดวก รวดเร็ว มีประสิทธิภาพตามหลักการกระจายอํานาจ 2. เพื่อใหการจัดการศึกษาเปนไปเพือ่พัฒนาคนไทยใหเปนมนษุยที่สมบูรณทั้งรางกาย จิตใจ สติปญญา ความรูและคุณธรรม มีจริยธรรมและ

วัฒนธรรมในการดํารงชีวิต สามารถอยูรวมกบัผูอื่นไดอยางมีความสุข การบริหารจัดการของสถานศกึษา ซ่ึงมีหนาที่ใหบริการการศึกษาแกประชาชนและเปนสถานศึกษาของรัฐ จึงตองนาํหลกัวาดวยการบริหารกิจการบานเมืองที่ดี ซ่ึงเรียกกันทั่วไปวา “ ธรรมาภิบาล ” มาบูรณาการใชในการบริหารและจัดการศกึษา หลกัการดังกลาว ไดแก หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปรงใส หลักการมีสวนรวม หลักความรับผิดชอบ หลักความคุมคา หลักธรรมาภิบาล ซ่ึงมีหลักการสําคัญอยู 6 ประการ ดังนี ้1. หลักนิติธรรม – ใชกฎหมายเปนเครื่องมือในการปฏิบัติงาน โดยคํานึงถึงผลทีจ่ะเกิดขึ้นตอนักเรียนและประชาชนเปนสําคัญ 2. หลักคุณธรรม - ยึดมั่นในความถูกตองดีงามในการปฏบิัติหนาที่เปนตัวอยางแกสังคม มคีวามซื่อสัตย จรงิใจ อดทน มีระเบียบวินัย ประกอบอาชีพที่สุจริต 3. หลักความโปรงใส - การทาํงานทุกขั้นตอนตองยึดหลักโปรงใส เพื่อสรางความไววางใจซึ่งกันและกัน ตรวจสอบไดใหโอกาสประชาชนเขาถึงขอมูลขาวสารไดสะดวก 4. หลักการมีสวนรวม - เปดโอกาสใหประชาชนและผูเกี่ยวของทุกฝายเขามาและเสนอความเห็นในการตัดสินใจปญหาสําคัญในการบริหารและจัดการศกึษา 5. หลักความรบัผิดชอบ - ตระหนักในสิทธิและหนาที่ของตนเองและผูอื่น สํานึกและรับผิดชอบในการตัดสินใจที่สงผลตอการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึษา ยอมรับผลจากการกระทําของตนเอง 6.หลักความคุมคา – มีการบริหารจัดการและใชทรัพยากรอยางประหยัดและเกิดประโยชนสูงสุดตอการพฒันาคุณภาพการศึกษา ลักษณะการบริหารตามแนวปฏิรูป พ.ร.บ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542

1. เปนการบริหารแบบมีสวนรวม / การบริหารโดยองคคณะบุคคล 2. เปนการบริหารที่เนนการดาํเนินการจัดการศึกษา เพือ่พัฒนาคุณภาพการศึกษาองผูเรียน 3. เปนการบริหารทีใ่ชบุคลากรมอือาชีพ -วิสัยทัศนเปนผูนํามนุษยสัมพนัธ – มีใบประกอบวิชาชีพ – มีการพัฒนาตนเองเสมอ 4. เปนการบริหารทีต่องมีการตรวจสอบและประเมินตามมาตรฐาน – ภายใน - ภายนอก

Page 3: สรุป    E  734

5. เปนการบริหารที่เนนเปนพิเศษที่สถานศึกษา ใชการกระจายอํานาจการบริหาร 4 ดาน –( การบริหารวิชาการ,การบริหารงบประมาณ,การบริหบุคลากร , การบรหิารทั่วไป)

6. เปนการบริหารที่เนนการกระจายอาํนาจ ใหทองถิ่น ( เขตพื้นที่การศึกษา – สถานศกึษา ) 7. เปนการบริหารทีต่องอาศัยองคกรวชิาชีพ ( สภาครูและบุคลากรทางการศึกษา , องคกรกลางบริหารงานบุคคล) 8. เนนคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชพีมากขึน้ 9. เปนการบริหารที่เนนความทัดเทียมกัน(ดานปริมาณ , งบประมาณ ) 10. เปนการบริหารทีต่องประกันคุณภาพใหแกผูมีสวนไดเสีย ( ผูเรียน ผูปกครอง ชุมชน สังคม )

คุณลักษณะของผูบริหารสถานศึกษามืออาชพี ความเปนผูนําที่เขมแข็ง เปนผูนําการเปลี่ยนแปลง หมายถึง สามารถชักนําหรือสรางแรงจูงใจใหผูรวมงานเกิดการเปลี่ยนแปลงการปฏิบัติงานทาการศึกษาใหเปนไปตามเปาหมาย เปนผูมีวิสัยทัศน มีเปาหมายทางศึกษา เปนแบบอยางที่ดีของบุคลากรในสถานศึกษา มีบุคลิกภาพทีด่ี มีปฏิภาณไหพริบดี มีการตดัสินใจและแกปญหาไดดี มีมนษุยสัมพันธดี มีความรับผิดชอบสูง มีใจเปดกวางพรอมที่จะรับฟงผูอื่น มีความซื่อสัตยสุจริต ยุติธรรมคุณธรรมจริยธรรม มีความวิริยะอตุสาหะ อดทน เสียสละ มีความสม่ําเสมอมั่นคง มคีวามเชื่อมั่นในตนเอง มีความสามารถในการสื่อสาร มีความกในการพูดและการปฏิบัติ มีความตื่นตัวอยูเสมอ มสุีขภาพดี เปนผูประสานงานทีด่ี เปนนักพัฒนาและนักบรกิารสังคม รูจักพึ่งพาตนเองและสังคมความเปนประชาธิปไตย มีความรกัในสถาบันของชาติ และอนุรักษศานา ศิลปะ วัฒนธรรม ธรรมชาติและสิ่งแวดลอม การประกันคุณภาพการศึกษา พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 ไดกําหนดใหมีการประกนัคุณภาพการศึกษา ไวในมาตราตาง ๆ ดังนี ้ ม. 47 ระบุใหมีการประกนัคุณภาพการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาทุกระดับ ประกอบดวย 1) ระบบการประกันคณุภาพภาย2) ระบบการประกันคุณภาพภายนอก ม. 48 ใหถือวาการประกันคณุภาพภายในเปนสวนหนึ่งของกระบวนการบริหารการศึกษาเพื่อที่สถานศึกษาตองดําเนนิการอยางตอเนื่อง โดยมีการจัดทํารายงานประจําปเสนอตอหนวยงานตนสังกัด – หนวยงานที่เกี่ยวของ – เปดเผยตอสาธารณชน ม. 49 กําหนดใหสถานศกึษาทุกแหงตองไดรับการประเมินคุณภาพภายนอกอยางนอย 1 คร้ัง ในทุก 5 ป การประกนัคุณภาพการศึกษา การประกันคุณภาพ มี 2 ประการ คอื 1. การประกันคณุภาพภายใน หมายถึง การประเมินผลและการดําเนินการตรวจสอบคุณภาพ และมาตรฐานการศกึษาของสถานศึกษาจากภายใน โดยบุคลากรของสถานศึกษาเอง หรือโดยหนวยงานตนสังกัด เชน เขตพืน้ที่ สพฐ. กระทรวง ก็ถอืเปนหนวยงานภายในเชนกัน กระบวนการประกันคุณภาพภายใน 1. การเตรียมการ – 1) เตรียมความพรอมของบุคลากร – สรางความตระหนัก – สรางเสริมความรู - กําหนดความรับผดิชอบ 2) ศึกษาขอมลูสารสนเทศ – ผลการดําเนนิงานทีผ่านมา –นโยบายหนวยงานตนสังกดั –ขอมูลสารสนเทศโรงเรียนตนเอง - ฯลฯ 2. การดําเนนิการ – 1) Plan – จัดทําธรรมนูญโรงเรียน/แผนพัฒนาคุณภาพการศึกษา 2) Do – การปฏิบัตติามแผน – สนับสนุนสงเสริมอํานวยความสะดและนิเทศงานอยางตอเนื่อง 3) Check – การประเมินตนเอง – สรางจิตสํานึก – สรางทีมงาน - ประเมินอยางตอเนื่อง – ใหชุมชนมีสวนรวม ตดิตามแลกเปลี่ยนประสบการณ – จัดสรรทรัพยากร 4) Action -การปรับปรุง/นําไปใช -ผูเรียนนําไปใชพัฒนาตนเอง –ครูนําไปพฒันาการสอน – ผูบริหารนําไปควบคุมคุณภาพ– หนวยงานตนสังกดันําไปวางแผน– ผูปกครอง/ชุมชนใหความรวมมือชวยเหลือ 3. การรายงานผลการปฏิบัติงาน – 1) ผูเรียน,ผูปกครอง 2) กรรมการสถานศึกษา/ชุมชน 3) ครูและหนวยงานที่เกี่ยวของ 2. การประกันคณุภาพภายนอก หมายถึง การประเมินผลและตดิตามการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาจากภายนอก โดยสํานักงานรับรองมาตรฐานแบละประเมินคุณภาพการศึกษา ( สมศ. ) หรือบุคคล หรือ หนวยงานภายนอกที่ สมศ. รับรอง เพื่อเปนการประเมินคุณภาและใหมีการพัฒนาคุณธรรมและมาตรฐานการศึกษาของสถานศกึษา กระบวนการประกันคุณภาพการศึกษา 1. การควบคุมคณุภาพการศึกษา ( Quality Control ) - ใหความรูความเขาใจ สรางความตระหนักแกบคุลากร - จัดทําขอมูลสารสนเทศของโรงเรียน - จัดทํามาตรฐานการศกึษาของโรงเรียน ครูและผูบริหารตองแมนในมาตรฐาน - จัดทําคูมือดําเนินการประกันคณุภาพ เพื่อใหทกุคนเขาใจตรงกัน - จัดทําธรรมนูญโรงเรียน จัดทําแผนปฏบิัติการประจําป - ดําเนินการพฒันาคุณภาพการศึกษาของสถานศกึษา 2. การตรวจสอบ ทบทวนและปรับปรุงคุณภาพ( Internal Quality Audit and Intervention ) - กําหนดรูปแบบการประเมินตนเอง สรางเครื่องมือประเมินตนเอง ดําเนนิการประเมินตนเอง

3

าร

งว

มีลา มี

ใน

วก

Page 4: สรุป    E  734

- สรุปและรายงานผลตอผูบริหารโรงเรียน - วิเคราะหผลการประเมินเพือ่ปรับปรุงพัฒนา ดาํเนินการปรบัปรงุการพัฒนา

4

- จัดทาํรายงานประจาํป และพรอมรับการตรวจสอบจากหนวยงานตนสังกัด 3. การประเมินและรับรองคุณภาพจากภายนอก ( Quality Accreditation ) โดยองคกรภายนอกที่รับรองโดย สมศ. จุดประสงคของการประกันคุณภาพการศึกษา

1. เพื่อพัฒนาโรงเรียนใหมีคุณภาพมาตรฐาน 2. เพื่อใหครู ผูปกครอง ชุมชน สังคม เกิดความเชื่อมัน่วาโรงเรียนสามารถจัดการและพัฒนาผูเรียนไดอยางมีประสิทธิภาพ และผูเรียนมีคุณภาพตามมาตรฐานของหลักสูตร

การดําเนินการประกันคุณภาพการศึกษา ภาระงานของสถานศึกษาในการประกนัคณุภาพการศึกษา มีดังนี ้ 1. การศึกษาและเตรียมการ - ตั้งคณะทํางาน - การใหคําปรึกษา - การแตงตั้งคณะกรรมการ 2. การวางแผนประกันคุณภาพการศึกษา - การจัดทําขอมูลพื้นฐาน - การจัดทาํมาตรฐานคุณภาพของผูเรียน

- การจัดทาํธรรมนูญโรงเรียนที่มีแผนยุทธศาสตรในการพัฒนาโรงเรียน - การจัดทาํแผนปฏิบัติการ - การจัดทํามาตรฐานการปฏิบัติงาน 3. การดําเนินการประกันคณุภาพการศึกษา - ทบทวนแผน - พัฒนาบุคลากร - จัดส่ิงอํานวยความสะดวก - ดําเนินการ - นิเทศ กํากบั ติดตาม และประเมินผล 4. การตรวจสอบ ทบทวนคณุภาพการศึกษาของโรงเรียน (ประเมินภายใน) - เตรียมการ - ตรวจสอบประเมิน - สรุปรายงาน 5. การพัฒนาและปรับปรุง 6. การเตรียมการรับการประเมินจากหนวยงานภายนอกที่รับรองโดย สมศ.

การบริหารงานวิชาการ ( Academic Area ) การบริหารงานวิชาการ หมายถึง การบริหารกิจกรรมทุกชนิดในสถานศึกษา ซ่ึงเกี่ยวของกับการปรับปรุง พัฒนาการเรียนการสอนใหเกิดผลตามเปาหมายของหลกัสูตรอยางมีประสิทธิภาพ การบริหารงานวิชาการเปนหัวใจของการบริหารสถานศึกษา ที่ผูบริหารตองใหความสําคัญ กิจกรรมหลักของการบริหารงานวิชาการ 1. หลักสูตรและการบริหารหลกัสูตร 2. การจัดกระบวนการเรียนการสอน 3. การนิเทศภายใน 4. การวัดและประเมินผลการศกึษา 5. การประกันคุณภาพการศึกษา งานวิชาการเปนงานหลัก ที่พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 และที่แกไขเพิม่เติม (ฉบบัที่ 2 )พ.ศ. 2545 มุงกระจายอํานาจใหสถานศึกษามากที่สุด ดวยเจตนาที่จะใหสถานศึกษามีความคลองตัว รวดเร็วและสอดคลองกบัความตองการของผูเรียนสถานศกึษา ชุมชน ทองถิ่นและการมีสวนรวมจากผูมีสวนไดเสียทุกฝาย วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถานศึกษามีอิสระ คลองตัว รวดเร็วและสอดคลองกับความตองการของผูเรียน สถานศึกษา ชุมชน ทองถิน่ 2) เพื่อใหการบริหารและการจดัการศึกษาของสถานศึกษาไดมาตรฐานและมีคุณภาพสอดคลองกับระบบประกันคุณภาพการศึกษา และการประเมินคุณภาพภายในเพื่อพัฒนาตนเอง และการประเมินจากหนวยงานภายนอก 3) เพื่อใหสถานศึกษาพัฒนาหลกัสูตรและกระบวนการเรียนรูตลอดจนปจจัยเกือ้หนนุการพัฒนาการเรียนรูที่สนองตามความตองการของผูเรียนชุมชนและทองถิน่โดยยึดผูเรียนเปนสําคัญไดอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ 4) เพื่อใหสถานศึกษาไดประสานความรวมมือในการพัฒนาคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษาและของบุคคล ครอบครัว องคกร หนวยงาน และสถาบันอื่น ๆ กระบวนการบริหารงานวิชาการ 1. การวางแผนพัฒนา หรือการวางแผนเชิงกลยุทธ ประกอบดวย - การกําหนดวสัิยทัศน - การกําหนดภารกจิ หรือพันธกิจ - การกําหนดจุดมุงหมาย - การกําหนดกลยุทธ - การกําหนดแผนงาน/โครงการ 2. การนําแผนไปปฏบิัติ ประกอบดวย - การจัดองคการ (กําหนดหัวหนางาน ผูดําเนินการ ผูรับผิดชอบ) - การสั่งการหรือมอบหมายงาน - การควบคุมงาน - การติดตามกํากับ - การประสานงาน - การนเทศงาน 3. การประเมินผลการปฏิบัตติามแผน - ประเมินระหวางการดําเนินการ -ประเมินเมื่อส้ินสุดงาน - การรายงาน แนวคิดเพิ่มเติม 1. การบรหิารที่ดีคือ การมสีวนรวมของบุคลากรในสถานศึกษา 2. การดําเนนิงานทุกงานตองมีทีมงานที่มปีระสิทธิภาพ มีความรูสึกรับผิดชอบรวมกัน 3. ผูบริหารงานตองมีความรูสึกวาตนมีบทบาทที่จะตองสงเสริมสนับสนุน การสรางความรูสึกที่ดี การสรางความศรัทธาตองาน ขอบขายการบริหารงานวิชาการ 1. การบรหิารหลักสูตร ไดแก - การวิเคราะหหลักสูตรแกนกลาง - การกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของกับชุมชนทองถิน่ - การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา - การจดัทําหนวยการเรียนรู

Page 5: สรุป    E  734

2. การบรหิารการเรียนการสอน ไดแก - การรวบรวม วิเคราะหและกําหนดกจิกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงผูเรียนเปนสําคัญ - การกําหนด การเตรียมการ และการจดัหาส่ือการเรียนการสอน - การกําหนดวิธีการประเมินผลการเรียน - การจัดทําแผนการจดัการเรียนรูของครูผูสอนแตละคน - การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอน - การรวมกันแกปญหาที่เกิดขึ้น

5

3. การบรหิารการประเมินผลการเรียน ไดแก - การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือที่จะใชในการวัดและประเมินผล - การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการประเมินผลตามทีก่ําหนดไว -การจดัทําหลกัฐาน -การกําหนดรูปแบบ ระยะเวลารายงาน 4. การบรหิารการนิเทศภายในสถานศึกษา ไดแก - การทําความเขาใจกับบุคลากรทุกคน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลาการนิเทศภายใน - การควบคุมดูแล สงเสริม - การรวมกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้น 5. การพัฒนาบุคลากรทางวชิาการ ไดแก การวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับความรูความสามารถของบคุลากร - การกําหนดชวงเวลาของการพัฒนาเปนระยะ - การควบคุมดูแลใหมีการดาํเนินการตามที่วางแผนไว 6. การบรหิารการวิจัยและพัฒนา ไดแก - การทําความเขาใจ - การรวมกันกําหนดประเด็นปญหา - การควบคมุดูแลและสงเสริม 7. การบรหิารโครงการทางวิชาการอื่น ๆ ไดแก - การกําหนดหัวขอเร่ืองทางวชิาการที่เปนการสนับสนุน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลา - การควบคุมดูแลและสงเสริม 8. การบรหิารระบบขอมูลและสารสนเทศทางวิชาการ ไดแก - การกําหนดขอมูลสารสนเทศทางวิชาการ - การกาํหนดเวลาในการรวบรวมขอมลู - การควบคุมดูแลสงเสริม - การนําขอมูลสารสนเทศไปใช 9. การบรหิารการประเมินผลงานทางวิชาการของสถานศกึษา ไดแก - การกําหนดหัวขอประเมินผลงาน - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือในการประเมิน - การควบคุมดูแลสงเสริม - การสรุปผลและเขียนรายงานประจําป การพัฒนาหลักสตูรและกระบวนการเรียนรู การพัฒนาหลักสูตรสถานศกึษา หมายถึง การจัดทาํสาระของหลักสูตรในสวนที่เกี่ยวของกบัสภาพปญหาในชุมชน สังคม ภูมปิญญาทองถิน่ คุณลักษณะทีพ่ึงประสงค เพื่อเปนสมาชิกทีด่ีของครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศชาต ิข้ันตอนการพฒันาหลักสูตรระดับสถานศึกษา 1. ศึกษาองคประกอบของหลกัสูตร วากําหนดสาระสําคัญไวอยางไรบาง สอดคลองสัมพันธกันอยางไร 2. วิเคราะหขอบขายของการเรียนรูทั้งองคประกอบดานความรู ทักษะกระบวนการ คุณธรรม จริยธรรมและคานิยม 3. ศึกษาสภาพปญหาของชุมชนและสังคม ภูมปิญญาทองถิน่ ความตองการของชุมชนและสังคม 4. ปรับปรุงสาระการเรียนรูเพิ่มเติมในสวนที่ตองจัดใหสอดคลองกบัสภาพปญหาและความตองการของชุมชน 5. ตรวจสอบความตองการของสาระการเรียนรูเพิ่มเติมกับมาตรฐานการเรียนรูกลุมวิชาและมาตรฐานหลักสูตรการศกึษาขั้นพืน้ฐาน 6. วางแผนการจัดการเรียนการสอนตามขอบขายสาระการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู สัดสวน เวลาและหนวยกิตตามทีห่ลักสูตรแกนกลางกําหนด 7. พัฒนาแนวการจัดการเรียนการสอนเพื่อนําไปสูการจัดการเรียนรูในหองเรียน บทบาทของผูบริหารสถานศึกษากับการพัฒนาหลักสูตร

1. ชี้แจงทําความเขาใจกับคณะครู สรางความตระหนักถึงความสําคัญ 2. จัดใหมีการใหความรูเรื่องการพัฒนาหลักสูตร และการนําหลักสูตรไปใชจริง 3. จัดใหครูไดศึกษาวิเคราะหหลักสูตร พ.ศ. 2544 จนเขาใจแลวรวมกนัพัฒนาหลกัสูตร 4. สงเสริมและสนับสนุนใหครูพัฒนาการจัดการเรียนการสอน โดยใชกระบวนการจัดการเรียนรูที่หลากหลาย

ติดตาม ควบคุม กํากับ และประเมินผลการใชหลักสูตรของสถานศกึษา การวิจัยในชั้นเรียน ( Classroom Research ) เปนกระบวนการที่นาเชือ่ถอืและเปนระบบในการแสวงหาคําตอบ เพราะเปนการคิดคนและพัฒนาที่เปนการแกปญหา ( Problem Solving ) ในสภาพที่เปนจริงในชั้นเรียน เปนกระบวนการทางวทิยาศาสตรที่มุงแสวงหาคําตอบจากปญหาและขอสงสัยของครู เปนการคิดพัฒนานวตักรรมเพื่อใชในการแกปญหาและการเรียนการสอน ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนมีดังนี ้1. ปญหาการวิจัยเกิดจากการทํางานในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน 2. ผลจากการวิจัยเปนส่ิงที่ครูสามารถนําไปพัฒนาการเรียนการสอน 3. การวิจัยในชั้นเรียนดําเนินไปพรอมกับการเรียนการสอน การวิจัยมคีุณคาดังนี ้ 1) ทําใหผูบริหารโรงเรียนและครูไดทราบขอเท็จจริง ซ่ึงนํามาปรบัปรุงหรือพัฒนาภารกิจทีรั่บผิดชอบ 2) เปดโอกาสใหไดศกึษาคนควาวทิยาการใหม ๆ เปนการสงเสริมความกาวหนากวางขวางขึ้น 3) เปนการแกปญหาไดตรงจุด เปนการประหยัดเวลาและการลงทุน 4)

Page 6: สรุป    E  734

ชวยในการวางแผนการดําเนนิการแตละอยางไดอยางถูกตองและประสบความสําเร็จ 5) กระตุนความตระหนัก ความสนใจ ที่มีชวีิตชีวา 6) สงเสริมการสรางผลงานเพื่อความกาวหนาของโรงเรียนและตนเอง

การนิเทศภายในสถานศึกษา หมายถึง ความพยายามทกุชนิดของผูบริหารในการที่จะปรับปรุง สงเสริมประสิทธิภาพการเรียนการสอนภายในสถานศึกษาใหดีข้ึน เปนการเพิ่มพลังการปฏิบัติงานของครู รวมทั้งใหความกาวหนาในวิชาชพี ผลสุดทายคือ การศึกษาของเด็กกาวหนาไปอยางมีประสิทธิภาพ

6

การนิเทศภายใน มีจดุมุงหมายดังตอไปนี ้1. เพื่อใหสถานศกึษามีศักยภาพในการพัฒนาคุณภาพการเรียนรูใหสอดคลองกบัมาตรฐานหลักสูตร 2. เพื่อใหสถานศกึษาสามารถบรหิารและจัดการเรียนรูไดอยางมีคุณภาพ 3. เพื่อพัฒนาหลักสูตรและการเรียนรูใหมีประสิทธิภาพสอดคลองกับความตองการของชมุชน สังคม 4. เพื่อใหบุคลากรไดพัฒนาความรูทกัษะและประสบการณในการจดักจิกรรมการเรียนรู และพัฒนาวิชาชพี 5. เพื่อใหสถานศกึษาปฏิรูประบบบรหิาร โดยใหทุกคนมีสวนรวมในการคิดตัดสินใจรวมทํารวมรับผิดชอบ 6. เพื่อใหเกิดการประสานงานและความรวมมือระหวางผูเกี่ยวของ

ประโยชนของการนิเทศภายใน 1) ทําใหครูสอนไดตามเปาหมาย 2) ทําใหงานวิชาการเปนไปอยางมีระบบและตอเนือ่ง 3) ทําใหบุคลากรมองเห็นความสําคัญของงานวิชาการ เนนคุณภาพของผูเรียน 4)ชวยแกปญหาที่เกิดขึ้นอันจะมีผลกระทบตอคุณภาพการเรียนการสอน การนเิทศภายใน เปนการดําเนินการโดยผูบริหารสถานศึกษาและครู ตลอดจนบุคลากรภายในสถานศึกษา รวมกันปรับปรุงงานดานตาง ๆ เปนการสงเสริมและเพิ่มประสิทธิภาพการเรียนการสอน อันจะนาํมาซึง่คุณภาพของสถานศึกษาและของผูเรียนใหอยูในระดับที่นาพึงพอใจ การวัดและประเมินผลการศึกษา การวัดและประเมินผลการเรียนรู เปนกระบวนการที่ใหผูสอนใชพฒันาคุณภาพผูเรียน สถานศกึษาตองจดัทําหลกัเกณฑและแนวปฏบิัติในการวัดและประเมินผลการเรียนของสถานศกึษา เพื่อใหบุคลากรทุกฝายไดรวมปฏบิัติไปในแนวทางเดียวกัน 1) การวัดและประเมินผลระดบัชั้นเรียน - เพื่อมุงหาคําตอบวาผูเรียนมีความกาวหนาทั้งดานความรู ทักษะกระบวนการ คุณธรรม และคานิยมอันพึงประสงค เพียงใด 2) การวัดและประเมินผลระดบัสถานศึกษา - เปนการประเมินเพื่อตรวจสอบความกาวหนาดานการเรียนรูเปนรายชั้นป และชวงชั้น เพื่อสถานศึกษาจะไดนําขอมลูทีไ่ดไปใชเปนแนวทางในการปรับปรงุพัฒนาการเรียนการสอนและคุณภาพของผูเรียนใหเปนไปตามมาตรฐานความรู รวมทั้งเพื่อตัดสินการเลื่อนชวงชั้น 3) การวัดและประเมินผลระดับชาติ - ในชั้น ป.3 ป.6 ม.3 และ ม. 6 ในกลุมสาระ ไทย คณิต วิทย สังคม ฯ อังกฤษ และอื่น ๆ ตามที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด เพื่อนําขอมูลไปใชในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน และคุณภาพการศึกษาของสถานศึกษา

การบริหารงานธุรการในโรงเรียน (School Business Management)

งานธุรการ ไดแก งานที่เกี่ยวกบัเอกสารตาง ๆ ทีจ่ําเปนตองปฏิบัตทิั้งนี้เปนงานภายในและงานติดตอกบับุคคลหรือหนวยงานภายนอกหรอืเรียกวางานภายนอก เพือ่ใหสามารถดําเนินงานไปอยางมีประสิทธิภาพมากที่สุด ขอบขายงานธรุการ รศ. ดร.สมพิศ โหงาม : งานธุรการ มี 3 ประเภทใหญ ๆ 1) งานสารบรรณ 2) งานการเงิน 3) งานบริการตาง ๆ ลักษณะของงานสารบรรณที่ด ี 1. สามารถปฏิบัติไดรวดเร็วและประหยัดเวลา 2. กําหนดวิธีการราง โตตอบ รับ – สง เก็บ คน ทําลายหนังสือได รวดเร็วแมนยํา ชดัเจนถูกตอง สมบูรณ ประณีต สะอาด มีมาตรฐาน 3. รับลงทะเบยีนเก็บรักษาไดถกูตองตามระเบียบ เปนระบบ สืบคนและเสนอตอผูบงัคับบัญชาไดงาย 4. จัดทํารูปแบบของหนังสือที่ตองจัดทาํบอย ๆ เพื่อความรวดเร็ว 5. ใชเครื่องมือหรือเครื่องอาํนวยสะดวกเพือ่ความรวดเร็วและถกูตอง ลักษณะของเจาหนาที่งานสารบรรณที่ดี 1. รูระเบียบงานสารบรรณ 2. รูงานธุรการ 3. รูภาษาไทยเปนอยางดี 4. หัวหนางานสารบรรณตองรูจักปอนงานใหผูใตบังคับบัญชา

การจัดโครงสรางของสํานักงานที่พึงประสงค จุดประสงคของการจัดสํานักงาน

1. ใหบริการ สนับสนุน สงเสริม ประสานงาน และอาํนวยการใหการปฏิบัติงานของสถานศึกษาใหเปนไปดวยความเรียบรอย มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล

Page 7: สรุป    E  734

2. ประชาสัมพันธ เผยแพรขอมลูขาวสารและผลงานของสถานศึกษาตอสาธารณชน ซ่ึงจะกอใหเกิดความรู ความเขาใจ เจตคติที่ดี เลื่อมใส ศรัทธา ไปสูการใหการสนับสนุนในการจดัการศึกษา

สํานักงานคุณภาพ ประกอบดวย 7 � ผูบริหารบริหารคุณภาพ - หลักธรรมาภิบาล - กระจายอํานาจ - การมีสวนรวม � บุคลากรคณุภาพ - ไดรับการพัฒนา - มีการปรับปรุงพัฒนางาน - มีเจตคติที่ดีตอการบรกิาร � การบริการคุณภาพ - ตอบสนองภารกิจ - บริการสาธารณะ - มีการประเมินผล � รวดเร็วในการใหบริการ -- มีขอมูลประกอบการตัดสินใจ - โปรงใสตรวจสอบได - ถูกตองตามระเบียบกฎหมาย

� ประสิทธิภาพ ( E – OFFIC ) –สะดวก รวดเร็ว ประหยัด คุมคา กะทัดรัด ข้ันตอนนอย ใชคนนอย ใชเทคโนโลยี � กระจายอํานาจและการตัดสินใจ - หลักความรับผิดชอบ(เจาภาพ) - ลดข้ันตอนใหส้ันลง - ONE STOP SERVIC - กําหนดเวลาแลวเสร็จของงาน - ถูกตองตามระเบียบ กฎหมาย

การบริหารงบประมาณ การบริหารงบประมาณของสถานศึกษามุงเนนความเปนอิสระ ในการบริหารจดัการมีความคลองตวั โปรงใส ตรวจสอบได ยึดหลกัการบริหารมุงเนนผลสัมฤทธิแ์ละบริหารงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน ใหมีการจัดหาผลประโยชนจากทรพัยสินของสถานศึกษา รวมทั้งจัดหารายไดจากบรกิารมาใชบริหารจัดการเพื่อประโยชนทางการศึกษา สงผลใหเกิดคุณภาพที่ดข้ึีนแกผูเรียน วัตถุประสงค 1) เพื่อใหสถานศึกษาบริหารงานดานงบประมาณมีความเปนอิสระ คลองตัว โปรงใสตรวจสอบได 2) เพื่อใหไดผลผลิต ผลลพัธเปนไปตามขอตกลงการใหบริการ 3) เพื่อสถานศึกษาสามารถบริหารจัดการทรัพยากรที่ไดอยางเพียงพอและมีประสิทธิภาพ ขอบขาย/ภารกิจ การบริหารงบประมาณ 1) การจัดทําและเสนอของบประมาณ 2) การจัดสรรงบประมาณ 3) การตรวจสอบ ติดตามประเมินผลและรายงานผลการใชเงินและผลการดําเนินงาน 4) การระดมทรัพยากรและการลงทนุเพื่อการศึกษา 5) การบริหารการเงิน 6) การบริหารบัญชี 7) การบริหารพัสดุและสินทรัพยอืน่ที่จัดการศึกษา การบริหารงานงบประมาณและการเงินโรงเรียน ผูที่มีหนาที่เกี่ยวกบัการเงินควรจะมีความรูเกี่ยวกับเรื่องตาง ๆ ดังนี ้

1) รูประเภทของเงินที่เกี่ยวของกับโรงเรียน 2) รูเกี่ยวกับกฎหมายที่เกี่ยวของกับเงินนั้น ๆ 3) รูวิธีดําเนินการเบิกการรับจายเงินและการเก็บรักษาเงิน 4) รูจักทําการบัญช ี ทะเบยีน และการใชแบบพิมพตาง ๆ ที่เกี่ยวของ 5) รูวิธีการตรวจสอบและการควบคุมดแูลเกี่ยวกับการใชเงินของหนวยงาน

การจัดทํางบประมาณ ผูบริหารโรงเรียนควรพิจารณาจัดตั้งงบประมาณโดยยึดหลัก ดังนี้ 1. หลักความขาดแคลน โดยพิจารณาจาก - เกณฑมาตรฐาน - ปริมาณงานใหม 2. หลักความรีบดวนของปญหา - เรียงลําดับตามความจาํเปนเรงดวนของปญหา

3. หลักการชดเชย - เพื่อชดเชยสิง่ที่ชํารุดทรุดโทรมที่ไมสามารถซอมแซมได วิธีการจัดต้ังงบประมาณ 1. แตงตั้งคณะกรรมการจัดทํางบประมาณ 2. สํารวจความตองการ 3. แยกความตองการออกเปนกิจกรรมตาง ๆ 4. เรียงลําดับความสําคัญของงบประมารที่ตองการ 5. กําหนดเงินงบประมาณในแตละรายการ กลยุทธของสถานศึกษาในการจัดทํางบประมาณ 1. การศึกษาสภาพของสถานศึกษา - สํารวจวิเคราะหภารกิจหลัก สภาพแวดลอมทั้งภายในและภายนอก 2. กําหนดทิศทางของสถานศึกษา - เพื่อใหทราบความคาดหวงัของสถานศึกษาที่ตองการในอนาคต ดดยการกาํหนดวิสัยทัศน พนัธกิจ เปาประสงค 3. กําหนดยุทธศาสตรของสถานศกึษา ระบบบริหารแบบมุงเนนผลงาน (Performance Management System ) ระบบการบริหารแบบมุงเนนผลงาน เปนระบบที่เนนการพัฒนาคนใหเพิ่มผลงานใหองคกรทั้งในระยะสั้นและระยะยาว โดยอาศัยความรวมมือจากทุกคนในองคกร ผลงานของทุกคนจะถูกผกูโยงใหไปสูเปาหมายเดียวกัน สํานักงบประมาณ ไดนําระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงานมาใช เพราะเปนระบบครบวงจร ตั้งแตการวางแผน การจัดสรรงบประมาณ การจัดการที่เนนผลผลิต (Outputs) และผลลัพธ (Outcomes) ที่เกิดขึ้น ส่ิงสําคัญในการจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงานคือ การวดัการดําเนนิการ (Performance measures) ที่เปนการกําหนดหนวยนบัในการตรวจวัดและประเมินผลการดําเนินงาน การวัดผลการดําเนนิงานตองชัดเจน สมบูรณ สามารถนําไปใชไดจริงและเหมาะสมกับเวลา โดยใหครอบคลุมถึง - ปริมาณ คุณภาพ คาใชจาย และประสิทธิผลและทนัเวลาตามตองการ

Page 8: สรุป    E  734

หลักการของระบบงบประมาณแบบมุงเนนผลงาน 8

1. กําหนดภารกิจและผลผลิต ผลลัพธ การปฏบิัติงานอยางชัดเจน เปนเงือ่นไขการไดรับและใชจายเงิน 2. ผูบริหารมีอาํนาจในการดําเนินการตาง ๆ ตามความเหมาะสมและความจําเปน สอดคลองกับภารกิจ 3. เมื่อดําเนินการเสร็จส้ินและประสบผลสําเร็จตามเปาหมายหากมีเงินเหลือใหเก็บไวใชปตอไป 4. มีการปรับปรุงระบบการจดัซ้ือจดัจาง มีข้ันตอนรัดกมุและโปรงใส 5. ปรับปรุงระบบบญัชีและการเงินใหเชื่อมโยงกับการคํานวณความคุมคาเทียบกับผลผลิต 6. เนนการรายงานทางการเงินและผลการดําเนินการ เพือ่ความโปรงใสมีประสิทธิภาพประสิทธิผล 7. กําหนดใหมีการบริหารสินทรัพยทีม่ีอยูใหคุมคาที่สุด

แนวทางการจัดทํางบประมาณแบบมุงเนนผลงาน 1. กําหนดพันธกิจ จุดมุงหมาย และวัตถปุระสงคของแตละหนวยงานปฏิบตัอิยางชัดเจน โดยระบุ – บริการที่จะให - ลําดบัความสําคัญของบริการ - ประโยชนที่จะเกิดขึ้น - กลุมเปาหมายทีจ่ะไดรับประโยชน 1) . กําหนดจุดมุงหมายหรือเปาหมาย (Goal) เปนขอความกวางที่อธิบายผลลพัธที่ตองการ เพื่อชี้ทศิทางในอนาคต โดยระบุ – ขอความที่เปดกวาง มุงใหเห็นความสําคัญที่แทจริง - กลุมเปาหมายที่จะใหบริการและคนอื่นเขาใจไดงาย - จํานวนทีพ่อประมาณ เพือ่กาํหนดทศิทางและจดุหมายของแผนงาน 2) . กําหนดวัตถุประสงค (Objective) เปนขอความทีต่รวจวดัไดเกี่ยวกับผลสําเร็จของการบริการหรือแผนงานที่คาดวาจะทําภายในระยะเวลาที่กําหนด โดยมลีักษณะ -เปนขอความที่เจาะจง - ตรวจวัดได -อยูภายใตเงื่อนไขของเวลา- เปนขอความที่เกี่ยวของกับส่ิงทีไ่ดกระทําเสร็จ 2. การวัดผลการดาํเนินงาน - มีความสัมพันธกับวัตถปุระสงคและเปาหมายของหนวยงาน - ควรตรวจวัดส่ิงเดี่ยวกนัตลอดชวงเวลา - ใชขอมูลที่มีอยูอยางตอเนือ่ง

1. กําหนดเกณฑการตรวจวัดผลการดาํเนินงาน - ดานปริมาณ - ดานตนทุน - ดานคุณภาพ - ดานเวลา 2. กําหนดการวัดผลลัพธ(Outcomes) ไดแกผลกระทบที่ตามมา ซ่ึงตองใชเวลาที่ยาวนาน 3. กําหนดการวัดผลผลิต เปนการวดัผลการดาํเนินงานที่เกิดขึ้นจริง โดยเปรียบเทียบกับผลที่ตองการ

การบริหารงานบุคคล

การบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาเปนภารกิจที่สําคัญที่มุงสงเสริมใหสถานศึกษาสามารถปฏบิัติงานเพือ่ตอบสนองภารกิจของสถานศึกษาเพื่อดําเนินการดานการบริหารงานบุคคลใหเกิดความคลองตัว อิสระภายใตกฎหมาย ระเบียบ ตามหลักธรรมาภิบาล ขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ไดรับการพัฒนา มีความรู ความสามารถ มีขวัญกําลังใจ ไดรับการยกยองเชิดชูเกียรติ มีความมั่นคงและกาวหนาในวิชาชีพ ซ่ึงจะสงผลตอการพฒันาคุณภาพการศึกษาของผูเรียนเปนสําคัญ ขอบขาย/ภารกิจ การบริหารงานบคุคล 1) การวางแผนอัตรากําลัง (ประเมินความตองการอัตรากําลัง – จัดทําแผนอตัรากําลังของสถานศึกษา - เสนอแผนอัตรากาํลังของสถานศึกษา ไปยังเขตพื้นที ่) 2) การกําหนดตําแหนงและวทิยฐานะขาราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ( สํารวจและรวบรวมขอมลู – รวบรวมคําขอและผลงานการขอเลือ่นวทิยฐานะ – ขอกําหนดตําแหนงเพิ่มเติม - เสนอขอเปลี่ยนแปลงการกําหนดตําแหนง - ดําเนินการตามอํานาจหนาที่ ) 3) การเกลี่ยอัตรากําลังขาราชการครูและบุคลากรทางการศกึษา 4) การสรรหาและบรรจุแตงตั้ง ระบบการบริหารงานบุคคล มี 2 ระบบ คือ 1. ระบบอุปถมัภ - เปนระบบที่เรียกกันวา ระบบพรรคพวก ระบบชุบเลี้ยงชอบพอเปนพิเศษ มทีั้งผลดีและผลเสีย 2. ระบบคุณธรรม - นิยมเรียก ระบบคุณความดี ระบบความรูความสามารถ ใชหลักการ 1) หลักความเสมอภาค 2) หลักความสามารถ 3) หลักความมั่นคง 4) หลักความเปนกลางทางการเมอืง กระบวนการบริหารงานบุคคล 1. การกําหนดความตองการดานบุคลากร - 1) กําหนดความตองการดานอัตรากําลัง 2) การวิเคราะหงาน 3) การกําหนดลักษณะงาน 4) การกําหนดมาตรฐานความตองการดานกําลัง 2. การสรรหาบุคลากรเขามาทาํงาน - 1) การประกาศรบัสมัคร 2) การรับสมัคร 3) การสัมภาษณเบือ้งตน 4) การสอบ 5) การสอบสัมภาษณ 6) การตรวจสอบภูมิหลัง 7) การคัดเลือกขั้นสุดทาย 8) การบรรจุแตงตั้ง

Page 9: สรุป    E  734

3. การจัดบุคคลเขามาทํางาน 1) การปฐมนิเทศ 2) การจัดใหทํางาน 3) การนิเทศงาน 4) การธํารงรักษา 5) การประเมินผลการปฏิบัตงิาน 6) การพจิารณาความดีความชอบ 4.การพัฒนาบคุคล 1) การฝกอบรม 2) การศกึษาตอ 3) การศึกษาดูงาน 4) การสัมมนา 5) การจัดประชุมเชิงปฏิบัติการ 5.การใหพนจากงาน 1) การโอนยาย 2) การลงโทษทางวนิัย 3) การลาออก พักงาน 4) การลดจํานวนบุคลากร 5)การเกษียณอายุราชการ 6) การทุพพลภาพ 7) การถึงแกกรรม

9 การใชหลักการบริหาร POSDCORB และ MBO POSDCORB ของ Gulick ไดแก Planning –การวางแผน Organization - การจัดองคการ Staffing - การวางตัวบุคคล Directing – การอํานวยการ Co – ordinations - การประสานงาน Reporting - การรายงาน Budjeting – การจัดงบประมาณการเงิน MBO เปนกระบวนการบริหารตามเปาหมาย โดยรวมเอาเทคนิคและปรัชญาของการบริหารเขาดวยกัน และเนนทางดานคุณภาพ ประกอบดวยข้ันตอน ดังนี้ 1. ผูบริหารและผูใตบังคับบัญชารวมกันกําหนดขอบเขตความรับผดิชอบในผลงานของผูใตบงัคับบัญชาทีต่องการเจาะจงลงไป ข้ันตอนนี้ตองไดรับความยินยอมทัง้สองฝาย 2. ผูบริหารและผูใตบงัคับบัญชาตองตกลงกันถึงมาตรฐานของผลการดําเนินงานสําหรับขอบเขตความรับผิดชอบแตละอยาง 3. ผูบริหารและผูใตบังคับบัญชาตองตกลงกนัถึงแผนงานที่จะตองสอดคลองกับเปาหมายรวมขององคการเสมอ วิธีการปกครองบังคับบัญชาบุคลากรในเชิงสรางสรรค 1. ใหความยุติธรรมและความเปนธรรม 2. ตั้งอยูในพรหมวิหาร 4 คือ เมตตา กรุณา มทุิตตา อุเบกขา 3. ไมทําตวัเปนเจาขุนมูลนาย 4. รับฟงความคิดเห็นของผูใตบังคับบัญชา 5. ใหกําลังใจและสงเสริมความกาวหนาของผูนอย 6. ไมใชอารมณในการทาํงาน วางตัวใหเหมาะสม 7. รูจักใหเกียรติรักษาผลประโยชนของผูนอย 8. วางมาตรฐานในการทํางานใหแนชัด 9. ปรับตัวใหเขากับงาน การพัฒนาศักยภาพของบุคลากร อยูบนแนวคิดพื้นฐาน

1. การพัฒนา ฯ จะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เปนระบบ สอดคลองกับความตองการของครู สถานศึกษา หนวยงาน 2. การพัฒนา ฯ ควรมีเปาหมายสําคัญที่การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ใหครูนําหลักสูตรการศึกษา แไปสูการปฏิบัติจริง 3. การพัฒนา ฯ เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควบคูไปกับการสรางแรงจูงใจ การเสริมแรงใน

เวลาและโอกาสที่เหมาะสม แนวทางการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา

1. จัดแหลงการเรียนรูใหครูไดศึกษาและพัฒนาตนเอง 2. จัดระบบการนิเทศภายใน – ภายนอก

3. สงเสริมใหครูกลาคิด กลาทํา กลาตัดสินใจ และมีเสรีภาพทางวิชาการ 4. สงเสริมใหบุคลากรไดรวมกันทํางาน แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ 5. สงเสริมใหบุคลากรเขารับการอบรม ประชุม สัมมนา ฝกปฏิบัติการ

5. สงเสริมใหบุคลากรไดแลกเปลี่ยนเรียนรูและประสบการณกับบุคลากรสถานศึกษาอื่น 6. สงเสริมใหบุคลากรไดพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพครู 7. สงสริมใหบุคลากรไดสะสมประสบการณเพื่อเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น

การบริหารงานกิจการนักเรียน

หลักการบริหารกิจการนักเรียน 1. หลักการวางแผน - ใหนักเรียนมีสวนรวมในการวางแผนจัดกิจกรรม 2. หลักการจัดองคการ - ผูบริหารเปนประธาน ผูชวย ฝายกิจการ เปนรอง นอกนั้นจัดแบงงานตามสายงานเปนฝาย ตาง ๆ 3. หลักการจัดบุคลากร - จัดครูทําหนาที่เปนที่ปรึกษา โดยใหมีสวนรวม เพือ่ใหเกิดความพึงพอใจ 4. หลักวินิจฉัยส่ังการและการควบคุมดแูล - ผูบริหารตองใชภาวะผูนําในการวินิจฉัยส่ังการ ควบคุมดูแลและนิเทศงาน 5. หลักการประสานงาน - ผูบริหารใชภาวะผูนําประสานงานใหทุกฝายปฏิบตัิงานใหสอดคลองกนั ไมซํ้าซอน 6. หลักการรายงาน - การายงานเปนระยะ เพือ่ทราบผลการปฏิบตัิงาน และการปรบัปรุงงาน 7. หลักการงบประมาณ - กิจกรรมจะเปนตัวกําหนดงบ การสรางระเบียบวินัยนักเรียน 1. ปญหาของนักเรียน - ความไมเปนระเบียบเรียบรอยในสังคม - การละเลยไมปฏิบัติตามกฎหมาย - การแตงกายไมเปนระเบียบเรียบรอย

Page 10: สรุป    E  734

2. เพื่อแกปญหาดังกลาว สํานักนายกรัฐมนตรีจึงใหประชาชนปฏิบัติตามคุณธรรมพื้นฐาน 5 ประการ คือ 1) การพึ่งตนเอง ขยันหมั่นเพียรและมีความรับผิดชอบ 2) การประหยัดและอดออม 3) การมีระเบียบวินัยและเคารพกฎหมาย 4) การปฏิบัติตามคุณธรรมของศาสนา 5) ความรัก ชาติ ศาสน กษัติรย

ความสําคัญของผูบริหารสถานศึกษากับการปองกันแกไขปญหาเกี่ยวกับนักเรียน โรงเรียน เปนหนวยงานทางการศึกษาที่สําคญัที่สุด เพราะเปนหนวยปฏิบตัิ ผลของการจัดการศกึษาจะเกดิขึ้นที่โรงเรียน ภารกิจหลักของโรงเรียนคือการจัดการเรียนการสอน เพือ่ใหนักเรียนบรรลุเปาหมายของหลักสูตรการศึกษาขัน้พื้นฐาน นั่นคือ ใหนักเรียนเปนมนษุยที่สมบูรณ เปนคนดี มีปญญา มีความสุข และมีความเปนไทย ปจจัยทีม่ีผลตอภารกิจหลกัดังกลาว ข้ึนอยูกับระบบการบรหิาร ผูบริหารโรงเรียน ครูผูสอน ผูปกครองนักเรียน ฯลฯ แตผูบริหารโรงเรียนเปนปจจัยที่สําคัญที่สุด ในการที่จะแกปญหาที่เกิดขึ้นในโรงเรียน เชน การปองกันสารเสพติดในสถานศึกษา ….ปญหาการประพฤตผิิดของนักเรียน

10

บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการบริหารภารกิจใหบรรลุผลสําเร็จคือ ผูบริหารจําเปนตองรู นโยบายและมาตรการ แผนงาน ของทางราชการเพื่อที่จะนํามาปฏบิัติสนองตอบนโยบายอยางมีประสิทธิภาพ การนํานโยบายสูการปฏิบัติ การนํานโยบายสูการปฏบิัติใหเปนผลสําเรจ็ตองอาศัยความรู ความสามารถ และคุณธรรมของผูบริหารโรงเรียน ซ่ึงการนํานโยบายสูการปฏิบัติจะตองอาศัยกระบวนการในการบริหารงานอยางนอย 4 ข้ันตอน คือ 1. ศึกษาสภาพปจจบุัน ปญหา 2. การวางแผน 3. การกํากับติดตามและนิเทศ 4. การประเมินผล ผูบริหารจะตองนาํขอมูลที่ไดจากการศึกษาสภาพปจจุบันปญหามาวิเคราะห วางแผนและแนวทางการดําเนนิการ ส่ิงใดที่โรงเรียนมีความเดนดอย ก็ใชเทคนิควิธีเสริมเติมใหมีความเปนไปไดมากขึ้น มาตรการทีสํ่าคัญที่จะทําใหโรงเรียนปราศจากสารเสพติดคือ การประสมประสานในกิจกรรมการการเรียนการสอน จึงจะเปนการสรางภูมิคุนกันสารเสพติดในสถานศึกษาไดอยางถาวร ภารกิจหลักท่ีสถานศึกษาตองดําเนินการ 1. การใหความรู ทําความเขาใจเกี่ยวกับ …. 2. การรณรงคใหเกิดความตระหนักในปญหา …. 3. การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนที่เนนการฝกทักษะชีวิต 4. การสนับสนนุใหมีกิจกรรมทางเลือกที่หลากหลาย

หลักการสรางความสัมพันธในชุมชน ความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน หมายถึง กระบวนการที่ผูบริหารโรงเรียนและครูอาจารยใชในการติดตอส่ือสารและสรางความเขาใจอันดีกับผูปกครองนกัเรียนและประชาชนในชุมชน เพื่อใหมคีวามสัมพันธอันดีระหวางโรงเรียนกับชุมชน กอใหเกิดความความรวมมือรวมใจในการทํากิจกรรมของชุมชน และรวมในกิจกรรมของโรงเรียน ความสําคัญและความจําเปนของการสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน 1. โรงเรียนเปนแหลงคัดเลอืกคนใหชุมชน 2. โรงเรียนเปนแหลงพัฒนาคนในชมุชน 3. โรงเรียนเปนแหลงรวมวชิาตาง ๆ จึงจําเปนตองมีครูที่มีความสามารถดานตาง ๆ ที่จะอํานวยความสะดวกแกชุมชน 4. โรงเรียนเปนแหลงถายทอดวัฒนธรรม โรงเรียนและชุมชนมีหนาที่ฟนฟูและรักษาวัฒนธรรมและประเพณีตาง ๆ 5. โรงเรียนเปนศูนยอบรมของชุมชน 6. โรงเรียนและชุมชนมีเปาหมายเดียวกันคือ พฒันาคนใหเปนคนดี สามารถดาํรงชีวิตในสังคมไดอยางมีความสุข การบริหารงานความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน ข้ันตอนที1่ การรวบรวมขอมลู - จํานวนผูปกครอง จํานวนคนในชุมชนในเขตบริการ จํานวนหมูบาน ระดบัความรวมมือของชุมชน เจตคติของชุมชนตอโรงเรียน อาชพี ระดับการศึกษาของคน ทรัพยากร ข้ันตอนที่ 2 การวิเคราะหชุมชน - เปนขั้นตอนที่นําขอมูลเบือ้งตนเพื่อกาํหนดแนวทางการดําเนินการตอไป ข้ันตอนที่ 3 การดําเนินการ - เปนการดําเนินการตามแผนที่วางไว ควบคุมดูแลใหการดําเนินการเปนไปตามแผนที่วางไว ประสานงานกับบุคคลที่เกี่ยวของ จัดใหมีการประชาสัมพนัธเปนระยะ พัฒนาบุคลากรในโรงเรียนใหมีเจตคติที่ดีตอการสรางความสัมพันธ ข้ันตอนที ่ 4 การประเมินผล - เปนการติดตามใหผูรับผิดชอบดําเนินการตามที่วางแผนไว บทบาทของผูบริหารโรงเรียนในการสรางความสัมพันธกับชุมชน 1) การสรางศรัทธาในตนเอง คุณธรรมใหเปนที่ยอมรับของชุมชน 2) การสรางศรัทธาใหสถาบัน 3) การสรางความสนิทสนมกบัชุมชน 4) การเสริมสรางเกียรติคุณชุมชน 5) การจัดกิจกรรมสรางความสัมพันธกับชุมชน 6) การประชาสัมพันธโรงเรียน

Page 11: สรุป    E  734

วิธีการและเครื่องมือในการสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน 1. ใชจดหมายติดตอกบัผูปกครองในรูปขาวสาร 2. การใชสมุดรายงานใหผูปกครองรับทราบผลการเรียนของเด็ก 3. เชิญผูปกครองมาเยี่ยมโรงเรียนอยูเสมอ 4. ครูควรมีโอกาสไปเยี่ยมหมูบานใหครบทุกหมูบาน 5. จัดทาํหนังสือหรือเอกสารสงใหผูปกครองหรือชุมชนทราบกิจกรรมของโรงเรียน 6. จัดนิทรรศการแสดงผลงานของโรงเรียน 7. จัดสาธิตทางวิชาการของโรงเรียนเชิญผูปกครองมารวมชมดวย 8. จัดกิจกรรมในวันส้ินปการศกึษา การสรางสัมพันธตอชุมชนจะสําเร็จไดนั้น โรงเรียนตองศึกษาธรรมชาติและความเปนอยูของชมุชนเสียกอน โรงเรียนควรจะมีความรูในเรื่องที่ชุมชนเชื่อถือและปฏิบัติกนัอยางไร โรงเรียนตองสรางความรูสึกที่ประทับใจและสรางความนาสรรเสริญใหเกิดแกชุมชน ทั้งตองแสดงความคิดเห็นซ่ึงทําใหชุมชนมีความเขาใจถึงความรวมมือกันระหวางชุมชนกับโรงเรียน พรอมทั้งประโยชนที่โรงเรียนและชุมชนจะไดรับรวมกัน

Page 12: สรุป    E  734

แนวขอสอบวิชา EA 734 ผศ. รัตนา กาญจนพันธ � การพัฒนาครูใหไดคุณภาพมาตรฐาน จดัการศึกษาใหผูเรียนมีผลสัมฤทธทางการเรียนสูง ครูมืออาชพี ชุมชนมคีวามสัมพันธท่ีดี จะทําอยางไร ปรบัองคกรอยางไร � การพัฒนาครูใหไดคุณภาพมาตรฐาน มีความจําเปนตอการทําใหการปฏิรูปการเรียนรูดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพ ผูบริหารควรไดรับการพัฒนาตนเองใหสามารถนําภาวะผูนําและบุคลิกภาพประชาธิปไตย มาเอื้อตอการทํางานของครู ใหครูมีเสรีภาพในการคิด มีโอกาสในการพัฒนาคุณภาพผลงาน รวมทั้งการพัฒนาศักยภาพในการนําหลักสูตรไปใช การเพิ่มพูนความรูความสามารถในวิชาที่สอน สามารถพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความสนใจ ความตองการและระดับพัฒนาการของผูเรียน ดวยเทคนคิวิธีทีม่ีประสิทธิภาพยิ่งขึน้ และมีเจตคติที่ดีตอกรนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติใหเกิดผลจริง อยูบนแนวคิดพื้นฐาน

1. การพัฒนา ฯ จะตองดําเนินการอยางตอเนื่อง เปนระบบ สอดคลองกับความตองการของครู สถานศึกษา หนวยงาน 2. การพัฒนา ฯ ควรมีเปาหมายสําคัญที่การพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม ใหครูนําหลักสูตรการศึกษา แไปสูการปฏิบัติจริง 3. การพัฒนา ฯ เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน ควบคูไปกับการสรางแรงจูงใจ การเสริมแรงในเวลาและโอกาสที่

เหมาะสม แนวทางการพัฒนาบุคลากรในสถานศกึษา

1. จัดแหลงการเรียนรูใหครูไดศึกษาและพัฒนาตนเอง 2. จัดระบบการนิเทศภายใน – ภายนอก 3. สงเสริมใหครูกลาคิดกลาทํากลาตัดสินใจและมีเสรีภาพทางวิชาการ 4. สงเสริมใหบุคลากรไดรวมกันทํางาน แลกเปลี่ยนความรูและประสบการณ 5. สงเสริมใหบุคลากรเขารับการอบรม ประชุม สัมมนา ฝกปฏิบัติการ 6.สงเสริมใหบุคลากรไดแลกเปลี่ยนเรียนรูและประสบการณกับบุคลากรสถานศึกษาอื่น 7. สงเสริมใหบุคลากรไดพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชพีครู 8. สงสริมใหบุคลากรไดสะสมประสบการณเพื่อเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น

ครูมืออาชีพ มีลักษณะเปนผูนําแบบประชาธิปไตย มีขันติธรรมทางวิชาการ - มีวิสัยทัศนกวางไกล - มีทักษะการจัดการ - มีนิสัยใฝรูใฝเรียนมีความกระตือรือรน - มีสุขภาพและบุคลิกภาพดี - ยิ้มแยมแจมใส น้ําเสียงนุมนวล ออนหวาน มีอารมณขัน - ใหความรักความอบอุน ใหความเห็นใจความเขาใจ - มีเจตคติที่ดีตอการสอน จัดการศึกษาใหผูเรียนมีผลสัมฤทธทางการเรียนสงู ในการจดัการศึกษาใหผูเรียนมีผลสัมฤทธิ์สูง มีคุณภาพตามที่คาดหวังนั้น ประกอบดวยงานหลาย ๆ ดานไดแก งานเกี่ยวกับการพัฒนาหลักสูตร งานเกี่ยวกับการเรียนการสอน งานเกี่ยวกับการประเมินผลการเรียน และงานอีกหลายดาน ที่เปนองคประกอบสําคัญของการพัฒนาผูเรียนใหมีคุณภาพ ซึ่งรวมเรียกงานทั้งหมดนี้วา งานวิชาการ ซึ่งผูบริหารตองพัฒนางานวิชาการ ตามแนวทางดังนี้ กระบวนการบริหารงานวิชาการ 1. การวางแผนพัฒนา – กําหนดวิสัยทัศน – กําหนดภารกิจ - กําหนดกลยุทธ - กําหนดแผนงานโครงการ 2. การนําแผนไปปฏิบัติ - การจัดองคกรหรือจัดบุคลากร – การสั่งการหรือมอบหมายงาน – การควบคุมงาน - การติดตามกํากับ – การประสานงาน - การนิเทศงาน 3. การประเมินผลการปฏิบัติตามแผน - ประเมินระหวางการดําเนินงาน – ประเมินเมื่อสิ้นสุดงาน – การรายงาน ยุทธศาสตรการบริหารงานวิชาการ มีดังนี้ 1. การบริหารหลักสูตร ไดแก - การวิเคราะหหลักสูตรแกนกลาง - การกําหนดมาตรฐานการเรียนรูและสาระการเรียนรูที่เกี่ยวของกับชุมชนทองถิ่น - การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา - การจัดทําหนวยการเรียนรู 2. การบริหารการเรียนการสอน ไดแก - การรวบรวม วิเคราะหและกําหนดกิจกรรมการเรียนการสอนโดยคํานึงถึงผูเรียนเปนสําคัญ - การกําหนด การเตรียมการ และการจัดหาสื่อการเรียนการสอน - การกําหนดวิธีการประเมินผลการเรียน - การจัดทําแผนการจัดการเรียนรูของครูผูสอนแตละคน - การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนตามแผนการสอน - การรวมกันแกปญหาที่เกิดขึ้น 3. การบริหารการประเมินผลการเรียน ไดแก - การวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรู - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือที่จะใชในการวัดและประเมินผล - การควบคุมดูแลและสงเสริมใหมีการประเมินผลตามที่กําหนดไว -การจัดทําหลักฐาน -การกําหนดรูปแบบ ระยะเวลารายงาน 4. การบริหารการนิเทศภายในสถานศึกษา ไดแก - การทําความเขาใจกับบุคลากรทุกคน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลาการนิเทศภายใน - การควบคุมดูแล สงเสริม - การรวมกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้น 5. การพัฒนาบุคลากรทางวิชาการ ไดแก การวิเคราะหปญหาเกี่ยวกับความรูความสามารถของบุคลากร - การกําหนดชวงเวลาของการพัฒนาเปนระยะ - การควบคุมดูแลใหมีการดําเนินการตามที่วางแผนไว 6. การบริหารการวิจัยและพัฒนา ไดแก - การทําความเขาใจ - การรวมกันกําหนดประเด็นปญหา - การควบคุมดูแลและสงเสริม 7. การบริหารโครงการทางวิชาการอื่น ๆ ไดแก - การกําหนดหัวขอเร่ืองทางวิชาการที่เปนการสนับสนุน - การกําหนดวิธีการและระยะเวลา - การควบคุมดูแล 8. การบริหารระบบขอมูลและสารสนเทศทางวิชาการ ไดแก - การกําหนดขอมูลสารสนเทศทางวิชาการ - การกําหนดเวลาในการรวบรวมขอมูล - การควบคุมดูแลสงเสรมิ - การนําขอมูลสารสนเทศไปใช

Page 13: สรุป    E  734

9. การบริหารการประเมินผลงานทางวิชาการของสถานศึกษา ไดแก - การกําหนดหัวขอประเมินผลงาน - การกําหนดวิธีการและเครื่องมือในการประเมิน - การควบคุมดูแลสงเสริม - การสรุปผลและเขียนรายงานประจําป

การสรางความสัมพันธท่ีดีกับชุมชน โรงเรียนในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของชุมชน ตองอาศัยชุมชนเพือ่พัฒนาในดานตาง ๆ เพื่อใหผูเรียนเปนบุคคลแหงการเรียนรู ในขณะเดยีวกันโรงเรียนก็จะตองเอื้อตอชุมชนโดยการใหความรูแกชุมชน และบริการดานตาง ๆ ของโรงเรียนใหเปนแหลงเรียนรูของบุคคล โดยพัฒนาแหลงเรียนรูสูชุมชนตามขั้นตอนดังนี้ 1. ศึกษาขอมูลเพื่อพัฒนาแหลงเรียนรู โดย – สํารวจความตองการของชุมชนเพื่อใหบริการตาง ๆ - สํารวจความพรอมของโรงเรียน 2. วางแผนเพอกําหนดยุทธศาสตรการพัฒนา- กําหนดผูรับผิดชอบ - แตงตั้งกรรมการ เขียนโครงการ 3. ดําเนินกิจกรรมตามโครงการ 4. สงเสริมการการใชแหลงเรียนรู 5. ประเมินและพัฒนาการดําเนินงานอยางตอเนือ่ง – กํากับ ติดตาม สรางเครื่องมือประเมินผล – รายงานผลตอประชาชนผูเกี่ยวของ 1) การสรางศรัทธาในตนเอง คุณธรรมใหเปนที่ยอมรับของชุมชน 2) การสรางศรัทธาใหสถาบัน 3) การสรางความสนิทสนมกับชุมชน 4) การเสริมสรางเกียรติคุณชุมชน 5) การจัดกิจกรรมสรางความสัมพันธกับชุมชน 6) การประชาสัมพันธโรงเรียน วิธีการและเครื่องมอืในการสรางความสัมพันธระหวางโรงเรียนกับชุมชน 1. ใชจดหมายติดตอกับผูปกครองในรูปขาวสาร 2. การใชสมุดรายงานใหผูปกครองรับทราบผลการเรียนของเด็ก 3. เชิญผูปกครองมาเยี่ยมโรงเรียนอยูเสมอ 4. ครูควรมีโอกาสไปเยี่ยมหมูบานใหครบทุกหมูบาน 5. จัดทําหนังสือหรือเอกสารสงใหผูปกครองหรือชุมชนทราบกิจกรรมของโรงเรียน 6. จัดนิทรรศการแสดงผลงานของโรงเรียน 7. จัดสาธิตทางวิชาการของโรงเรียนเชิญผูปกครองมารวมชมดวย 8. จัดกิจกรรมในวันสิ้นปการศึกษา รศ.ดร.สมพิศ โหงาม

� 1. กลยุทธสุดยอดของการบริหารกิจการนักเรียนใหมีประสิทธิภาพสูงสุด มีอะไรบาง � 2. วิธีสรางบรรยากาศในสถานศึกษาเพื่อใหนักเรียนมีความรักและผูกพันตอสถานศึกษา � 3. ยุทธศาสตรการสรางวินัยที่ดีแกนักเรียนมีอะไรบาง

1. กลยุทธสุดยอดของการบริหารกิจการนักเรียนใหมีประสิทธิภาพสูงสุด มีอะไรบาง

หลักการบรหิารกิจการนกัเรียน 1. หลักการวางแผน - ใหนักเรียนมีสวนรวมในการวางแผนจัดกิจกรรม 2. หลักการจัดองคการ - ผูบริหารเปนประธาน ผูชวย ฝายกิจการ เปนรอง นอกนั้นจัดแบงงานตามสายงานเปนฝาย ตาง ๆ 3. หลักการจัดบุคลากร - จัดครูทําหนาที่เปนที่ปรึกษา โดยใหมีสวนรวม เพื่อใหเกิดความพึงพอใจ 4. หลักวินิจฉัยสั่งการและการควบคุมดูแล - ผูบริหารตองใชภาวะผูนําในการวินิจฉัยสั่งการ ควบคุมดูแลและนิเทศงาน 5. หลักการประสานงาน - ผูบริหารใชภาวะผูนําประสานงานใหทุกฝายปฏิบัติงานใหสอดคลองกัน ไมซ้ําซอน 6. หลักการรายงาน - การายงานเปนระยะ เพือ่ทราบผลการปฏิบัติงาน และการปรับปรุงงาน 7. หลักการงบประมาณ - กิจกรรมจะเปนตัวกําหนดงบ

2. วิธีสรางบรรยากาศในสถานศึกษาเพื่อใหนักเรียนมีความรักและผกูพันตอสถานศึกษา การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนนั้น เปนปจจัยที่มีความสําคัญตอการบริหารโรงเรียนเปนอยางยิ่ง เพราะจะชวยสนับสนุนสงเสริมใหนักเรียนมีความสุข มุงเนนการเรียนการสอนตามธรรมชาติ นักเรียนฝกปฏิบัติไดจริง และปลูกฝงความมีระเบียบวินัย ความเอื้อเฟอเผื่อแผ ความสะอาด ความรกัสามัคคี บรรยากาศและสิ่งแวดลอมในการเรียนรูมีดังนี้ 1. สถานที่ บริเวณโรงเรียน ไดแก อาคารเรียน โรงอาหาร หองน้ํา ตองคํานึงถึงความสะอาด รวมร่ืน สวยงาม ถูกสุขลักษณะและปลอดภัย 2. บุคลากรคร ู ครูควรมีลักษณะดังนี้ - มีลักษณะเปนผูนําประชาธิปไตย มีขันติธรรมทางวิชาการ - มีวิสัยทัศนกวางไกล - มีทักษะทางการจัดการ -มีนิสัยใฝรูใฝเรียน มีความกระตอืรือรน - มีสุขภาพและบุคลิกภาพทีด่ี - ยิ้มแยมแจมใส น้ําเสียงนุมนวล ออนหวาน มีอารมณขัน - ใหความรัก ความอบอุน ใหความสนใจ ความเขาใจ - มีเจตคติที่ดีตอการสอน 3. การจัดบรรยากาศในการเรียนการสอน - ปฏิสัมพันธในชั้นเรียนระหวางครูกับนักเรียน และระหวางนักเรียนกับนักเรียน - การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย 4. การนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนรู - นําสื่อและนวัตกรรมมาชวยสงเสริมการเรียนรู 5. การจัดสภาพแวดลอมทางวิชาการในโรงเรียน โรงเรียนควรจัดสภาพแวดลอมเพื่อสงเสริมใหนักเรียนเกิดกรเรียนรูตลอดเวลา เชน - ผูบริหารและครูเปนกัลยาณมิตรของผูเรียน - มุมวิชาการ - มุมนิทรรศการ - หองวิชาการ หองปฏิบัติการ - ศูนยสื่อการศึกษา -หองโสตทัศนูปกรณ – อุทยานการศึกษา

3. ยุทธศาสตรการสรางวินัยท่ีดีแกนักเรียนมีอะไรบาง วินัยนักเรียน หมายถึง การรูจักปกครองตนเอง การกระทําตามระเบียบหรือขอบังคับตาง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยความสมัครใจของนักเรียน และเห็นคุณคาที่เกิดจากการปฏิบัติ อันจะนํามาซึ่งความสุข ความเสมอภาคแกสมาชิกทุกคนในสังคมนั้น การนํานโยบายสูการปฏิบัติใหเปนผลสําเร็จตองอาศัยความรู ความสามารถ และคุณธรรมของผูบริหารโรงเรียน ซึ่งการนํานโยบายสูการปฏิบัติจะตองอาศัยกระบวนการในการบริหารงานอยางนอย 4 ขั้นตอน คือ 1. ศึกษาสภาพปจจุบัน ปญหา 2. การวางแผน 3. การกํากับติดตามและนิเทศ 4. การประเมินผล

Page 14: สรุป    E  734

บทบาทของผูบริหารโรงเรียน ผูบริหารจะตองนําขอมูลที่ไดจากการศึกษาสภาพปจจุบันปญหามาวิเคราะห วางแผนและแนวทางการดําเนินการ สิ่งใดที่โรงเรียนมีความเดนดอย ก็ใชเทคนิควิธเีสริมเติมใหมีความเปนไปไดมากขึ้น มาตรการที่สําคัญที่จะสรางระเบียบวินัยที่ดีแกนักเรียนนั้น ผูบริหารเปนผูมีบทบาทสําคัญยิ่งในการสรางและปองกันปญหาระเบียบวินัย ผูบริหารมีบทบาทดังนี้ 1. การออกคําสั่งหรือระเบียบตาง ๆ ควรพิจารณาอยางรอบคอบวามีสวนพัฒนาพฤติกรรมที่พึงประสงค 2. ควรจัดสภาพแวดลอมใหนาดูนาอยู นาเรียน 3.ครูตองทําตัวเปนแบบอยางทดี 4. การฝกใหนักเรียนเปนคนมีวินัย มีความรับผิดชอบ เปนการปองกันปญหาทางวินัย 5.สรางความภูมิใจในโรงเรียน กิจกรรมนกัเรียน การจัดกิจกรรมนักเรียนในแตละโรงเรียนไมเหมือนกันขึ้นอยูกับสภาพของโรงเรียน ความพรอมของโรงเรียน กิจกรรมตามที่กระทรวงศึกษาธิการกําหนด เชน ลูกเสือ เนตรนารี ยุวกาชาด กิจกรรมทางศาสนา กิจกรรมสงเสริมวัฒนธรรมไทย สภานักเรียน ชุมชนุม นิทรรศการ นันทนาการ

ยุทธวิธีการบริหารงานบุคคลในสถานศึกษาใหมีประสิทธิภาพสูงสุด การบริหารงานบุคคลเปนศิลปะแหงการทํางานใหสําเร็จของผูบริหาร โดยอาศัยผูรวมงานอืน่ ๆ โดยมีผูบริหารคอยวางแผน จัดองคการ อํานวยการ ควบคุมทรัพยากรบุคคลและทรัพยากรอื่น ๆ ใหดําเนินงานไปในทิศทางเดียวกันเพื่อผลสัมฤทธิต์ามเปาหมายที่กําหนดไว กระบวนการบริหารงานบุคคล 1. การกําหนดความตองการดานบุคลากร 2. การสรรหาบุคลากรเขามาทํางาน 3. การจัดบุคคลเขามาทํางาน 4. การพัฒนาบุคคล 5. การใหพนจากงาน หลักการบริหารงานบุคคลแผนใหม - หลักความเสมอภาค - หลักความเสมอภาค - หลักความมั่นคง - หลักความเปนกลางทางการเมือง - หลักการพัฒนา - หลักความเหมาะสม - หลักความยุติธรรม - หลักสวัสดิการ - หลักการเสริมสราง - หลักมนุษยสัมพันธ – หลักประสิทธิภาพ - หลักการศึกษาวิจัย นอกจากนั้นการบริหารงานบุคคลยังสมารถนําหลักการของ POSDCoRB และ MBO มาใชไดอีกดวย POSDCoRB คอื 1. Planning - การวางแผน 2. Organization - การจัดองคการ 3. Staffing - การบริหารงานบุคคล 4. Directing - การอํานวยการ 5. Coordinating - การประสานงาน 6. Reporting - การรายงานผล 7. Budgeting - การงบประมาณ

............................................................. แนวทางการบริหารสถานศึกษาโดยใชปจจัยองครวมและปจจัยสนับสนุน

การปฏิรูปการศึกษา มุงใหเกิดคุณภาพทั้งดานผลผลิต กระบวนการจัดการ และปจจัยตาง ๆ โดยมุงหวังใหการจัดการศึกษาของประเทศทัดเทยีมกับมาตรฐานสากล องคกรที่สําคัญคือสถานศึกษา จะตองไดรับการพัฒนาใหเปนองคกรแหงการเรียนรู หลักการสําคัญคือ โรงเรียนหรือสถานศึกษาจะตองรวมกันพัฒนาหลักสูตรและจัดการเรียนรูใหสนองตอบตอความตองการของผูเรียนและชุมชน การพัฒนาโรงเรียนจะเคลื่อนไหวไดรวดเร็วตามเปาหมาย จําเปนตองอาศัยปจจัยทั้งหมดในโรงเรียนผนึกกําลังเปนหนึ่งเดียว ประสานสัมพันธใหมีพลังผลักดันใหเกิดการปฏิรูปทั้งโรงเรียน ( Whole School Approach ) บุคคลที่มคีวามสําคัญอยางยิ่งที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงดังกลาวไดคือ ผูบริหารโรงเรียน เพราะตองเปนผูนํา ผูประสานความรวมมือจากทุกฝาย ซึ่งไดแก ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น องคกรเอกชน องคกรวิชาชีพ สถาบันศาสนา สถานประกอบการ และสถาบันอื่น ๆ ใหรวมกันจัดการศึกษาตามเจตนารมณของ พรบ.การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 การจัดการศึกษาของโรงเรียนใหมีคุณภาพจาํเปนตองอาศัยปจจยัองครวมและปจจยัสนับสนุนของโรงเรียนผนึกเปนหนึ่งเดียว ปจจัยตาง ๆ มีดังนี้ ปจจัยท่ี 1 ผูบริหารสถานศึกษา - มีวิสัยทัศนกวางไกล - มีบุคลิกภาพเปนประชาธิปไตย ใชหลักเหตุผลในการบริหารงาน - มีจิตสํานึกในความมุงมั่น - ใจกวาง เปดโอกาสใหครูมีเสรีภาพในการคิด - ปฏิบัติการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรูใหเกิดผลตามเปาหมายของการจัดการศึกษา - มีศักยภาพในการจัดการระบบบริหารนําระบบคุณธรรมมาใชในโรงเรียน - สรางขวัญกําลังใจใหครูเปนครูดี ครูเกง และครูที่ปรึกษา (Mentor) ปจจัยท่ี 2 ครู ผูสอน - มีบุคลิกภาพเปนประชาธิปไตย เปดโอกาสใหผูเรียนมีเสรีภาพในการคิด - มีความรู ความเขาใจในการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ - เขาใจหลักสูตรและแนวการจัดการเรียนรูที่สอดคลองกับ พรบ. การศึกษาแหงชาติ พ.ศ. 2542 - ใชกระบวนการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรยีนรู - สรางผลงานในการปรับปรุงคุณภาพการเรียนรู - มีศักยภาพในการออกแบบกิจกรรมการเรียนรู และการวัดผลประเมินผลตามสภาพจริงที่ยึดความแตกตางระหวางบุคคล - สรางผลงานของครูควบคูไปกับคณุภาพการเรียนรูของนักเรียน - เปนบุคคลแหงการเรียนรู ปจจัยท่ี 3 ระบบการบริหารจัดการโรงเรียนท่ีมีประสิทธิภาพ - กําหนดเปนแผนยุทธศาสตรการพัฒนาโรงเรียนในระยะ5–10 ป

- กําหนดแนวทางในการพัฒนาการเรียนการสอนใหสอดคลองกับมาตรฐานหลักสูตร - พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับทองถิ่น - โรงเรียนมีการพัฒนาตนเอง ทั้งดานการเรียนรู การเปนองคกรแหงการเรียนรูและการประกันคุณภาพการศกึษา – พัฒนาระบบขอมูลสารสนเทศใหมีประสิทธิภาพ - กํากับติดตาม ตรวจสอบ ทบทวน ประเมินผล และรายงาน ปจจัยท่ี 4 ชุมชนมีสวนรวมสนับสนุนโรงเรียนปฏิรูปการเรียนรู - ความเขมแข็งของชุมชนที่จะเขามามีสวนรวมสนับสนุนโรงเรียนในการปฏิรูปการเรียนรู - คณะกรรมการสถานศึกษา จะตองประกอบดวยผูทรงคณุวุฒิหลาย ๆ ดานในทองถิ่น ปจจัยท่ี 5 สถาบันอื่น ๆ ในสังคม - เปนที่ปรึกษา - เปนแหลงวิทยากร

บทบาทของผูบริหารสถานศึกษาในการปฏิรูปการเรียนรู

Page 15: สรุป    E  734

- เปนผูนําในการพัฒนาคุณธรรม จริยธรรม และคานิยมที่พึงประสงคของครูและนักเรียน - เปนผูนําในการบริหารโดยยึดแนวทางประชาธิปไตย - เปนผูนําในการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาใชในการเรียนการสอน - เปนผูนําในการพัฒนางานวิชาการ – เปนผูประสานความรวมมือกับชุมชนและหนวยงานที่เกี่ยวของในการพัฒนาการศึกษา – เปนผูนําในการจัดการศึกษาและเปนเอกลักษณขององคกรในทางสรางสรรค – เปนผูนําในการบริหารงานโดยรวมกันเปนทีมและสงเสริมใหครูทุกคนมีสวนรวมอยางแขง็ขัน - เปนผูสรางขวัญและกําลังใจแกบุคลากรเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมในการเรียนรู - จัดหางบประมาณเพื่อสนับสนุนการพัฒนาการศึกษา

การสรางบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในการเรียนรู การจัดบรรยากาศและสิ่งแวดลอมในโรงเรียนนั้น เปนปจจัยที่มีความสําคัญตอการบริหารโรงเรียนเปนอยางยิ่ง เพราะจะชวยสนับสนุนสงเสริมใหนักเรียนมีความสุข มุงเนนการเรียนการสอนตามธรรมชาติ นักเรียนฝกปฏิบัติไดจริง และปลูกฝงความมีระเบียบวินัย ความเอื้อเฟอเผื่อแผ ความสะอาด ความรกัสามัคคี บรรยากาศและสิ่งแวดลอมในการเรียนรูมีดังนี้ สถานที่ บริเวณโรงเรียน - บุคลากรครู - การจัดบรรยากาศในการเรียนการสอน - การนําเทคโนโลยีมาใชในการจัดการเรียนรู - การจัดสภาพแวดลอมทางวิชาการในโรงเรียน � การพัฒนา โรงเรียนใหมีคุณภาพและไดมาตรฐาน จําเปนตองอาศัยปจจัยทั้งหมดในโรงเรียนผนึกกําลังเปนหนึ่งเดียว ประสานสัมพนัธใหมีพลังผลักดันใหเกิดการปฏิรูปโรงเรียนทั้งระบบ ( Whole School Approach ) บุคคลทีม่ีความสําคัญอยางยิ่งที่จะทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงได คือผูบริหารโรงเรียน เพราะตองเปนผูนําและผูประสานความรวมมือจากทุกฝาย ซึ่งไดแก ชุมชน องคกรปกครองสวนทองถิ่น สถาบันอื่น ๆ ในสังคมที่อยูใกลชิดกับโรงเรียน ใหมารวมกันจัดการศึกษาเพื่อผลิตผูเรียนใหมีคุณภาพตามที่คาดหวังไว การดําเนินการใหไดผลสําเร็จดังกลาว จะตองเร่ิมจากโรงเรียน ยุทธศาสตรที่สําคัญคือ การพัฒนาครูใหไดคุณภาพมาตรฐาน เปนครูมืออาชีพ เพราะครูคือผูที่มีบทบาทในการจัดการเรียนรูใหกับผูเรียน คุณภาพมาตรฐานของผูเรียนจึงขึ้นอยูกับคุณภาพและมาตรฐานของครูเปนสําคัญ � การพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษามีเปาหมายสําคัญคือ เพื่อเสริมสรางความรูและทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน เปนภารกิจที่สําคัญยิ่งของผูบริหารสถานศึกษาที่จะตองดําเนินการควบคูไปกับการสรางแรงจูงใจในการปฏิบัติงาน การเสริมแรงในโอกาสอันควร และการสรางบรรยากาศการทํางานที่ทําใหครูเห็นคุณคา เห็นความสําคัญของตนเองที่มีตองาน ชื่นชมความสําเร็จในการปฏิบัติงานของตนเอง ซึ่งจะนําไปสูการพัฒนาตนเอง และการพัฒนาการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่สงผลตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนอยางยัง่ยืน แนวทางการพัฒนาครูใหไดคุณภาพมาตรฐาน การพัฒนาศักยภาพของครูทุกคนในสถานศึกษามีความจําเปนตอการพัฒนาคุณภาพผูเรียนเปนอยางยิ่ง ผูบริหารควรใชภาวะผูนําและมนุษยสัมพันธในการพัฒนาครูทั้งดานคุณธรรม จริยธรรม ตลอดจนความรู ความสามารถ และทักษะในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนใหสอดคลองกับความสนใจ ความตองการ และระดับพัฒนาการของผูเรียน ดวยเทคนคิวิธีทีม่ีประสิทธิภาพและมีเจตคติที่ดีตอวิชาชีพ แนวทางในการพัฒนาบุคลากรในสถานศึกษา มีดังนี้ 1) จัดแหลงเรียนรูในสถานศึกษาใหครูไดศึกษาและพัฒนาตนเอง เชน หองสมุด อินเตอรเน็ต 2) จัดระบบนิเทศภายในสถานศึกษาใหดําเนินการไดอยางตอเนื่องและมีประสิทธิภาพ สอดคลองกับการนิเทศจากภายนอก 3) สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรในสถานศึกษาไดกลาคิด กลาทํา กลาตัดสินใจและมีเสรีภาพทางวิชาการ 4) สนับสนุนใหบุคลากรไดทํางานรวมกัน ไดแลกเปลี่ยนความรูและประสบการณในการจัดการเรียนการสอนและพัฒนาการเรียนการสอนรวมกัน 5) สงเสริมใหบุคลากรไดเขารับการอบรม ประชุมสัมมนา ฝกปฏิบัติการ ที่หนวยงานหรือสถาบันตาง ๆ จัดขึ้น 6) สงเสริมและสนับสนุนบุคลากรในสถานศึกษาไดแลกเปลี่ยนการเรียนรูและประสบการณในการทํางานกับบุคลากรในสถานศึกษาอื่น 7) สงเสริมใหบุคลากรไดพัฒนาตนเองตามมาตรฐานวิชาชีพครู 8) สงเสริมและสนับสนุนใหบุคลากรในสถานศึกษาไดสะสมประสบการณทางวิชาชีพเพื่อการเลื่อนตําแหนงสูงขึ้น

Page 16: สรุป    E  734

วิวัฒนาการของทฤษฎีการบริหารองคการ ยุคท่ี 1 ทฤษฎีการบริหารสมัยด้ังเดิม ประมาณ 2,000 ปกอนคริสตศักราช เปนระยะกอนการปฏิวัติอุตสาหกรรม เร่ิมตนในสมัยอียิปต ซึ่งเนนทางดานวิชาการและการปกครองมากกวาสิ่งอื่น ผูบริหารระดับสูงขององคการคือ ฟาโรห ตอมาจนถึงยุคของกรีก ซึ่งมีความเจริญในดานของธุรกิจตาง ๆ เปนการรวมอํานาจไวที่สวนกลาง ตอมาจนถึงยุคของโรมัน ซึง่เปนชาตินักรบเนนการปกครองดวยระบบทหาร เมื่อถึงสมัยกลางโรมันลมสลายเปนยคุของเรเนอซอง เศรษฐกิจมีปญหา สังคมตองการพัฒนา อิทธิพลของศาสนาคริสตกระจายครอบคลุมยุโรป ทําใหนักบวชมีอํานาจและผูกขาดการดําเนินการตาง ๆ ของผูคน ยุคท่ี 2 ทฤษฎีการบริหารเชิงวิทยาศาสตร เปนระยะของการขยายตัวทางอุตสาหกรรม การบริหารในสมัยนี้จึงเนนเร่ืองของวิธีการผลิต การแสวงหาวิธีการที่จะทําใหงานมีประสิทธิภาพ แกไขเรื่องความไมเสมอภาคและการใชทรัพยากรทางการบริหารอยางคุมคา เกิดแนวความคิดการบริหารทางดานวิทยาศาสตร ของ เฟรเดอริค ดับบลิว เทเลอร ซึ่งไดรับการยกยองวาเปนบิดาแหงการบริหารเชิงวิทยาศาสตร แนวความคิดของเทเลอร แยกไดเปน 2 เร่ือง คือ หลักการบริหารโรงงาน และหลักการบริหารเชิงวิทยาศาสตร 1. หลักการบริหารโรงงาน ( Shop Management ) ไดแก 1) หลักการคนหาวิธีการทํางานที่ดีที่สุด 2) หลักการคัดเลือกบุคลากรดวยวิธีการเชิงวิทยาศาสตร 3) หลักการจูงใจคนดวยเงิน 4) หลักแหงการกําหนดหนาที่ของหัวหนาคนงาน 2. หลักการบริหารเชิงวิทยาศาสตร ( The Principles of Management )

1) หลักการเรื่องเวลา - ในเวลาเทากันผูไดชิ้นงานมากกวายอมไดเงินมากกวา 2) หลักการกําหนดอัตราคาจาง - ผลิตงานไดมากยอมไดคาจางมาก 3) หลักการแยกงานวางแผนออกจากงานปฏิบัติการ – ฝายบริหารรับผิดชอบเร่ืองแผน การปฏิบัติเปนเร่ืองของคนงาน 4) หลักการทํางานโดยวิธีการทางวิทยาศาสตร – การทํางานควรถูกกําหนดโดยฝายบริหารดวยวิธีการทางวิทยาศาสตร 5) หลักการควบคุมการบริหารจัดการ - ฝายบริหารควรไดรับการอบรมเพื่อนํามาควบคุมฝายปฏิบตัิ 6) หลักการจัดระเบียบการปฏิบัติงาน - การปฏิบัติงานจะตองยึดระเบียบโดยเครงครัด เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ

หลักการบริหารเชิงวิทยาศาสตรตามแนวคิดของเทเลอรไดรับการวิจารณวาเขาไมใหความสําคญัตอตัวแปรทางจิตวิทยาและสังคมวิทยา โดยมองขางความสําคัญขององคประกอบดานแรงจูงใจ ความพึงพอใจในงาน และบรรยากาศขององคการ มองแตเพียงวาคนงานเปนเสมือนเครื่องจักร ( Man as Machine ) ที่สามารถทํางานใหไดผลผลิตสูงเทานั้น แมกซ เวเบอร กับทฤษฎีองคการในระบบราชการ Max weber ชาวเยอรมันเปนนักทฤษฎีการบริหารองคการรวมสมัยระหวางสมัยของเทเลอร และฟาโยล ผลงานของเขามไิดเกิดจากการมีประสบการณเปนนักบริหาร แตเกิดจากสติปญญาความคิดของเขาเอง ลักษณะสําคัญขององคการในระบบราชการ

1. เปนองคการที่มีลําดับขั้นของสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน 2. เปนองคการที่มีการแบงงานกันทําอยางชัดเจน 3. เปนองคการที่มีกฎระเบียบแบบแผนเพื่อควบคุมความประพฤติปฏิบัติของสมาชิกอยางเปนลายลักษณอักษร 4. เปนองคการที่มีการกําหนดขั้นตอนและวิธีปฏิบัติงานไวลวงหนา 5. เปนองคการที่ถือวาสมาชิกทุกคนขององคการรวมทั้งบุคคลภายนอกมีสิทธิเทาเทียมกัน 6. เปนองคการที่ยึดหลักความสามารถและคุณภาพในการทาํงานของสมาชิกในองคการ

ทฤษฎีการบริหารเชิงการจัดการ อองรี ฟาโยล ( Henry Fayol ) เปนวิศวกรชาวฝรั่งเศส เขาไดชื่อวาบิดาแหงการบริหารเชิงการจัดการ เขาไดเขียนหนังสือชื่อ การบริหารงานธุรกิจอตุสาหกรรมและการบริหารงานทั่วไป หลักการบริหารตามแนวคิดของฟาโยล คือ การบริหารเปนศาสตรอยางหนึ่งและเปนหลักการสากลที่สามารถนําไปใชไดกับการบริหารทุกประเภท หลักการบริหารของฟาโยล เรียกวา Fayol’s Principles of Management ) มี 14 ประการ คือ 1. การแบงงานกันทํา ( Division of Work ) 2. อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ(Authority and Responsibility) 3. ความมีระเบียบวินัย ( Discipline ) 4. ความมีเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command ) 5. เอกภาพในการอํานวยการ ( Unity of Direction ) 6. ประโยชนสวนบุคคลถือวาเปนรองจากประโยชนสวนรวม 7. การใหผลประโยชนตอบแทน ( Remuneration ) 8. การรวมอํานาจไวที่สวนกลาง ( Centralization ) 9. สายการบังคับบัญชา ( Chain of Common of Scalar Chain ) 10. คําสั่ง ( Order ) 11. ความเสมอภาค ( Equity ) 12. ความมั่นคงในหนาที่การงาน ( Stability of Tenure of Personnel ) 13. ความคิดริเร่ิม ( Initiative ) 14. ความสามัคคี ( Esprit de Corps )

Page 17: สรุป    E  734

ปรัชญาของการบริหารในสมัยนี้จึงไดปรับเปลี่ยนจากการที่เห็นคนเปนเครื่องจักร มาเปน การใชคนใหเกิดประโยชนสูงสุด ( Use People Efficiently ) ลูเธอร กูลคิ และ ลันเดล เออรวิค นักทฤษฎีการบริหารองคการซึ่งไดนําหลักการของฟาโยลมาประยกุตใช เรียกวา POSDCoRB คือ 1. Planning - การวางแผน 2. Organization - การจัดองคการ 3. Staffing - การบริหารงานบุคคล 4. Directing - การอํานวยการ 5. Coordinating - การประสานงาน 6. Reporting - การรายงานผล 7. Budgeting - การงบประมาณ ขอบขายภารกิจการบริหารและจัดการสถานศึกษา