เด็กขายพวงมาลัย ชีวิตชายขอบในเมือง

17
เด็กขายพวงมาลัย: ชีวิตชายขอบในเมือง บทสังเคราะหองคความรูจากงานวิจัยและฐานขอมูลออนไลน อรทัย อาจอ่ํา รองศาสตราจารย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล ความนํา บทความเรื่อง เด็กขายพวงมาลัย: ชีวิตชายขอบในเมืองนีแรกเริ่มเดิมที ตั้งความหวังไวคอนขางสูงวา จะ พยายามทําใหเปนบทความที่มีความครอบคลุมในทุกดาน หรือสามารถทําการประมวลภาพสถานการณตางๆ ทีเกี่ยวกับเด็กกลุมนีหรือตั้งใจที่จะทําใหเปนบทสังเคราะหองคความรู บนพื้นฐานของขอมูลทุติยภูมิ หรือบน พื้นฐานของการศึกษา ทบทวน ประมวลภาพจากการศึกษาวิจัยตางๆ จากเมือง ในขอบเขตทั่วประเทศที่คอนขาง สมบูรณ แตพอลงมือดําเนินการจริง กลับพบวา มีขอจํากัดดานการศึกษาวิจัย หรือพบวาขอมูลดานนียังมีอยูไม มากนัก ทั้งๆ ที่เปนเรื่องหรือหัวขอ ที่แสดงอยูในฐานขอมูลของ Google มากถึง 900 กวารายการก็ตาม แตสวนใหญ (จากทั้งหมด 900 กวารายการ) นั้น มักเปนการกลาวพาดพิงถึง เด็กขายพวงมาลัยเพียงแค สั้นๆ หรือ สวนใหญเปนการพูดถึงความทุกขยาก ความยากจน ความเหลื่อมล้ําที่มีอยูในสังคม หรือ คุณภาพ ชีวิตที่ตอยต่ําของประชากรกลุมตางๆ หรือ เด็กกลุมอื่นๆ และ/หรือ ปรากฏการณใหมๆ ที่เกี่ยวกับเด็ก ไมวาจะ เปน แรงงานเด็ก เด็กเรรอน เด็กขางถนน เด็กเก็บขยะ เด็กซาเลง เด็กซิ่งรถ เด็กชกมวย เด็กเลนเกมส เด็กติด เน็ต เด็กติดกาว เด็กตางดาว เด็กขอทาน เด็กยิงขอสอบ เด็กที่ถูกใชเปนเครื่องมือ หรือการแสวงประโยชนใน รูปแบบตางๆ ฯลฯ เสร็จแลว ก็มักจะพวงคําวา เด็กขายพวงมาลัยและ เด็กเช็ดกระจกรถเอาไวในกลุมเด็ก เหลานี้ดวยเสมอ ไมวาจะเปนการพูดโดยใคร หรือในบทความใดก็ตาม (อดิศักด ผลิตผลการพิมพ 2549; ไพฑูรย สุขกสิกร 2549) ซึ่งอันที่จริงนั้น ควรจะมีการจําแนกประเภทของกลุมเด็กตางๆ เหลานีทั้งนีเพื่อที่จะสามารถทําความเขาใจ สภาพปญหา และเงื่อนไขตางๆ ที่เกี่ยวของไดอยางละเอียดลึกซึ้งมากขึ้น เพราะความจริงแลว เด็กขาย พวงมาลัย-ดอกไม และเด็กเช็ดกระจกรถ ควรจัดอยูในกลุมเด็กทํางาน หรือจําเปนตองชวยครอบครัวทํางาน หรือ จําเปนตองไดรับการเลี้ยงดูจากครอบครัวแบบต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน เนื่องจากความจําเปนทางเศรษฐกิจ ซึ่ง กลุมนีประกอบไปดวย แรงงานเด็ก เด็กเก็บขยะ เด็กซาเลง เด็กชกมวย เด็กขอทาน และเด็กตางดาวบางกลุสําหรับเด็กเลนเกมส เด็กติดเน็ต และเด็กซิ่งรถ ก็อาจจัดอยูในกลุมหรือประเภทที2 ซึ่งไดรับอิทธิพลจาก เทคโนโลยี หรือ อาจเรียกวา เปนกลุมเด็กที่ตกเปนเหยื่อของสังคมสมัยใหม มีพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ และมักเที่ยว เตรยามวิกาล เนื่องจากถูกละเลยจากครอบครัว หรือครอบครัวไมรูเทาทันอิทธิพลของเทคโนโลยีสมัยใหม และ กลุมที3 คือกลุมเด็กที่เรรอน ไรบาน-ไรรัก และ/หรือ เด็กขางถนน ซึ่งสวนหนึ่งอาจดํารงชีพดวยการขอทาน และ เก็บของเกาขาย เพื่อประทังชีวิตไปดวยในบางเวลา ซึ่งเด็กกลุมนีมักเปนเด็กที่หลุดออกจากครอบครัว และใช ชีวิตเรรอนไปตามทองถนน และไมไดทํางานที่มีรายไดชัดเจน และบางสวนติดกาว หรือสารเสพติดอื่นๆ อยูดวย นอกจากนีในปจจุบัน ก็ยังมีเด็กหรือเยาวชนอีกกลุมหนึ่งเพิ่มขึ้นมาดวย คือ เด็กยิงขอสอบ ซึ่งเปนอาชีพที่ทํา รายไดดีพอสมควร แตจะตองเปนเด็กที่เกง หรือมีผลการเรียนดี (สุวัฒน อัศวไชยชาญ 2548) 1

description

เด็กขายพวงมาลัย ชีวิตชายขอบในเมือง บทวิเคราะห์องค์ความรู้จากงานวิจัยและฐานข้อมมูลออนไลน์ -- รศ.อรทัย อาจฉ่ำ สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

Transcript of เด็กขายพวงมาลัย ชีวิตชายขอบในเมือง

เด็กขายพวงมาลัย: ชีวิตชายขอบในเมือง บทสังเคราะหองคความรูจากงานวิจัยและฐานขอมูลออนไลน

อรทัย อาจอ่ํา

รองศาสตราจารย สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล

ความนํา บทความเรื่อง “เด็กขายพวงมาลัย: ชีวิตชายขอบในเมือง” นี้ แรกเริ่มเดิมที ตั้งความหวังไวคอนขางสูงวา จะ

พยายามทําใหเปนบทความที่มีความครอบคลุมในทุกดาน หรือสามารถทําการประมวลภาพสถานการณตางๆ ที่

เกี่ยวกับเด็กกลุมนี้ หรือตั้งใจที่จะทําใหเปนบทสังเคราะหองคความรู บนพื้นฐานของขอมูลทุติยภูมิ หรือบน

พื้นฐานของการศึกษา ทบทวน ประมวลภาพจากการศึกษาวิจัยตางๆ จากเมือง ในขอบเขตทั่วประเทศที่คอนขาง

สมบูรณ แตพอลงมือดําเนินการจริง กลับพบวา มีขอจํากัดดานการศึกษาวิจัย หรือพบวาขอมูลดานนี้ ยังมีอยูไม

มากนัก ทั้งๆ ที่เปนเรื่องหรือหัวขอ ที่แสดงอยูในฐานขอมูลของ Google มากถึง 900 กวารายการก็ตาม

แตสวนใหญ (จากทั้งหมด 900 กวารายการ) นั้น มักเปนการกลาวพาดพิงถึง “เด็กขายพวงมาลัย” เพียงแค

ส้ันๆ หรือ สวนใหญเปนการพูดถึงความทุกขยาก ความยากจน ความเหลื่อมลํ้าที่มีอยูในสังคม หรือ คุณภาพ

ชีวิตที่ตอยต่ําของประชากรกลุมตางๆ หรือ เด็กกลุมอื่นๆ และ/หรือ ปรากฏการณใหมๆ ที่เกี่ยวกับเด็ก ไมวาจะ

เปน แรงงานเด็ก เด็กเรรอน เด็กขางถนน เด็กเก็บขยะ เด็กซาเลง เด็กซิ่งรถ เด็กชกมวย เด็กเลนเกมส เด็กติด

เน็ต เด็กติดกาว เด็กตางดาว เด็กขอทาน เด็กยิงขอสอบ เด็กที่ถูกใชเปนเครื่องมือ หรือการแสวงประโยชนใน

รูปแบบตางๆ ฯลฯ เสร็จแลว ก็มักจะพวงคําวา “เด็กขายพวงมาลัย” และ “เด็กเช็ดกระจกรถ” เอาไวในกลุมเด็ก

เหลานี้ดวยเสมอ ไมวาจะเปนการพูดโดยใคร หรือในบทความใดก็ตาม (อดิศักด ผลิตผลการพิมพ 2549;

ไพฑูรย สุขกสิกร 2549)

ซึ่งอันที่จริงนั้น ควรจะมีการจําแนกประเภทของกลุมเด็กตางๆ เหลานี้ ทั้งนี้ เพื่อที่จะสามารถทําความเขาใจ

สภาพปญหา และเงื่อนไขตางๆ ที่เกี่ยวของไดอยางละเอียดลึกซึ้งมากขึ้น เพราะความจริงแลว เด็กขาย

พวงมาลัย-ดอกไม และเด็กเช็ดกระจกรถ ควรจัดอยูในกลุมเด็กทํางาน หรือจําเปนตองชวยครอบครัวทํางาน หรือ

จําเปนตองไดรับการเล้ียงดูจากครอบครัวแบบต่ํากวาเกณฑมาตรฐาน เนื่องจากความจําเปนทางเศรษฐกิจ ซึ่ง

กลุมนี้ ประกอบไปดวย แรงงานเด็ก เด็กเก็บขยะ เด็กซาเลง เด็กชกมวย เด็กขอทาน และเด็กตางดาวบางกลุม

สําหรับเด็กเลนเกมส เด็กติดเน็ต และเด็กซิ่งรถ ก็อาจจัดอยูในกลุมหรือประเภทที่ 2 ซึ่งไดรับอิทธิพลจาก

เทคโนโลยี หรือ อาจเรียกวา เปนกลุมเด็กที่ตกเปนเหยื่อของสังคมสมัยใหม มีพฤติกรรมเสี่ยงตางๆ และมักเที่ยว

เตรยามวิกาล เนื่องจากถูกละเลยจากครอบครัว หรือครอบครัวไมรูเทาทันอิทธิพลของเทคโนโลยีสมัยใหม และ

กลุมที่ 3 คือกลุมเด็กที่เรรอน ไรบาน-ไรรัก และ/หรือ เด็กขางถนน ซึ่งสวนหนึ่งอาจดํารงชีพดวยการขอทาน และ

เก็บของเกาขาย เพื่อประทังชีวิตไปดวยในบางเวลา ซึ่งเด็กกลุมนี้ มักเปนเด็กที่หลุดออกจากครอบครัว และใช

ชีวิตเรรอนไปตามทองถนน และไมไดทํางานที่มีรายไดชัดเจน และบางสวนติดกาว หรือสารเสพติดอื่นๆ อยูดวย

นอกจากนี้ ในปจจุบัน ก็ยังมีเด็กหรือเยาวชนอีกกลุมหนึ่งเพิ่มขึ้นมาดวย คือ เด็กยิงขอสอบ ซึ่งเปนอาชีพที่ทํา

รายไดดีพอสมควร แตจะตองเปนเด็กที่เกง หรือมีผลการเรียนดี (สุวัฒน อัศวไชยชาญ 2548)

1

อยางไรก็ตาม การสืบคนขอมูลในฐานขอมูล Google ก็ชวยทําใหผูเขียนไดทราบความเคลื่อนไหวตางๆ

เกี่ยวกับเด็กขายพวงมาลัย รวมถึงปญหาของเด็กในกลุมตางๆ และทําใหเกิดแรงบันดาลใจในการทําความเขาใจ

การเปลี่ยนแปลงตางๆ ทางสังคม วัฒนธรรม และเทคโนโลยีที่สงผลตอเด็กเปนอยางมาก

นอกจากนี้ ยังทําใหทราบดวยวา มีบุคคลในวงการตางๆ ที่สนใจสภาพความเปนอยู หรือความเปนไปของ

เด็กขายพวงมาลัย มากพอสมควร เพราะมีการกลางถึงกันมาก (แมแตนักธุรกิจ และนักเขียน) โดยเฉพาะตั้งแต

ที่มีเด็กนักเรียนหญิงที่ชวยพอแมขายพวงมาลัย และดอกจําป ถูกรถบรรทุกชนเสียชีวิตเมื่อวันที่ 28 มิถุนายน

2549 ที่เขตราชเทวี กรุงเทพมหานคร (เหตุการณเพิ่งผานไปไมถึงหนึ่งปนี่เอง)

สําหรับกอนหนานี้พบวา มีการศึกษาเกี่ยวกับเด็กขายพวงมาลัยและเด็กเช็ดกระจกรถอยูเนืองๆ เริ่มครั้ง

แรกตั้งแตป พ.ศ. 2519 หรือ 30 กวาปที่ผานมา (จัดทําโดยกระทรวงศึกษาธิการ และสํานักงานสงเสริมเยาวชน)

และมีปรากฏออกมาเปนระยะๆ โดยเฉพาะในชวงที่มีเด็กขายพวงมาลัยจํานวนมากบนทองถนน ในดานหนึ่ง

แสดงใหเห็นวา มีคนสนใจเกี่ยวกับความเปนมา-เปนไปของเด็กกลุมนี้มากพอสมควร แตในอีกดานหนึ่ง ก็แสดง

ใหเห็นดวยวา เร่ืองนี้ยังไมมีทางออกที่ไดผลชัดเจน จึงทําใหมีการเกิดขึ้นของเด็กกลุมนี้ หรือมีการโผลขึ้นมาของ

ปรากฏการณนี้ เปนระยะๆ แลวก็หายไป แลวก็เกิดขึ้นอีก ไมจบส้ิน ส่ิงนี้ จึงเปนความนาสนใจวา เปนเพราะอะไร

คําถามหลักของบทความ

บทความนี้ เปนความพยายามที่จะตอบคําถาม หรือทําความเขาใจประเด็นตางๆ ที่เกี่ยวของกับการเกิดขึ้น

คงอยู สูญสลายไป โผลขึ้นมาใหม ของอาชีพเด็กขายพวงมาลัย ซึ่งหลายๆ คนมองวา เปนอาชีพของคนชายขอบ

ที่มีความเชื่อมโยงกับปรากฏการณเมือง หรือความเปนศูนยกลางของเมือง ซึ่งในบทความนี้ ก็ไดพยายามที่จะ

วิเคราะหใหเห็นถึงความเชื่อมโยงดังกลาวใหมีความชัดเจนมากขึ้น รวมทั้งการทําความเขาใจ ปจจัย-องคประกอบที่สําคัญของการดําเนินอาชีพ “ขายพวงมาลัย” โดยเฉพาะ ความเปนเด็ก และความเปนถนน นั้นมีความสําคัญอยางไรตอการดําเนินอาชีพขายพวงมาลัย และการสะทอนสภาพชีวิตของเด็กและ

ครอบครัวพวงมาลัย รวมไปถึงชุมชน หรือเขตที่อยูอาศัยของเด็กเหลานี้ อยางมีความสัมพันธเชื่อมโยงซึ่งกันและ

กัน รวมถึงทําความเขาใจ เงื่อนไข หรือภาวะแวดลอมตางๆ ที่เปนตัวกําหนดการดิ้นรนตอสู และกลยุทธในการอยู

รอด โดยเฉพาะเมื่อนําปจจัยดานชนชั้น เพศสภาพ และชาติพันธุเขามาพิจารณารวมดวยนั้น ทําใหเราเขา

ใจความสลับซับซอนในความเปนชายขอบของคนกลุมนี้ มากขึ้นอยางไรบาง

ส่ิงที่สําคัญอีกประเด็นหนึ่งก็คือ ความรูสึกของเด็กในฐานะที่เปนผูหาเลี้ยงครอบครัว ความตระหนักใน

ความเสี่ยง ความตองการดานการศึกษาและ/หรือสัมฤทธิ์ผลดานนี้ และความตองการเกี่ยวกับอนาคต หรืออาชีพ

ในอนาคตของเด็กกลุมนี้ ส่ิงเหลานี้บงบอกอะไรแกสังคมไทย บทบาทของรัฐและ/หรือ หนวยงานตางๆ ที่

เกี่ยวของเปนอยางไร หรือมีมุมมองอยางไรตอเด็ก ปฏิสัมพันธซึ่งกันและกันในชวงที่ผานมาเปนอยางไร คนใน

สังคมมองเด็กเหลานี้อยางไร ดัชนีชี้วัดความสําเร็จของมนุษยที่จัดทําโดยหนวยงานพัฒนาของสหประชาชาติ ใน

2

บริบทดังกลาวนี้ ใชการไดหรือไมได หรือใชไดมากนอยแคไหน อยางไร ทางออก และ/หรือ ทางเลือกตางๆ ที่

ไดผลคืออะไร มีหรือไม อยางไร เปนเพราะอะไร

นอกจากนี้ บทความนี้ยังพยายามที่จะตอบคําถามหลักตามแนวการศึกษาสังคมศาสตรแนวใหม ที่เรียกวา

“ปญญาปฏิบัติ” (phronesis) หรือ “สังคมศาสตรแนวปญญาปฏิบัติ” (phronetic social science) (อรทัย

อาจอ่ํา 2546; Flyvbjerg 2001) ที่ใหความสําคัญกับการศึกษาวิจัย หรือการใหแสงสวางทางปญญา โดยการ

ศึกษาวิจัย และการนําผลการศึกษาวิจัย (หรือการสังเคราะหองคความรู บนพื้นฐานของการวิจัย - ขอมูลทุติย

ภูมิ) ไปใชใหเปนประโยชน โดยเปนการตั้งคําถามกับตนเองในฐานะนักวิจัย 4 ประการ ดังนี้คือ

1. เรากําลังจะไปทางไหนกันดี เกี่ยวกับ ปญหานี้-สถานการณเชนนี้?

2. ใครได และใครเสีย ภายใตกลไกของอํานาจแบบใด?

3. ส่ิงที่เกิดขึ้นนี้ เปนส่ิงที่พึงปรารถนาของสังคมหรือไม? และ

4. เราควรจะตองทําอะไรตอไป หรือทําอยางไรกันดี?

นอกจากนี้ การศึกษาปรากฏการณสังคมตามแนวของสังคมศาสตรเชิงปญญาปฏิบัติ ยังเนนย้ําถึง

ความสําคัญของสิ่งละอันพันละนอย (minutae) ซึ่งถาเราสามารถทําความเขาใจ ส่ิงเล็กๆ นอยๆ ปลีกยอยเหลานี้

ใหไดมากเทาใด ก็สามารถสะทอนใหเห็นถึงปมประเด็นปญหาที่ยิ่งใหญไดทั้งส้ิน เชนเดียวกับเรื่องราวของเด็ก

ขายพวงมาลัย ซึ่งดูเหมือนเปนกลุมคนที่ไมมากมายนัก เม่ือเปรียบเทียบกับกลุมอาชีพ หรือประเด็นปญหาอื่นๆ

แตกลับสามารถสะทอนภาพของความเปนเมืองที่โตแบบไมเทาเทียม หรือทําใหเกิดความเหลื่อมลํ้าไดเปนอยางดี

นอกจากนี้ แงมุมตางๆ ที่เปนรายละเอียดปลีกยอยของเด็กและครอบครัวพวงมาลัย ก็ชวยทําใหเขา

ใจความละเอียดออน และความเปนไปของชีวิตของกลุมคนชนชั้นลางไดอยางแจมชัด และมีความเชื่อมโยงกับ

ปญหาตางๆ ของครอบครัว-สังคม เชน การติดสุรา การลักเล็กขโมยนอย การติดยาเสพติด-สารระเหย การคา

ยาบา ฯลฯ ถาสังคม หรือหนวยงานที่เกี่ยวของแกไขปญหาไมตรงจุด ก็จะกลายเปนการตอกย้ําซ้ําเติมการ

ดํารงชีวิตที่ยากอยูแลวของคนเหลานี้ ใหมีความยากลําบาก มีความทุกขระทมแสนสาหัสมากขึ้น และ/หรือ เปน

การถาโถม หรือทําใหปญหามีความสลับซับซอนมากยิ่งขึ้นไปอีก

ความมุงหวัง หรือความคาดหวังของบทความ-ผูเขียน

ผูเขียนคาดหวังวา ผูที่มีโอกาสอานบทความนี้ จะมีความเขาใจกลุมเด็กขายพวงมาลัย และครอบครัวของ

พวกเขามากขึ้น โดยเฉพาะกลุมคนหรือประชาชนที่มีทัศนะ ความคิดเห็น และความรูสึกที่ไมดีตอคนกลุมนี้ ซึ่ง

สวนหนึ่งเปนผลมาจากการประสบกับการกระทําที่กาวราว หรือไดรับประสบการณที่ไมดีจากเด็กกลุมนี้ เชน การ

ถูกบังคับใหซื้อพวงมาลัย และ การถูกโกงเงินทอน เปนตน

นอกจากนี้ ผูเขียนยังคาดหวังวา จะทําใหสังคมเกิดความสนใจในกลุมเด็กตางๆ ดังกลาวขางตนอยาง

จริงจัง ไมเฉพาะกลุมเด็กขายพวงมาลัย เทานั้น และนําไปสูความพยายามที่จะเขาถึงและเขาใจ คนกลุมนี้ให

มากขึ้น ส่ือสารกันใหมากขึ้น และเขาใจสภาพปญหา และความตองการของพวกเขาใหมากขึ้น จนนําไปสูการ

รวมมือกันในการหาทางออกตางๆ ทั้งในดานอาชีพ-การทํามาหากิน การศึกษาของเด็ก การฝกอบรม การบําบัด

3

เยียวยาครอบครัว (family therapy) การจัดสรรสวัสดิการที่พอเพียง การปรับเปลี่ยนโครงสรางดานตางๆ ของ

สังคม เชน เรื่องการครอบครองที่ดิน-ปจจัยการผลิต การมีนโยบายการพัฒนาที่เนนความเทาเทียม หรือลด

ชองวางทางชนชั้นที่เปนอยู และการตรากฎหมายหรือพระราชบัญญัติตางๆ ที่ใหการปกปองคุมครอง หรือ

เกื้อหนุนใหคนชั้นลางสามารถดํารงชีวิตอยูไดอยางมีคุณภาพพอสมควร และสิทธิประโยชนตางๆ ทั้งในระดับ

ปจเจกบุคคล ระดับครอบครัว ไปจนถึงระดับชุมชน-ละแวกที่อยูอาศัย และระดับพื้นที่-ภาค ระดับเมือง-นคร

จนถึงระดับประเทศ สําหรับลําดับตอจากนี้ จะเปนการเขาสูเนื้อหา หรือนําเสนอแงมุมตางๆ ที่มีความสําคัญตอ

การทําความเขาใจ “เด็กขายพวงมาลัย-ขายดอกไม-เช็ดกระจกรถ” รวมทั้งครอบครัวของพวกเขา

ความเปนชายขอบกับความเปนเมือง-ศูนยกลาง และชีวิตเด็กขายพวงมาลัย

คําหลัก (keywords) ที่สําคัญยิ่งคําหนึ่งของบทความนี้ คือคําวา “ชายขอบ” หรือ “ความเปนชายขอบ”

(marginality) หรือกระบวนการผลักใหเปนชายขอบ (marginalisation) ซึ่งไดรับอิทธิพลในเชิงแนวคิดทฤษฎีมา

จาก ทฤษฎีการพัฒนา ที่เรียกวา การพัฒนาความดอยพัฒนา และทฤษฎีการพ่ึงพิง (Dependency Theory)

ของนักวิชาการในแอฟริกา และลาตินอเมริกา ซึ่งทําการพัฒนาแนวคิดและทฤษฎีนี้ขึ้นมา เพื่อเปนการทัดทาน

หรือเปนแรงตาน หรือ จะเรียกวาเปน “ยาแก” ตอ “โรคความดอยพัฒนา” ที่กลุมนักวิชาการตะวันตกหยิบยื่นให

อันเปนผลมาจากการนําเสนอทฤษฎีความทันสมัย หรือการพัฒนาความทันสมัย (Amin 1974, 1976; Cardoso

and Faletto 1979; Emmanuel 1972; Frank 1967)

ทฤษฎีดังกลาว วิเคราะหถึงความสัมพันธที่ไมเทาเทียมกันระหวางประเทศที่เปนศูนยกลางของระบบทุน

นิยม และประเทศบริวาร ที่เปนชายขอบของระบบเศรษฐกิจของโลก ซึ่งถูกเอารัดเอาเปรียบจากประเทศทุนนิยม

ศูนยกลาง เพราะอยูภายใตเงื่อนไขของระบบที่ไมมีความเทาเทียมดานอํานาจ และการแลกเปลี่ยนที่ไมเทาเทียม

ของระบบการคาของโลก และนักวิชาการดานการพัฒนาไดนําเอาแนวคิดและทฤษฎีดังกลาวมาประยุกตใชใน

การทําความเขาใจปฏิสัมพันธตางๆ ในระดับภูมิภาค และระดับประเทศหรือ รัฐ-ชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง การทํา

ความเขาใจความสัมพันธระหวางเมืองกับชนบท ความสัมพันธระหวางคนในชนชั้นตางๆ ในสังคม รวมถึง

ความสัมพันธระหวางภาคเศรษฐกิจที่เปนทางการ และไมเปนทางการ ซึ่งสามารถนํามาประยุกตใชไดเปนอยางดี

เพราะทําใหมองเห็นถึงความแตกตางหลากหลายตางๆ ที่มีอยูในสังคมมากขึ้น และยังทําใหเขาใจถึงการดํารงอยู

หรือการเกิดขึ้นของความแตกตางหลากหลายดังกลาวอีกดวย

สําหรับในกรณีของเด็กขายพวงมาลัยก็เชนกัน ที่สามารถนําทฤษฎีศูนยกลางและชายขอบ (centre and

periphery) มาใชในการอธิบายไดอยางมีความสอดคลองเปนอยางยิ่ง เพราะสามารถทําใหมองเห็นถึงความ

สลับซับซอน ที่ดํารงอยูในเมือง เหมือนดังที่งานศึกษาของนักวิชาการหลายๆ ทานไดสะทอนออกมากอนหนานี้

ซึ่งอยูบนพื้นฐานของการศึกษาในกลุมเกย หญิงรักหญิง วัยรุน คนชรา-ผูสูงอายุ คนเก็บขยะ และเด็กขางถนนใน

เมือง และทําใหเขาใจความหลากหลายของความเปนชายขอบ ไมวาจะเปนความแตกตางทางชนชั้น ความ

แตกตางทางเพศสภาพ และความแตกตางของวัย-อายุ (ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล 2545)

นอกจากนี้ การศึกษาดังกลาวขางตนนั้น ยังพบดวยวา ความแตกตาง และความสลับซับซอนภายในกลุม

หรือคนที่อยูในระนาบเดียวกัน หรือกลุมเดียวกันนั้น เม่ือนําเอาประเด็นชนชั้น (class) วัย-อายุ (age) ชาติพันธุ

4

(ethnicity) และเพศสภาพ (gender) เขามาพิจารณารวมดวย ก็ยิ่งพบความแตกตาง และความสลับซับซอน

มากขึ้นไปอีก ยกตัวอยางเชน กรณีของกลุมหญิงรักหญิง เม่ือนําประเด็นชนชั้นเขามาประกอบการพิจารณา ก็

พบวา หญิงรักหญิงที่เปนชนชั้นกลาง มีการปฏิบัติ และมีสํานึกที่แตกตางจากหญิงรักหญิงที่เปนสาวโรงงาน หรือ

สาวชนบท หรือมีลักษณะที่แยกยอยลงไปอีก (ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล 2545) และส่ิงนี้ ก็พบในกลุมเด็ก

ขายพวงมาลัย ดวยเชนกัน โดยเฉพาะเมื่อนําประเด็นวัย-อายุเขามาพิจารณา จะพบวา ความสําเร็จในการ

ดําเนินอาชีพนี้ มีความสัมพันธกับอายุของเด็ก กลาวคือ ยิ่งเด็กมีอายุนอยเทาไร ก็สามารถขายไดมากขึ้น เทานั้น ดวยเหตุนี้ ยิ่งมีความเปนเด็กมากเทาไร ก็ยิ่งสามารถทําใหคนสงสาร หรือเห็นใจมากขึ้นตามไปดวย และถา

เด็กใสชุดนักเรียนไปขายในตอนเย็น จนถึงดึกดื่นดวยแลว ก็ยิ่งจะทําใหประสบผลสําเร็จในการขาย นอกจากนี้

เด็กเล็กยังไมรูสึกอาย แตเม่ือเด็กโตมากขึ้น จะรูสึกอาย และไมตองการขายพวงมาลัยอีกตอไป (ปวีพร ประสพ

เกียรติโภคา 2546; ดาลัด ศิระวุฒิ 2548; สุนทราภรณ จันทภาโส 2546; สุกัญญา พรโสภากุล 2546)

ดังนั้น เด็กขายพวงมาลัยจึงจําเปนตองชวยพอแมทํางาน ตั้งแตยังไมเขาเรียนเลยดวยซ้ํา แตก็ตองอยูใน

สายตาของพอ-แม หรือผูปกครอง (เพราะเกรงวาเด็กจะถูกทําราย หรือถูกแยงเงินที่ขายได กอนกลับถึงบาน)

สําหรับเด็กที่อายุมากขึ้นหนอย ก็ตองเดินเรขายไปตามยานตางๆ ทั้งรานอาหาร บารเบียร ไนทบารซาร ฯลฯ (สุ

กัญญา พรโสภากุล 2546) และประเด็นชาติพันธุ หรือเชื้อชาติ ก็มีความสําคัญตอการทําความเขาใจความ

สลับซับซอนภายในกลุมเด็กขายพวงมาลัย ดังเชน เด็กขายพวงมาลัย-ดอกไม ในจังหวัดเชียงใหม ที่พบวา สวน

ใหญเปนชาวอาขา และเปนเพศหญิง (ในขณะที่เด็กขายพวงมาลัยสวนใหญในจังหวัดนครศรีธรรมราชนั้น เกือบ

ทั้งหมดเปนเพศชาย) เด็กกลุมนี้จําเปนตองเขามาขายพวงมาลัยและดอกไม (ดอกกุหลาบ-ดอกมะลิ) เพราะ

สามารถพูดภาษาไทยได ในขณะที่พอ แมพูดไมคอยได (โดยเฉพาะอาขาที่อพยพมาจากประเทศพมา) เด็กจึง

จําเปนตองชวยเหลือครอบครัว และเด็กหลายคนไมมีพอ เนื่องจากพอติดคุก (เพราะเกี่ยวของกับยาเสพติด)

หรือพอตาย จึงเหลือแตแม ซึ่งไมสามารถพูดภาษาไทยได และไมมีทุนในการทํามาคาขาย หรือทําอาชีพอิสระ

เหมือนกับกลุมอาขาที่พอมีทุนและขายของที่ระลึกที่เกี่ยวของกับวัฒนธรรมของเผาตนเองได

นอกจากนี้ ก็ยังมีความแตกตางดานอื่นๆ ภายในกลุมอาขาเอง โดยเฉพาะความแตกตางระหวาง กลุมที่มา

จากประเทศพมา และกลุมที่มาจาก อําเภอแมสรวย จังหวัด เชียงราย อันเนื่องมาจากการมีหรือไมมีบัตร

ประชาชน สําหรับคนที่มีบัตรประชาชน ก็สามารถเขาทํางานในภาคเศรษฐกิจที่เปนทางการ ดังเชน โรงงาน

อุตสาหกรรม หรือบริษัทหางรานตางๆ ได แตถาไมมี ทางเลือกตางๆ มีใหไมมากนัก จึงจําเปนตองทําอาชีพอิสระ

ที่ไมตองลงทุนอะไรมากมาย

อยางไรก็ตาม กลุมเด็กอาขาที่เคลื่อนยายมาจากจังหวัดเชียงรายนั้น มักจะประสบกับปญหาตางๆ มาก

พอๆ กับกลุมที่อพยพมาจากพมา เนื่องจากเปนกลุมที่ถูกทางการเพงเล็ง วาเกี่ยวของกับการคายาเสพติด เพราะ

อยูใกลกับแหลงผลิต หรือใกลเสนทางลําเลียงยาเสพติด ประกอบกับ การเขามาอยูในเมืองเชียงใหม ก็ไมไดรับ

การยอมรับหรือตอบสนองที่ดีจากตลาดแรงงาน (ไมคอยมีใครอยากใหงานทํา) หรือถูกรังเกียจจากคนพื้นเมือง

เนื่องจากมองวาคนเหลานี้บุกรุกพื้นที่ปา คายาเสพติด ไมมีการศึกษา และสกปรก และอีกสวนหนึ่งเปนผลมา

5

จากการที่คนเหลานี้ มีคดีความที่เกี่ยวของกับยาเสพติดบอยครั้ง จึงทําใหภาพพจนเสียทั้งหมด (สุกัญญา พร

โสภากุล 2546)

การขายพวงมาลัยและดอกไมของเด็กเหลานี้ จึงมีความยากลําบากไมนอย โดยเฉพาะกลุมที่ตองขายอยู

ตามยานบารเบียร และไนทบาซาร ซึ่งเปนยานบันเทิง และมสีถานบริการตางๆ ที่ไมเหมาะสมกับเด็ก เหมือนดังที่

มีบุคคลหนึ่ง ที่ไมพอใจเด็กเหลานี้ และเขียนแสดงความคิดเห็นเชิงลบตอเด็ก ปานประหนึ่งวาเด็กเปนขอทาน

โดยเขากลาววา.....“มันยากเหมือนกันนะครับ หมดรุนหนึ่งก็มาอีกรุนหนึ่งเหมือนขอทาน (ประเภท แขนขายังดี)

คนบอกวาอยาให ไมเชนนั้น เขาก็จะงอมืองอเทาตอไป แตก็ยังไมหมดสักที มีรุนใหมมาเรื่อยๆ แถมยังขามชาติ

มาอีก แถวบานผมก็เด็กขายดอกมะลิ แถวไนทบาซาร หรือตามบารเบียรตางๆ ตั้งแตหัวค่ําถึงดึก ก็มีแตเด็กพวก

นี้ยั้วเยี้ยไปหมด คิดดูสิครับวา วันหนึ่งวันหนึ่งก็วนเวียนอยูยานแบบนี้ ไมทันโตก็จะไปเปนอะไร” (คุณแสนไชย

(นามสมมุติ) สนทนาเมื่อ 19 ตุลาคม 2548)

จากคํากลาวขางตน แสดงใหเห็นถึงการเกลียดชังกลุมชาติพันธุที่มีความแตกตางจากตน นอกจากนี้ ส่ิงที่

จะตองทําความเขาใจในเนื้อความดังกลาว ก็คือ การที่บุคคลคนนี้มองวา เด็กเหลานี้งอมืองอเทา ทั้งๆ ที่ในความ

เปนจริงนั้น พวกเขากําลังทํางาน หรือ ทําการขายสินคา แตเนื่องจากสินคาเหลานี้ อาจจะไมเปนที่ตองการ จึง

เปนไปไดวา เขารูสึกวา ถูกเด็กยัดเยียด ตื้อ หรือ กึ่งบังคับใหเขาซื้อ

ดังนั้น การเปนเด็กขายพวงมาลัยที่มีชาติพันธุที่แตกตางไปจากกลุมชาติพันธุหลักของสังคม จึงอาจไมใช

ทางทํามาหากินที่จะชุบเล้ียงชีวิตของเด็กและครอบครัวไดตอไปอยางยืนนาน เพราะตองฝากระแสเกลียดชังของ

คนพื้นเมือง หรือเจาถิ่นเดิมไปใหได ซึ่งไมใชเร่ืองงาย และในที่สุด เด็กก็ตองลงเอยดังที่บุคคลขางตน กลาวสบ

ประมาทไว เพราะเมื่อเด็กตองประสบปญหาตางๆ โดยเฉพาะ การถูกปฏิเสธจากผูคน ขายสินคาไมคอยได

รายไดไมพอเพียง และเมื่อมีอายุมากขึ้นๆ เด็กๆ เหลานี้ ก็จะผันตัวเองไปทํางานในสถานบริการตางๆ และสวน

หนึ่งตัดสินใจไปอยูกับชาวตางชาติ ซึ่งก็คงลงเอยในเรื่อง การใหบริการทางเพศกับชาวตางชาติเหลานี้ (อยางไรก็

ตาม สําหรับประเด็นนี้ ยังไมมีขอมูลหรือรายละเอียดเพียงพอ ที่จะกลาวสรุปใดๆ ณ ขณะนี้ไดดีนัก)

ความเปนเด็ก-ชีวิตเลือดเนื้อของเด็ก และความเปนถนน: ปจจัยการผลิตของคนชายขอบในเมือง โดยปกติ การที่คนเรา จะประกอบอาชีพอะไรก็ตามแต โดยเฉพาะอยางยิ่ง อาชีพที่อิสระทั้งหลาย ก็มักจะ

ตองมีการ “ลงทุน” ไมวาจะเปนแรงงาน ความรู–ความคิด เงินทุน ที่ดิน สถานประกอบการ ส่ิงแวดลอมทาง

ธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมที่มนุษยสรางขึ้น ฯลฯ ซึ่งส่ิงเหลานี้ในทางเศรษฐศาสตร มักเรียกกันวา “ปจจัยการ

ผลิต” แตสําหรับคนจน หรือคนที่ไมสามารถเขาทํางานในระบบการจางงานแบบปกติ ที่เปนทางการได พวกเขาก็

มีเพียงแค “แรงงาน” และอาจมีความรู-ทักษะอยูบาง ที่อาจเรียกเปน “ทุนทางปญญา” หรือเปน “ปจจัยการผลิต”

ตั้งตนอยางหนึ่ง เพราะแมแตเงินทุนเล็กๆ นอยๆ เพียงแค 2,000- 3,000 บาท ก็อาจจะตองไป ขอหยิบขอยืม

จากญาติพี่นอง คนที่รูจัก หรือนายทุนเงินกูนอกระบบ

6

สําหรับอาชีพการขายพวงมาลัยก็เชนกัน จากการศึกษาของสุนทราภรณ จันทภาโส (2546) พบวา พอแม

ของเด็กขายพวงมาลัย หรืออาจเรียกวา ครอบครัวพวงมาลัย จํานวนไมนอยมักจะตองไปขอหยิบขอยืมเงินทุน

จากนายทุนเงินกูนอกระบบ หรือเพื่อนบาน หรือญาติ เพื่อนํามาลงทุนในการซื้อดอกมะลิ และอุปกรณตางๆ

หรืออาจตกอยูภายใตการครอบงําของผูที่มีอิทธิพลในวงการนี้ หรือคนที่ทําตัวเปน เจาพอและเจาแมในวงการ

นอกจากนี้ สุนทราภรณ จันทภาโส (2546) ยังพบดวยวา ครอบครัวพวงมาลัยที่ศึกษา ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

มีหนี้สิน ซึ่งสวนหนึ่งเปนหนี้สินที่เกิดจากการลงทุนทําอาชีพนี้ และหนี้สินประเภทอื่นๆ จํานวนมาก

ดังนั้น การที่พอแม หรือผูปกครองของเด็ก ใชเด็กไปขายพวงมาลัยใหนั้น เปนเพราะมองเห็นวา “ความเปน

เด็ก” นั้นจะชวยทําใหบรรลุเปาหมายของการขาย ไดมากกวา ทั้งนี้เนื่องจาก “ความเปนเด็ก” เปนลักษณะสากล

ที่สามารถเรียกรองความเห็นอกเห็นใจ ความสงสาร และความชวยเหลือจากผูอื่นไดมาก คนจนจํานวนมากจึงใช

แรงงานของลูกหลานของตนในการชวยดํารงชีพ ดังนั้น “ความเปนเด็ก” จึงถือเปน “ทุน” หรือ “ปจจัยการผลิต”

ชนิดหนึ่งของคนจน หรือคนที่จัดวาอยู “ชายขอบ” ของระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม นอกจากนี้ เด็กสวนใหญยัง

ใช “ทุนทางวัฒนธรรม” ที่ตนเองมีอยูและสังคมไทยชอบ หรือถือเปนประเพณีปฏิบัติที่แสดงใหเห็นถึงความออน

นอมถอมตน ดังเชน การยกมือไหว เพื่อขอความเห็นใจจากผูซื้อ หรือลูกคาของตนดวย และสวนใหญมักใช

ไดผลดี ยกเวนในกรณีเด็กโตหนอย (เกิน 15 ป) จะไมไหว เพราะถือวาตนเองโตแลว เปนหนุมแลว และเปนเรื่อง

ของศักดิ์ศรี (สุนทราภรณ จันทภาโส 2546)

ตอคําถามที่วา ทําไมจึงตองขายบนถนน? ความจริงแลว “ความเปนถนน” เปนตัวสะทอนความเปนเมือง

อยางแทจริง ที่ไหนไมมีถนน หรือถนนเขาไปไมถึง เรามักเรียกกันวา ถิ่นกันดาร ขาดการพัฒนา หรือการพัฒนา

ยังไปไมถึง หรือ บางคนเรียกแบบดูถูกวาเปน “บานนอกคอกนา” ถนนจึงเปนส่ิงที่คูกับเมือง เปนตัวชี้วัดของการ

พัฒนา และเปนสัญลักษณของความเปนเมือง (สิริพร สมบูรณบูรณะ 2545)

การใชถนน เปนแหลงทํามาหากิน หรือแหลงในการสนับสนุน-การดํารงชีวิต จึงเปนการใชทรัพยากรของ

เมืองที่อยูตรงหนาใหเปนประโยชน เพราะถาไมขายบนทองถนน ก็ตองไปขายบนฟุตบาทหรือทางเทา ซึ่งจะตอง

ไปแยงชิงพื้นที่ทางเทา กับพวกแผงลอย ที่ยึดพื้นที่กันไปหมดแลว โดยเฉพาะในยานที่มีคนสัญจรไปมา

พลุกพลานนั้น พบวา ไมมีพื้นที่บนทางเทาเหลือไวสําหรับคนกลุมนี้เลย และถาไมขายบนทางเทา ก็จะตองมีแผง

หรือรานเล็กๆ ของตนเอง ก็ติดปญหาวาจะไปตั้งตรงไหน หรือจะตองทําการเชาที่ดินปลูกเพิง ซึ่งมีความเปนไปได

นอยมาก หรือเปนไปไดเฉพาะกรณีที่เปนที่ดินรกราง หรือเปนที่ดินของรัฐ หรือรัฐวิสาหกิจ ที่ไมมีการดูแล หรือ

ไมไดใชประโยชนเทานั้น แตถาเปนที่ดินเอกชน ยิ่งเปนในยานธุรกิจ ซึ่งที่ดินมีราคาแพงลิบล่ิวนั้น ยิ่งเปนไปได

ยากหรือเลิกคิดไดเลย เพราะที่ดินหายากมาก หรือถึงแมจะมีที่ดิน พอจะแบงปนขอเชาได แตคนเหลานี้จะเอาทุน

หรือเงินที่ไหนมาเชา

นอกจากนี้ การลงทุนสูงเกินไปในขณะที่มูลคา หรือราคาสินคาที่ขายนั้น มีราคาต่ํา คงไมมีใครทํา เพราะรูดี

วาไมคุมทุน ดังนั้น ในกรณีของการขายตามสี่แยกไฟแดง ก็จะรอเวลา หรือรอลูกคา อยูตามใตสะพาน ซึ่งเทียบ

ไดกับ สถานประกอบการ หรืออาคารพักพิง ที่ไมตองลงทุนในการสรางอีกเชนกัน ประกอบกับ พวงมาลัยมี

7

ความสัมพันธกับส่ิงศักดิ์สิทธิ์ ซึ่งคนใชรถใชถนนจํานวนมาก นําไปกราบไหวบูชาพระพุทธรูป หรือ ส่ิงศักดิ์สิทธิ์

หรือวัตถุมงคลที่มีอยู ทั้งในรถและที่บาน

ดวยเหตุนี้ กลุมลูกคาที่ขับรถสัญจรไปมา จึงเปนกลุมเปาหมายที่สําคัญที่สุด ของครอบครัวพวงมาลัย และ

แนนอนวา พื้นที่ๆ เหมาะสมที่สุดก็คือ ถนนและสี่แยกไฟแดง นั่นเอง แตก็สังเกตเห็นไดอยางชัดเจนวา ชวงหลังๆ

มานี้ เด็กขายพวงมาลัย-ดอกไม-ขนม-มะมวง-ทิชชู ฯลฯ ที่จําเปนตองใชพื้นที่ถนนทํามาหากินนั้น มีเพิ่มมากขึ้น

และเปดพื้นที่การคาขาย หรือขยายพื้นที่การคาของตนเพิ่มขึ้น สวนหนึ่งเปนผลมาจาก จํานวนผูคาตามแยก

ตางๆ มีเพิ่มขึ้น และไมตองการแขงขันกันเอง (แตในบางครั้ง ก็จําเปนตองแยงกันขาย หรือแยงลูกคากันบาง

เพราะถาขายไมหมด กลับไปบานก็จะถูกลงโทษ) และสวนหนึ่งเปนผลมาจากมีการจับปรับในบางครั้ง แตระยะ

หลังๆ มานี้ ตํารวจจะไมคอยจับ ถาขายเฉพาะพวงมาลัย หรือดอกไม หรือขนม-ลูกอม-ทิชชู หรือสินคาตางๆ

โดยไมมีการเช็ดกระจกรถ ส่ิงนี้เปนลักษณะรวมของเมืองทั้งในกรุงเทพมหานคร เชียงใหม และนครศรีธรรมราช

เนื่องจากตํารวจเองก็เห็นใจเด็กขายพวงมาลัย แตถาเช็ดกระจกรถดวย มักทําใหเกิดปญหาตางๆ ตามมา จึงไม

อนุญาตใหเช็ดกระจกรถ หรือไมอนุญาตใหทําอาชีพนี้บนทองถนน (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548 : 38)

นอกจากนี้ ยังพบวา เด็กขายพวงมาลัยเหลานี้ใช “ทุน” ที่สําคัญอีกประการหนึ่งที่ตนเองมีอยู ก็คือ รางกาย

หรือจะเรียกวา ชีวิตเลือดเนื้อ ของตนเองก็วาได เด็กเหลานี้จะตองทุมเททุกอยาง พวกเขาจะตองใชการเดิน เดิน

และเดิน เรขายไปตามรานอาหาร สวนอาหาร แผงลอย และตลาดโตรุงในยานตางๆ เด็กบางสวนตองเดินทาง

เปนระยะไกลมากในวันหนึ่งๆ หรือเดินเรขายแบบนับรอบไมถวน ดังที่เด็กคนหนึ่งสะทอนวา... “ถาจะให

เปรียบเทียบ อาจเทากับระยะทางจากหาแยกลาดพราว ไปจนถึงชลบุรีก็วาได” (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548: 35)

เพราะฉะนั้น ถาเรามองจากแงมุมตางๆ ของคนเหลานี้ จะทําใหเราสามารถเขาใจไดเปนอยางดีวา ทําไมคน

เหลานี้จึงประกอบอาชีพดังกลาว ทั้งๆ ที่เส่ียงตอการถูกตํารวจหรือเทศกิจจับปรับ หรือถูกดุดา หรือเส่ียงตอ

อุบัติเหตุ และอาจอันตรายถึงแกชีวิต (ดังเชนที่เกิดขึ้นกับเด็กหลายๆ คนมาแลว) และเปนการบั่นทอนการเรียน

หรือทําใหผลการศึกษาตกต่ํา (ซึ่งเทากับเปนการปดโอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคมของตนเอง เพราะการศึกษา

เปนเครื่องมือในการเลื่อนชั้นทางสังคมที่สําคัญยิ่ง) แตก็ยังจําเปนตองทํา หรือทั้งๆ ที่รูวาเปนอาชีพที่ต่ําตอย (ใน

สายตาของคนจํานวนมาก) ทั้งยังตองทํางานหนักตากแดด ตากลม กรําฝน เพียงเพื่อรายไดพอประทังชีวิต

ดังเชน เด็กจํานวนมากในจังหวัดนครศรีธรรมราชที่มีรายไดเพียง 50-100 บาทตอวัน ก็ยังจําเปนตองทํา

(สุนทราภรณ จันทภาโส 2546) เพราะถาไมทํา จะเอาชีวิตรอดไดอยางไร ในขณะที่เด็กที่จังหวัดเชียงใหม อาจมี

รายไดมากกวาพอ ซึ่งเปนกรรมกรกอสราง (ซึ่งมีรายไดเพียงวันละ 50-100 บาท เนื่องจากเปนชนเผาอาขา ที่ไม

มีทางเลือก ไมมีใครตองการรับเขาทํางาน จึงจําเปนตองรับคาจางที่ต่ํากวาอัตราปกติ) จึงทําใหเด็กอาขาที่เดินเร

ขายดอกไมและพวงมาลัย กลายเปนความหวัง หรือเปนผูสรางรายไดหลักใหกับครอบครัว เพราะสามารถหา

รายไดๆ มากกวาผูเปนพอของตนเอง บางคืนไดมากถึง 400-500 บาท (โดยยังไมไดหักตนทุน) (ปวีพร ประสพ

เกียรติโภคา 2546; สุกัญญา พรโสภากุล 2546)

8

ดังนั้น การขายพวงมาลัยบนทองถนน จึงเปนการทํามาหากินที่สุจริต เปนการลงทุนดานตัวเงินที่ต่ํา แตเปน

การลงทุนดานเวลา รางกายและจิตใจ-อารมณที่สูงมากของเด็ก หรืออาจเรียกวา เปนการลงทุนดวยชีวิตของเด็ก

เลยก็วาได เพราะเด็กตองขาดโอกาสในการศึกษา หรือทําใหสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษาตกต่ํา สงผลใหขาดโอกาส

ในการเลื่อนชั้นทางสังคม และตองตกอยูในวัฒนธรรมแหงความยากจนตอไป (Lewis 1961a; 1961b, 1968)

เผชิญภาวะกดดันรอบดาน: สัมมาอาชีพที่ไมมีใครชื่นชอบ

นอกจากนี้เด็กยังตองมีการปรับตัวสูง เพื่อใหสามารถดําเนินอาชีพนี้ไดตลอดรอดฝง และมีการเก็บกดดาน

อารมณ-ความรูสึกและความตองการตางๆ คอนขางสูง ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถเผชิญกับแรงกดดันตางๆ จากภาวะ

รอบดานอยางไมสามารถหลีกเลี่ยงได เร่ิมตั้งแต ภาวะกดดันภายในครอบครัว เพราะถาขายพวงมาลัยไมหมด ก็

จะถูกทําโทษ หรือถูกวากลาวตางๆ นานา รวมทั้งเพื่อนๆ ที่คอยลอเลียน หรือแมแตครูที่โรงเรียน ที่คอยทําโทษ

เพราะเด็กมาสาย ไมคอยทําการบาน และผลการเรียนตกต่ํา สวนหนึ่งตองเรียนช้ําชั้น เพราะเรียนไมรูเรื่อง เด็ก

ขาดสมาธิ และขาดแรงจูงใจในการเรียน (สุนทราภรณ จันทภาโส 2546; สุกัญญา พรโสภากุล 2546; ปวีพร

ประสพเกียรติโภคา 2546)

นอกจากนี้ ยังจําเปนตองเผชิญแรงกดดันจากกลุมผูขายดวยกันเอง ที่อาจมีการแยงกันขาย ทั้งแยงตัว

ลูกคา-ผูซื้อ และแยงพื้นที่คาขาย หรือการเผชิญกับสายตาของผูสัญจรไปมา หรือผูคนที่คอยขับไลดวยความ

รําคาญ หรือเมื่อขายเสร็จแลวในตอนดึก ก็อาจจะตองคอยเผชิญกับกลุมเด็กวัยรุนที่ติดยา ที่อาจคอยรีดไถเงิน

คาขาย หรือในระหวางการขาย ก็ตองคอยดู คอยหลบ คอยหนี ตํารวจ เทศกิจ ที่มีหนาที่โดยตรงในการดูแล

รักษาความเรียบรอยของพื้นที่สาธารณะ ทองถนนและกฎระเบียบการจราจร

อยางไรก็ตาม เด็กไมไดมีโอกาสในการตัดสินใจ หรือไมไดเปนผูตัดสินใจเลือกอาชีพนี้ดวยตนเอง แตตอง

ทําตามภาวะ เงื่อนไข หรือการตัดสินใจของพอแม ผูปกครอง หรือครอบครัว อยางไรก็ดี การทําอาชีพนี้ของ

ครอบครัว ก็เปนการตัดสินใจบนภาวะจํายอมของสภาพเศรษฐกิจของครอบครัว และภาวะตลาดแรงงานที่ไม

ปกติ ที่ไมเปดใหกับคนกลุมนี้ ไดเขาสูอาชีพที่มีอยูในระบบปกติได จึงพบวา การตัดสินใจทําอาชีพนี้ของพอแม

ของเด็ก ไดผานกระบวนการกลั่นกรองมาระดับหนึ่งแลววาสามารถทําได ไมตองลงทุน (แตลงแรง) มาก หรือ

เปนอาชีพที่ชวยประทังชีวิตใหอยูรอดได หรือในกรณีของชนเผาอาขา พบวา เปนอาชีพที่ทํารายไดมากกวาอาชีพ

ของตนเอง-พอแม

ความรูสึกของเด็ก ตออาชีพของตนเอง: ไมชื่นชอบ แตไมรูวาจะทําอยางไร? จากการทบทวนงานศึกษาวิจัย ซึ่งเปนการศึกษาระดับจุลภาค หรือเปนการศึกษาเชิงคุณภาพที่สามารถ

เจาะลึกถึงความรูสึกของเด็กมาไดในระดับหนึ่งนั้น พบวา เด็กจํานวนมาก บอกวา ตอนแรกๆ ก็รูสึกสนุก

โดยเฉพาะเมื่อยังเปนเด็ก และบางสวนมองวา ไดออกมาเที่ยว และมีบางสวน แตเปนสวนนอยตอบวา รูสึกภูมิใจ

ที่ไดชวยเหลือครอบครัว แตถาเปนเด็กโตขึ้นมาหนอย สวนใหญตอบวา รูสึกอาย และยิ่งโตขึ้น ก็ยิ่งอาย ไมชอบ

อาชีพที่ทําอยู เพราะตองทํางานหนัก (เด็กสวนใหญทํางานตั้งแต 17.30 หรือ 18.00-1.00 น.) ตองเสี่ยงภัย

9

เหนื่อยมาก ไมไดเลนกับเพื่อน เวลาพักผอนไมเพียงพอ ตองนอนดึกและตื่นแตเชา เพราะตองไปเรียนหนังสือ ทํา

ใหการเรียนไมดี และโดนครูทําโทษบอยครั้ง แตสําหรับเด็กที่มีปญหาครอบครัว หรือพอแมทะเลาะเบาะแวงกัน

บอย มักจะรูสึกตรงกันขาม กลาวคือ ตอนที่ตองออกมาขายพวงมาลัย หรือดอกไมในตอนแรกๆ นั้น รูสึกไมชอบ

แตเม่ือทํามาเรื่อยๆ ก็รูสึกสนุกดี เพราะไดออกมาเที่ยวเลนบาง เนื่องจากเวลาอยูที่บาน รูสึกเบื่อที่พอแมทะเลาะ

กันเปนประจํา (สวนใหญมักทะเลาะกันเรื่องเงิน หรือเปนเพราะเงินไมพอใช) และบางสวนเปนเพราะพอติดเหลา

และการพนัน ทําใหแมตองทํางานหาเลี้ยงครอบครัว และเกิดความเครียด ทําใหสภาพครอบครัวไมอบอุน เลยทํา

ใหไมอยากอยูบาน

สําหรับเด็กเช็ดกระจกรถนั้น เด็กสะทอนวา ในระหวางที่ใหบริการเช็ดกระจกรถ เพื่อแลกกับเงินอยูนั้น พวก

เขาจะคอยคิดอยูเสมอๆ วา เม่ือโตขึ้นจะไมประกอบอาชีพนี้ เพราะสังคมปฏิเสธพวกเขาตลอดเวลา จนทําใหไม

รูสึกศรัทธาตออาชีพของตนเองเลย และเมื่อตองประจันหนากับลูกคา (จําเปน) นั้น สวนมากจะรูสึกอาย และเม่ือ

ตองโดนตํารวจจับ จะรูสึกเจ็บใจมาก ทําใหเด็กจํานวนมาก กลายเปนเด็กเก็บกด และกาวราว บางสวนใช

วิธีการระบายความคับของใจที่มีอยู ดวยการใชสารเสพติด เลนการพนัน และกระทําตัวเปนขอทานตาม

รานอาหาร และบางสวนเปลี่ยนอาชีพ กลายเปนคนลักเล็กขโมยนอย

ความตระหนักในความเสี่ยง และอุบัติเหตุ: รูดี แตไมมีทางเลือก จากการศึกษาของสุกัญญา พรโสภากุล (2546) และ สุนทราภรณ จันทภาโส (2546) พบวา เด็กขาย

พวงมาลัยทั้งที่เชียงใหม และนครศรีธรรมราช มีความตระหนักในความเสี่ยงตออุบัติเหตุ และ/หรือเกรงกลัววาจะ

ไดรับอันตราย-อุบัติเหตุ แตก็ไมสามารถทําอะไรได หรือไมมีทางเลือก แตยังจําเปน หรือจํายอมตองทําอาชีพนี้

เพราะจําเปนตองชวยเหลือครอบครัว สําหรับในกรุงเทพมหานครนั้น พบวา การศึกษาเกี่ยวกับประเด็นนี้ ยังไม

มีความชัดเจนเทาที่ควร แตก็มีการถามเด็กเกี่ยวกับ ความกลัวในอุบัติเหตุ หรือถามวา.. “เด็กมีความกลัว

หรือไม?” หรือมีมากนอยแคไหน (ดาลัด ศิระวุฒิ 2548) ซึ่งเด็กหลายๆ คนก็ตอบวา กลัวและปกติจะคอย

ระมัดระวัง โดยจะพยายามลงไปขายในถนนเมื่อรถติดไฟแดงเทานั้น แตบางครั้งก็มีพลาดบาง เนื่องจากมีรถ

มอเตอรไซดวิ่งสวนขึ้นมา และ พบวาเด็กที่เคยประสบกับอุบัติเหตุนั้นมีจํานวนหนึ่ง แตเปนอุบัติเหตุเล็กๆ นอยๆ

ไมถึงกับทําใหเสียชีวิต เชน ถูกรถมอเตอรไซดเฉ่ียวชน หรือประสบเหตุหกลม อันเนื่องมาจากตองเรงรีบลงไปใน

ทองถนน เพื่อแขงกับไฟเขียว และคนอื่นๆ ที่มีอาชีพเหมือนกัน เปนตน

ความตองการดานการศึกษาและความใฝฝนดานอาชีพ: โอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคมที่ถูกปดตาย

สําหรับ ความตองการดานการศึกษา และ/หรือสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษานั้น พบวา เด็กขายพวงมาลัย

สวนใหญ ตองประสบกับปญหานี้เปนอยางมาก จากการศึกษาเด็กขายพวงมาลัยในจังหวัดนครศรีธรรมราชของ

สุนทราภรณ จันทภาโส (2546) ซึ่งศึกษาเด็ก จํานวน 9 คน อายุระหวาง 8-14 ป ซึ่งสวนใหญหรือเกือบทั้งหมด

เปนเพศชาย พบวา เด็กที่ศึกษาทั้งหมด 9 คนนี้ มีสัมฤทธิ์ผลทางการศึกษาต่ํา หรือบางคนตองออกจากโรงเรียน

กลางคัน เพราะพอแมเสียชีวิต เนื่องจากโรคเอดส ทําใหไมมีใครสงเสียใหเรียน หรือเด็กบางคนตองประสบกับ

10

ภาวะวิกฤตในครอบครัว ทําใหตองออกจากโรงเรียน เหมือนดังที่เด็กคนหนึ่งสะทอนวา.... “ผมไดเขาเรียนใน

โรงเรียนแหงนี้แค 2 ป เทานั้น ก็ตองออก เพราะไมมีใครดูแลครอบครัว พอผมพิการขา แมผมมีอาชีพเก็บขยะ

ซึ่งไมสบายบอย หากมัวแตไปโรงเรียน ก็ไมมีอะไรกิน ก็เลยตองออกจากโรงเรียนในที่สุด ดวยเหตุผล คือตอง

ชวยเหลือครอบครัว และเบื่อที่จะเรียนดวย” (สุนทราภรณ จันทวังโส 2546: 18) หรือเด็กอีกคนหนึ่งสะทอนวา....

“ผมเรียนไดชั้น ป. 4 ก็ตองออกจากโรงเรียน เพราะรูสึกขี้เกียจ เรียนไปก็เกือบตก หรือไมก็ตองซ้ําชั้น เพราะผล

การเรียนไมดี สอบไดที่เกือบสุดทาย” (สุนทราภรณ จันทวังโส 2546 : 18) เปนตน

เชนเดียวกับผลการศึกษาของ ปวีพร ประสพเกียรติโภคา (2546) ซึ่งศึกษาเด็กขายพวงมาลัยชาวอาขา ใน

ตัวเมืองเชียงใหม จํานวน 5 คน อายุระหวาง 7-12 ป แบงเปนเพศชายจํานวน 2 คน และเพศหญิง จํานวน 3 คน

พบวา เด็กเหลานี้มีปญหาการเรียนทุกคน หรือมีผลการเรียนในระดับต่ํา ถึงต่ํามาก และทุกคนตองถูกครูทําโทษ

อยูเสมอๆ เนื่องจากไมไดทําการบาน มาเขาเรียนสาย และไมมีสมาธิในการเรียน หรือนั่งหลับระหวางการเรียน

นอกจากนี้ เด็กชาวอาขาบางสวน (โดยเฉพาะเด็กโต) ยังตองประสบปญหาการใชภาษาไทยดวย เพราะบางคน

อพยพมาจากประเทศพมา หรือชายแดน ทําใหเรียนไมทันเพื่อนๆ ในชั้นเรียน และ ยิ่งทําใหการเรียนตกต่ําลงไป

อีก เพราะสภาพแวดลอมหรือบรรยากาศภายในหองเรียนบีบคั้นเปนอยางมาก

สําหรับความตองการ และ/หรือความใฝฝนดานอาชีพนั้น พบวา เด็กขายพวงมาลัยทุกคน ตองการมี

อาชีพที่ดี มีความมั่นคง และไดรับการยอมรับในสังคม ไมวาจะเปน อาชีพพอคา-แมคา หรือการคาขาย บางคน

ตองการเปนครู และบางสวนตองการเปนทหาร และอาชีพอื่นๆ เชน รับจาง (เหมือนกับพอแมของตนเอง) แตมี

เพียงสวนนอยที่ตองการผลิตซ้ําอาชีพของพอแมตนเอง เชน รับจางแบกของ แตที่นาสนใจคือ ไมมีใครตองการทํา

อาชีพขายพวงมาลัยเหมือนพอแมของตนเองแมแตคนเดียว นอกจากนี้ เด็กขายพวงมาลัยที่นครศรีธรรมราช ก็

ปฏิเสธและรังเกียจอาชีพตํารวจเปนอยางมาก เพราะเด็กเหลานี้มีประสบการณที่ไมดีกับตํารวจ จึงทําใหมี

ทัศนคติในเชิงลบตออาชีพนี้ และไมมีเด็กคนไหนตองการมีอาชีพเปนตํารวจเลย

แตเมื่อพิจารณาดูอยางรอบดานแลว เด็กขายพวงมาลัยมีทางเลือกตางๆ ในชีวิตนอยมากทั้งดานการเรียน

และการงาน เพราะการขาดโอกาสทางการศึกษา หรือไมไดรับโอกาสดังกลาวอยางเทาเทียมกับเด็กอื่นๆ ในวัย

เดียวกัน แตจําเปนตองหาเลี้ยงปากทองใหอยูรอดไปวันๆ จนเกิดการบมเพาะพฤติกรรมบางอยางเพื่อความอยู

รอด (แตอาจเปนพฤติกรรมที่ไมเปนที่พึงปรารถนาของสังคม) สําหรับคําตอบเกี่ยวกับอนาคตของเด็กเหลานี้นั้น

เราๆ ทานๆ ก็คงพอทราบกันอยูวาจะเปนเชนไรตอไป หรือหลายคนตองจบชีวิตกอนวัยอันควร โดยไมตองพูดถึง

โอกาสที่ดีกวาในอนาคต สําหรับคนที่พออยูรอดตอไปได โอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคมของพวกเขา ก็มีเหลืออยูนอยมาก อันเนื่องมาจากขอจํากัดดานทรัพยากรของครอบครัว พอแมก็มีการศึกษานอย ไมสามารถเกื้อหนุนหรือชวยเหลือดานการศึกษาของลูกไดมากนัก ผลการเรียนของตนเองก็ตกต่ํา ส่ิงแวดลอมครอบครัวที่ไมเอื้ออํานวยดังกลาว และหลายๆ ครอบครัวยังประสบกับภาวะวิกฤติ หรือมีโรคภัยไขเจ็บกระหน่ําซ้ําเติม เชน โรคเอดส ความพิการ ติดยาเสพติด ฯลฯ โอกาสในการเลื่อนชั้นทางสังคมผานการศึกษา จึงเปนประตูที่ถูกปดตาย

11

ความหมิ่นเหมของอาชีพขายพวงมาลัย และอาชีพอ่ืนๆ ที่ผิดกฎหมาย: ชีวิตนี้ ใครกําหนด จากการศึกษาของสุนทราภรณ จันทภาโส (2546) ทําใหมองเห็นไดวา อาชีพเด็กขายพวงมาลัย นั้นมีความ

เส่ียงตอการที่จะเปล่ียนเปนอาชีพอื่น (ที่ไมพึงปรารถนาของสังคม) ทั้งนี้ ถาเด็กเหลานี้ถูกกดดันจากอํานาจรัฐ

โดยเฉพาะเจาหนาที่ตํารวจ และสังคมรอบขาง และปจจัยสําคัญอีกประการหนึ่ง ก็คือ ฤดูกาล เพราะในชวงฤดู

ฝน มักจะไมมีดอกมะลิจําหนาย หรือมีปริมาณนอย ทําใหไมสามารถดําเนินอาชีพนี้ได หรือ พอไดขาย แตไม

พอเพียง เด็กจํานวนหนึ่งจึงจําเปนตองออกรับจางทําอาชีพอื่นๆ แตบางสวนจําเปนตองออกขอทานบาง วิ่งราว

บาง ลักขโมยบาง และบางสวนจําตองคายาเสพติด และตองติดคุกในที่สุด ดังเชน เด็กขายพวงมาลัยคนหนึ่งใน

จังหวัดนครศรีธรรมราชที่ตองติดคุก ดวยขอหาลักทรัพย และมีสารเสพติดประเภทกาวไวในครอบครอง ดังนั้น

คําถามคือ ระหวางอาชีพขายพวงมาลัย (ที่นารําคาญสําหรับหลายๆ คน) กับอาชีพที่ผิดกฎหมาย อยางไหนนา

พึงปรารถนาสําหรับสังคมมากกวากัน?

คนในสังคมมองและปฏิบัติอยางไร ตอเด็กขายพวงมาลัย: สิ่งเหลานี้สะทอนอะไร

สําหรับคนในสังคมนั้น สามารถแบงออกไดเปน 3 กลุมใหญๆ

กลุมแรก คือ กลุมที่ตอบรับในเชิงบวกตอเด็กขายพวงมาลัย เพราะสงสาร และเห็นใจเด็ก พบวา คนกลุม

นี้ มักจะอุดหนุน หรือซ้ือพวงมาลัยจากเด็ก หรือบางสวนในกลุมนี้ ใหเงินเด็ก โดยไมรับพวงมาลัยไปก็มี และ

บางสวนใหเงินเพิ่มแกเด็ก นอกเหนือจากราคาพวงมาลัยที่ตกลงกันไว และยังอาจมีการเชื้อเชิญใหคนอื่นๆ ไมวา

จะเปนเพื่อน ญาติ คนรูจัก คนทั่วๆ ไป ชวยสนับสนุน หรืออุดหนุนเด็ก ถาพบเห็น หรือประสบกับเด็กขาย

พวงมาลัย และบางสวนในกลุมนี้ ถึงขั้นหวงใย บางคนโทรศัพทแจงขอมูลใหกับหนวยงานดานเด็ก วาพบเห็นเด็ก

ขายพวงมาลัย ที่อาจตกอยูในอันตราย เปนตน และบางคนถึงขั้นแตงเพลงยกยองอาชีพนี้ และเสนอขอจด

ลิขสิทธิ์ “เพลงเด็กขายพวงมาลัย” ตั้งแตเมื่อวันที่ 14 พฤศจิกายน 2549 ที่ผานมา

กลุมที่ 2 เปนกลุมที่ไมชอบ หรือถึงขั้นเกลียดชัง สาปแชง สมน้ําหนา (เม่ือเด็กประสบอุบัติเหตุ) และใน

กลุมนี้ สวนหนึ่งพบวา เคยมีประสบการณที่ไมดีกับเด็กขายพวงมาลัย เชน ถูกโกงเงินทอน ถูกเชิญชวนแกม

บังคับขมขูใหซื้อ ถูกขูดรถ เปนตน แตสําหรับบุคคลที่ไมเคยประสบเหตุหรือการกระทําที่ไมดีของเด็ก แตกลับ

เกลียดชัง รําคาญ หรือไมตองการเกี่ยวของใดๆ กับเด็กกลุมนี้ ก็มีอยูจํานวนไมนอย สําหรับกลุมที่สองนี้ ก็

แนนอนวา ตองการเห็นอาชีพขายพวงมาลัยบนทองถนนหายไปจากโลกนี้ และยังมีบางคนเขียนโพสตใน

website และขอรองใหคนในสังคม เลิกการกระทําที่เปนการสนับสนุนอาชีพนี้ โดยการเลิกซื้อพวงมาลัย ก็ยังมี

กลุมสุดทาย คือ กลุมที่นิยมความเปนไทย โดยมองวา อาชีพขายพวงมาลัย เปนอาชีพที่เปนสัญลักษณ

ของความเปนไทย ควบคูหรือเทียบเคียงกับอาชีพอื่นๆ เชน อาชีพขายขาวแกง คนถีบสามลอ ในขณะที่

นักวิชาการจํานวนมาก กลับมองวา เปนสัญลักษณของความยากจน หรือ ความดอยโอกาส และจัดใหอยูในกลุม

เดียวกันกับกลุมเด็กเรรอน และขอทาน

12

หนวยงานรัฐและองคกรอื่นปฏิบัติอยางไรตอเด็กขายพวงมาลัย: ยาแกที่ยังไมถูกกับโรค สําหรับหนวยงานของรัฐ ซึ่งมีหนาที่หรือภารกิจเกี่ยวของโดยตรงกับเร่ืองนี้ พบวามีอยูหลายหนวยงาน

ดวยกัน เชน ตํารวจ การศึกษานอกโรงเรียน กระทรวงพัฒนาสังคม คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแหงชาติ

สําหรับในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล ก็มีหนวยงานทองถิ่น ดังเชน กองบัญชาการตํารวจนครบาล

กรุงเทพมหานคร นอกจากนี้ ก็ยังมีหนวยงานพัฒนาเอกชน หรือมูลนิธิตางๆ เชน ไว.เอ็ม.ซี.เอ มูลนิธิพิทักษสิทธิ

เด็ก มูลนิธิเพื่อการพัฒนาเด็ก ฯลฯ

เทาที่สามารถประมวลขอมูลยอนหลังกลับไปไดประมาณ 5-6 ป พบวา หนวยงานรัฐมีทัศนะและการ

ปฏิบัติที่สําคัญๆ พอสรุปไดดังนี้คือ

1. การดําเนินการในทางกฎหมาย พบวา สวนใหญที่ผานมา เปนการดําเนินการตามกฎหมายจราจร คือ

การจับปรับ โดยเฉพาะในจังหวัดนครศรีธรรมราช ใชวิธีการนี้เปนหลัก นอกจากนี้ เจาหนาที่รัฐบางทานเสนอวา

ควรมีการใช พรบ. จราจรทางบก พ.ศ. 2522 เอาผิดกับทั้งผูซื้อดวย นอกจากนี้ ก็ยังมีขอเสนอ หรือความคิดริเร่ิม

เกี่ยวกับการดําเนินการทางกฎหมายกับพอแม หรือผูปกครอง โดยเจาหนาที่รัฐบางคน เสนอวา ควรใชกฎหมาย

คุมครองเด็ก หรือ พรบ. คุมครองเด็กป 2546 เอาผิดกับพอแมที่ใชลูกใหมาทํางาน เพราะเทากับเปนการละเมิด

สิทธิเด็ก หรือเล้ียงดูเด็กอยางไมเหมาะสม ซึ่งมีโทษปรับไมเกิน 30,000 บาท หรือจําคุกไมเกิน 3 เดือน และยัง

กลาวเนนย้ําดวยวาตองมีการเอาโทษตามกฎหมายอยางจริงจัง (บทความ “ลอมคอกเด็กขายพวงมาลัย”

หนังสือพิมพบางกอกทูเดย 28 มิถุนายน 2549)

2. ขอความรวมมือสังคมไมใหอุดหนุน หรือเลิกซื้อพวงมาลัย พบวา เจาหนาที่รัฐบางทาน ไดให

สัมภาษณส่ือมวลชนในทํานอง ขอความรวมมือจากสังคม ไมใหการสนับสนุนอาชีพนี้ โดยไมตองการใหซื้อ

พวงมาลัยจากเด็ก หรือผูขายบนทองถนนอีกตอไป และความคิดดังกลาว ยังไดรับการขานรับจากสื่อมวลชน

บางสวนอีกดวย (อัญชนก แข็งแรง 2549)

3. ขอใหเปล่ียนหรือเลิกอาชีพนี้ โดยพยายามจัดสงเด็ก หรือแนะนําใหไปฝกอบรมอาชีพอื่นๆ โดยไมไดทํา

ความเขาใจถึงความเปนมาของอาชีพนี้ วามีความเกี่ยวของสัมพันธกับปจจัยอื่นๆ หรือเงื่อนไขอะไรบาง หรือ

บางสวนสัญญาวาจะจัดหาที่ขายใหใหม ถายังตองการทําอาชีพนี้ตอไป ดังเชน อดีตปลัด กทม. ทานหนึ่ง กลาว

วา... “ถาเลิกอาชีพนี้ไดเลยก็ยิ่งดี แตถาเลิกไมได ก็จะจัดหาที่ใหขาย” (ผูจัดการออนไลน 2546) เปนตน

4. ใหทุนครอบครัวประกอบอาชีพอื่น ซึ่งดําเนินการโดยกระทรวงพัฒนาสังคม แตหลังจากใหทุนไปแลว

กลับพบวา ยังมีเด็กอีกจํานวนหนึ่งกลับไปขายพวงมาลัยเชนเดิม

5. มีความพยายามในการตอรองกับครอบครัวของเด็ก ในบางยุค เชน สมัยที่นายวัฒนา เมืองสุข

(พ.ศ. 2547-2548) เปนรัฐมนตรีวาการกระทรวงพัฒนาสังคม ไดใหขอมูลกับส่ือมวลชนวา ไดจัดสงเจาหนาที่ไป

เจรจาตอรองกับผูปกครอง โดยเสนอพอแม หรือผูปกครองวา ควรใหเด็กเรียนหนังสือในตอนกลางวัน และใหขาย

พวงมาลัยในตอนกลางคืน (ไมปรากฏชื่อผูแตง 2548) ซึ่งขอเสนอนี้ ไมสอดคลองกับความเปนจริง เพราะเด็ก

จํานวนมากหรือสวนใหญ เรียนตอนกลางวัน และทํางานตอนกลางคืนอยูแลว แตไมมีสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน

เพราะตองทํางานหนักเกินไป ทั้งๆ ที่ยังเปนเด็ก เพราะฉะนั้นตรงนี้จึงไมใชทางออก

13

6. ขอใหหยุดขายชั่วคราว เพ่ือใหบานเมืองเรียบรอย ในชวงที่ประเทศไทยเปนเจาภาพในการจัด

ประชุมเอเปค เมื่อป พ.ศ. 2546 พบวา เด็กขายพวงมาลัยในกรุงเทพมหานครจํานวนมาก หรือในยานที่เปนแหลง

ผลิต หรือเปนศูนยรวมเด็กขายพวงมาลัย อาทิ มีนบุรี ราชเทวี ลาดพราว หวยขวาง แถวๆ มักกะสัน แยกตึกชัย

ยมราช ฯลฯ ถูกส่ังไมใหออกมา ทั้งนี้ เพื่อใหเกิดความเรียบรอยในบานเมือง ในชวงที่มี “แขกบานแขกเมือง” เขา

มาเมืองไทยจํานวนมาก

7. สนับสนุนการศึกษานอกโรงเรียน ซึ่งพบวา เปนความพยายามในการประสานงานขององคกรพัฒนา

เอกชน หรือครูที่มีความหวงใยเด็ก แตเด็กจํานวนหนึ่งก็ไมสามารถเรียนไดอยางตอเนื่อง เพราะมีปจจัยเงื่อนไข

ตางๆ ที่เกี่ยวของมากมาย เชน สภาพรางกาย-จิตใจ-สมอง หรือความพรอมดานตางๆ ของตัวเด็ก เกิดภาวะ

วิกฤต หรือความผันแปรภายในครอบครัวทําใหตองเลิกกลางคัน ถูกจับเพราะติดกาว พบวา ชองวางที่สําคัญยิ่งในการดําเนินงานของรัฐ ก็คือ ขาดการสื่อสาร หรือ การพูดคุยแลกเปลี่ยน หรือ

การทําความเขาใจปรากฏการณนี้จากมุมมองของเด็กและครอบครัว อยางมีความสัมพันธเชื่อมโยงกับปญหา

หรือเงื่อนไขอื่นๆ ที่มีความสลับซับซอนของครอบครัว และเปนการกําหนด หรือตัดสินใจโดยหนวยงาน หรือ

เจาหนาที่ของรัฐเปนหลัก ดวยเหตุนี้ ยาขนานตางๆ ที่ใชมา จึงยังไมคอยถูกกับโรคเทาใดนัก และสะทอนใหเห็น

วา หนวยงานตางๆ ของรัฐยังถนัดในการทํางานตามแนวเดิมๆ ที่เคยปฏิบัติกันมาหลายชั่วอายุคน ซึ่งอาจสรุป

ส้ันๆ ไดวา... “โรคก็เร้ือรัง แตมีวิวัฒนาการ และเริ่มดื้อยา ในขณะที่ยาเกาหมดฤทธิ์ และยังคิดคนยาตัวใหมไม

ทัน”

ดัชนีชี้วัดความสําเร็จของมนุษย กับคุณภาพชีวิตของเด็กขายพวงมาลัย: ชองวางที่แทจริงคืออะไร?

ชองวางที่แทจริงของปญหา หรือความเหลื่อมลํ้าที่มีอยูคอนขางมาก ระหวางเกณฑหรือดัชนีชี้วัดคุณภาพ

ชีวิตตางๆ ซึ่งเปนมาตรฐานที่พัฒนาโดยหนวยงานทั้งของไทยและตางประเทศ กับสภาพความเปนอยูที่แทจริง

ของเด็กหรือประชาชน โดยเฉพาะดัชนีชี้วัดความสําเร็จของมนุษย ที่ เสนอโดยหนวยงานพัฒนาของ

สหประชาชาติ ซึ่งใชเปนเกณฑมาตรฐานในการพัฒนาสังคมนั้น ความจริงแลว ผูเขียนก็เห็นดวยกับการมีเกณฑ

มาตรฐาน ไมวาจะเกี่ยวกับเรื่องอะไรก็ตาม เพราะเปนเครื่องมือที่จะชวยทําใหเราทราบวา เราอยูในระดับไหน

และจะไปสูจดุไหน ซึ่งถาเรามีความจริงจัง-จริงใจ กับการใชมาตรฐาน และใชอยางถูกตอง ก็นาจะกอผลในทางที่

เปนคุณประโยชนเปนแน แตในทางปฏิบัติจริง พบวา ยังมีปญหาเกี่ยวกับการใชเกณฑมาตรฐานตางๆ ที่จัดทํา

โดยหนวยงานระหวางประเทศคอนขางมาก โดยเฉพาะมาตรฐานดานการพัฒนามนุษย ซึ่งในแตละสังคมมีความ

แตกตางกันมาก (แตถาเปนมาตรฐานการพัฒนาสินคา หรือวัตถุนั้น พบวา เราสามารถนําเกณฑเหลานั้นมาใช

หรือยอมรับได เพราะถาเราตองการแขงขันในตลาดโลกใหได เราก็ตองทําใหได โดยไมตองมีการพิจารณาบริบท

ทางสังคม) แตสําหรับ “มาตรฐานเกี่ยวกับคนหรือสังคม” นั้น เปนเรื่องที่เราจะตองใชอยางมีความระมัดระวัง

และควรอยูบนฐานของการเรียนรู และปรับแกใหสอดคลองกับบริบทอยูเสมอๆ แตถึงกระนั้น ผูเขียน ก็มองวา เรา

จําเปนตองยึดมาตรฐานอยางใดอยางหนึ่ง และถาเรายึดมาตรฐานของสหประชาชาติ ก็จะตองพยายามทําให

สังคมไปสูมาตรฐานดังกลาวใหได หรืออยางนอยดีขึ้นเรื่อยๆ ทุกป สําหรับกรณีเด็กขายพวงมาลัย (หรือประเด็น

14

ปญหา-ปรากฏการณหลายๆ อยางในสังคมไทย) กับความหางไกลจากมาตรฐานนั้น ผูเขียนพอจะประเมินไดวา

มีชองวางใหญๆ 4 ประการ ดังนี้คือ

1.ชองวางทั้งดานคุณธรรม-จริยธรรมของผูมีอํานาจในสังคม (morality gap) ดังสะทอนใหเห็นถึงวิธีการ

ในการดําเนินงานของหนวยงานภาครัฐขางตน ซึ่งทําใหเห็นไดวา การตัดสินใจในการใชมาตรการใดๆ ของผูมี

อํานาจในสังคม มักเปนการตัดสินใจบนความคิด ความรูสึกของตนเอง โดยขาดการพิจารณาความเปนจริงทาง

สังคมที่มีความสลับซับซอน จึงทําใหปญหาหลายๆ อยางไมไดรับการแกไข หรือมีการแกไข แตไมถูกจุด หรือแก

ไดชั่วครั้งชั่วคราว หรือเปนแคชวงระยะเวลาสั้นๆ เทานั้น

2.ชองวางดานความรู (knowledge gap) กลาวคือ การกําหนดแนวทาง หรือทางออกตางๆ ของปญหาใดๆ

ในสังคม ไมไดถูกกําหนดขึ้นบนพื้นฐานของความรูที่แทจริงในความสลับซับซอนของความเปนสังคมมนุษย จึง

มองทุกอยางแบบแยกสวน ขาดความเชื่อมโยง แกไดเปลาะหนึ่ง แตไปติดอีกเปลาะหนึ่ง เปนอยางนี้อยูรํ่าไป ไม

มีวันจบส้ิน

3.ชองวางดานนโยบาย (policy gap) พบวา นโยบายหรือมาตรการตางๆ มักเปนระยะสั้น และไมได

กระแทกที่ตัวปญหา หรือโครงสรางของปญหา ซึ่งความจริงแลว เด็กขายพวงมาลัยเปนเพียงอาการหนึ่งของ

ปญหาใหญ หรือโรครายแรงในสังคม ซึ่งก็คือ โรคความเหลื่อมลํ้าของระบบที่เปนอยู และขอจํากัดตางๆ ที่มีอยู

ในระบบสังคมของมนุษย เชน เราไมสามารถหยุดจํานวนประชากรได แตเราก็ไมสามารถจํากัดการครอบครอง

ทรัพยากรตางๆ ของมนุษยได (โดยเฉพาะทรัพยากรธรรมชาติ ซึ่งมีจํากัด ไมมีการเติบโต มีแต รอยหรอ หรือ

นอยลง เชน การหายไปของชายหาด หรือพื้นดิน )

4.ชองวางดานการดําเนินงาน (performance gap) สังคมไทยเปนสังคมที่ยังประสบปญหาเกี่ยวกับการ

ทํางานตามแผนและนโยบาย บางชวงเวลา มีแผนและนโยบายที่ดี แตไมสามารถ หรือไมไดดําเนินการตามแผน

ประกอบกับ การจัดการแกไขปญหาที่ผานมา ก็ไมไดมีการติดตามประเมินผลดวยความจริงจัง และจริงใจ วาเปน

อยางไร ใชไดผลหรือไม เปนเพราะอะไร หรือบางกรณีมีการประเมิน แตไมไดนํามาใชประโยชน หรือใชประโยชน

ไมได เปนตน ตรงนี้เปนความจริง ที่เราควรยอมรับรวมกัน หรือเปนส่ิงที่ควรสํานึกรูรวมกัน และเรื่องนี้เปนเรื่อง

ของจิตสํานึกของความเปนมนุษยที่มีคุณคาในสังคม

สังคมจะทําอยางไรตอไปกันดี

การสะทอนปญหาตางๆ เกี่ยวกับชีวิตเด็กขายพวงมาลัยขางตน อาจจะชวยทําใหหลายๆ ทาน พอมองเห็น

ไดวา ปญหาหรือโรคนี้มีความสลับซับซอนเกินกวา จะใชยาเพียงตัวใดตัวหนึ่ง เพื่อใหไดผลที่ชะงัด เหมือนดังที่

หนวยงานของรัฐดําเนินการมา หรือบางทานมองวา เปนเพียงแคเร่ืองของการดําเนินอาชีพที่ไมถูกที่ถูกทางนั้น ก็

คงตองเปลี่ยนทัศนะกันใหมเสียแลว สําหรับทางออก ก็คือ การอุดชองวางดังกลาวขางตนใหได หรือถาอุดไมได

ในฉับพลันทันใด ก็คงจะตองคอยๆ ชวยกันลดชองวางนั้นลงทีละนอย แตตองเปนการดําเนินการที่จริงจัง และมี

การใชมาตรการตางๆ ทั้งดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม การศึกษา วัฒนธรรม กฎหมาย ทั้งในระยะสั้น ระยะ

กลาง และระยะยาว ที่มีความครอบคลุม และตองเปนการทํางานในเชิงโครงสรางสังคม การปองกัน และ

พิจารณาความเปนทั้งหมดของสังคม (totality) โดยเฉพาะการใชมาตรการทางเศรษฐกิจสังคม ที่จะทําใหเกิด

ความเทาเทียมในดานมาตรฐานการครองชีพ หรือระดับความเปนอยูระหวางคน 3 กลุม (รวย ปานกลาง และจน)

ใหมากขึ้น

15

สําหรับเด็กขายพวงมาลัยและครอบครัว ก็จะตองเปนการทํางานในหลายๆ ระดับเชนกัน ทั้งระดับปจเจก

บุคคล ระดับครอบครัว-ครัวเรือน ระดับชุมชน ระดับองคกร-หนวยงาน ไปจนถึงระดับจังหวัด ภาค และประเทศ

และที่สําคัญตองอยูบนพื้นฐานของการระดมสมอง และการมีสวนรวมของผูเกี่ยวของทุกฝาย แตสําคัญเหนืออื่น

ใด ก็คือ จะตองมีความเขาใจปญหานี้อยางมีความเชื่อมโยงกับการพัฒนาความเปนเมือง และการพัฒนา

ประเทศที่ขาดการปรับเปล่ียนในเชิงโครงสราง ที่จะทําใหเกิดความเทาเทียมของกลุมคนในชนชั้นตางๆ หรือมี

ความเหลื่อมลํ้านอยลงในชวงเวลาที่ผานมา

กิตติกรรมประกาศ ผูเขียนขอขอบคุณ คุณศิริอาภา อรามเรือง และคุณวิวรรณ เอกรินทรางกุล ที่ไดกรุณาชวย

เร่ืองการคนควาขอมูล การจัดพิมพตนฉบับ และเปนธุระตางๆ ในเรื่องเอกสารอางอิง ผูเขียนรูสึกซาบซึ้งในความ

มีน้ําใจอันงดงามของทั้งสองทานเปนอยางยิ่ง

เอกสารอางอิง

ดาลัด ศิระวุฒิ. 2548. “เด็กขายพวงมาลัย” หนา 31-42 ใน 10 เร่ืองในเมืองใหญ. บรรณาธิกรโดย สุวัฒน อัศว

ไชยชาญ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสารคดี.

ดาลัด ศิระวุฒิ. 2548. เด็กขายพวงมาลัย. http://www.sarakadee.com/web/modules.php (สืบคนเมื่อ 15

เมษายน 2550)

ผูจัดการออนไลน. 2546. กทม. ขอจัดอีกฉากรับเอเปค ส่ังเก็บ “เด็กขายพวงมาลัย”.

http://www.manager.co.th/QOL/ViewNews.aspx?News. (สืบคนเมื่อ 15 เมษายน 2550)

ปริตตา เฉลิมเผา กออนันตกูล. 2545. ชีวิตชายขอบ: ตัวตนและความหมาย. กรุงเทพมหานคร: ศูนยมานุษย

วิทยาสิรินธร (องคการมหาชน).

ปวีพร ประสพเกียรติโภคา. 2546. การเขาสูอาชีพเด็กขายพวงมาลัย: กรณีศึกษาเด็กชาวอาขา. รายงานซึ่งเปน

สวนหนึ่งของกระบวนวิชาการสัมมนา คณะสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม.

สุกัญญา พรโสภากุล. 2546. วิถีชีวิตเด็กขายดอกไมในเมืองเชียงใหม. กรุงเทพมหานคร: ศูนยศึกษาเศรษฐ

ศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุนทราภรณ จันทภาโส. 2546. เยาวชนกับความลมสลายของครอบครัว: กรณีเด็กเช็ดกระจกรถและขาย

พวงมาลัยในเขตเทศบาลนครศรีธรรมราช. กรุงเทพมหานคร: ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตรการเมือง คณะ

เศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.

สุวัฒน อัศวไชยชาญ. 2548. 10 เร่ืองในเมืองใหญ. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพสารคดี.

สิริพร สมบูรณบูรณะ. 2545. “ขยะเก็บชีวิต: ชีวิตขายขยะ ประสบการณเมืองคนเก็บและรับซื้อของเกาซาเลง”

หนา 184-223 ใน ชีวิตชายขอบ: ตัวตนและความหมาย บรรณาธิกรโดย ปริตตา เฉลิมเผา กออนันต

กูล. กรุงเทพมหานคร: ศูนยมานุษยวิทยาสิรินธร (องคการมหาชน).

หนังสือพิมพบางกอกทูเดย. 2549. ลอมคอกเด็กขายพวงมาลัย อภิรักษรวมคุมเขมพื้นที่เส่ียงทั่วกรุง.

http;//www.backtohome.org/autopage-new/show_page.php (สืบคนเมื่อ 15 เมษายน 2550)

16

อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ. 2549. เร่ืองนารูสูความปลอดภัย.

http://www.csip.org/csip/autopage/show_page.php? (สืบคนเมื่อ 28 พฤษภาคม 2550)

อรทัย อาจอ่ํา. 2546. ฟนสังคมศาสตร: ทําไมการวิจัยทางสังคมจึงลมเหลว และจะทําใหประสบความสําเร็จได

อยางไร. (แปล) นครปฐม: สถาบันวิจัยประชากรและสังคม มหาวิทยาลัยมหิดล และสํานักพิมพคบไฟ.

อัญชนก แข็งแรง. 2549. ปรอทสังคม...เด็กขายพวงมาลัย.

http://www.101newschannel.com/squarethink_detail.php?news (สืบคนเมื่อ 15 เมษายน 2550)

ไพฑูรย สุขกสิกร. 2549. ความจริงหรือความคิด.

http://www.thaila.us/index.php?option=com_content&task. (สืบคนเมื่อ 17 เมษายน 2550)

ไมปรากฏชื่อผูแตง. 2548. “วัฒนา” คานอาบอบนวด เล็งแกปญหาเด็กขายพวงมาลัย.

http://www.socialwarning.net/data/views.php?recordID=179 (สืบคนเมื่อ 17 เมษายน 2550)

Amin, Samir. 1974. Accumulation on a World Scale. New York: Monthly Review Press.

Amin, Samir. 1976. Unequal Development. Sussex: Harvester Press.

Cardoso, F.H. and Faletto, Enzo. 1979. Dependency and Development in Latin America. Berkeley:

University of California Press.

Emmanuel, Arghiri. 1972. Unequal Exchange: A Study of the Imperialism of Trade. New York:

Monthly Review Press.

Flyvbjerg, Bent. 2001. Making Social Science Matter: Why Social Inquiry Fails and How It Can

Succeed Again. Cambridge: Cambridge University Press.

Frank, Andre Gunder. 1967. Capitalism and Underdevelopment in Latin America: Historical Studies

of Chile and Brazil. New York: Monthly Review Press.

Lewis, Oscar. 1961a. La Vida: A Peutorican Family in the Culture of Poverty. New York: Random

House.

Lewis, Oscar. 1961b. The Children of Sanchez. New York: Random House

Lewis, Oscar. 1968. A Study of Slum Culture. New York: Random House.

17