รายวิชาพื้นฐาน...

47
รรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรรรรรรรรรรร รรรรรรรรรรร รรรร รรรรรรรรรรร ร.2 รรรร 1

description

รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์ ม. 2 เล่ม 1. หน่วยการเรียนรู้ที่ 1. ระบบร่างกายมนุษย์และสัตว์ ( ตอนที่ 1). ระบบหายใจ. ระบบร่างกายมนุษย์และสัตว์ (ตอนที่ 1). การจัดระบบในร่างกาย. ระบบขับถ่าย. ระบบย่อยอาหาร. ระบบไหลเวียนเลือด. การจัดระบบในร่างกาย. - PowerPoint PPT Presentation

Transcript of รายวิชาพื้นฐาน...

Page 1: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

รายวชิาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรยีนรู้ วทิยาศาสตร์

วชิา วทิยาศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

Page 2: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

หน่วยการเรยีนรู้ท่ี 1

ระบบรา่งกายมนุษยแ์ละสตัว ์(ตอนท่ี 1)

Page 3: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระบบรา่งกายมนุษยแ์ละสตัว์ ( ตอนท่ี 1)

การจดัระบบในรา่งกาย

ระบบยอ่ยอาหาร

ระบบไหลเวยีนเลือด

ระบบหายใจ

ระบบขบัถ่าย

Page 4: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การจดัระบบในรา่งกาย

Page 5: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การจดัระบบในรา่งกายรา่งกายของมนุษยแ์ละสตัวป์ระกอบขึ้นจากหน่วยท่ีมี

ขนาดเล็กท่ีสดุ คือ เซลล์ จำานวนมากมายหลายล้านเซลล์เมื่อเซลล์ท่ีมรูีปรา่งและหน้าท่ีท่ีเหมอืนกันมารวมกัน

เพื่อทำาหน้าท่ีเฉพาะ เรยีกวา่ เนื้อเยื่อ เมื่อเนื้อเยื่อต่างๆ รวม ตัวกันจะเรยีกวา่ อวยัวะ และอวยัวะต่างๆ ทำางานประสาน

สมัพนัธกั์นเป็น ระบบอวยัวะ

เซลล์ เนื้อเยื่อ อวยัวะ ระบบรา่งกาย

Page 6: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระดับเซลล์

เซลล์สบืพนัธุ์ :

ถ่ายทอดขอ้มูลทางพนัธุกรรม

จากรุน่สูรุ่น่

เซลล์กล้ามเนื้อ : หดตัวและคลายตัวเพื่อชว่ยในการเคล่ือนไหว

เซลล์ประสาท :

ควบคมุการแสดง

พฤติกรรมต่างๆ

รา่งกายของคนเราประกอบด้วยเซลล์ท่ีมรีูปรา่งแตกต่าง กันไป ตามหน้าท่ีการทำางาน ตัวอยา่งเชน่

Page 7: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระดับเน้ือเยื่อ

เนื้อเยื่อบุผิว

เนื้อเยื่อ คือ กลุ่มของเซลล์ท่ีมรีูปรา่งเหมอืนกันมาอยูร่วม กันเพื่อทำาหน้าท่ีอยา่งใดอยา่งหนึ่งโดยเฉพาะ โดยเน้ือเยื่อแบง่

ออกเป็น 4 ชนิด

เน้ือเยื่อเกี่ยวพนั

เนื้อเยื่อกล้ามเน้ือ เนื้อเยื่อประสาท

Page 8: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระดับอวยัวะ

1

56

4

7

32

1 สมอง : ศูนยก์ลางของความคิด

2 ปอด : ทำาหน้าท่ีแลกเปล่ียนออกซเิจนและ คารบ์อนไดออกไซด์ใหก้ับรา่งกาย3 ไต : เป็นอวยัวะหน่ึงของการขบัถ่าย ทำาหน้าท่ีกรองของเสยีออกจากเลือด4 กระดกู : เป็นสว่นหนึ่งของระบบคำ้าจุน5 หวัใจ : ทำาหน้าท่ีสบูฉีดเลือดให้หมุนเวยีน ทัว่ตามรา่งกาย6 กระเพาะอาหาร : ทำาหน้าท่ีคลกุเคล้าและยอ่ยอาหาร7 อวยัวะเพศ : ทำาหน้าท่ีสรา้งเซลล์สบืพนัธุ์

อวยัวะเกิดจากเน้ือเยื่อหลายชนิดมารวมตัวกัน เพื่อทำาหน้าท่ีอยา่งเดียวกัน

Page 9: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระดับระบบรา่งกาย • อวยัวะหลายชนิดทำางาน

ประสานกัน เพื่อทำาหน้าท่ีอยา่งใดอยา่งหนึ่งโดย

เฉพาะ เรยีกวา่ ระบบ รา่งกาย

• ระบบแต่ละระบบในรา่งกายจะทำางานประสาน

สมัพนัธกั์นเพื่อใหม้นุษยด์ำารงชวีติได้อยา่งปกติ

Page 10: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระบบยอ่ยอาหาร

Page 11: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การยอ่ยอาหาร คือ การทำาใหอ้าหารท่ีมโีมเลกลุใหญ่กลาย เป็นสารอาหารท่ีมโีมเลกลุเล็ก จนสามารถผ่านเยื่อหุม้เซลล์ได้ ซึ่งการยอ่ยอาหารในรา่งกายมี 2 วธิี ดังนี้

• การยอ่ยเชงิกล : การบดเค้ียวอาหารโดยฟนั• การยอ่ยเชงิเคมี : ใชเ้อนไซมท์ำาใหโ้มเลกลุของอาหารมี

ขนาดเล็กลง

การยอ่ยอาหาร

อาหาร สารอาหาร

Page 12: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การยอ่ยอาหารของสตัวท่ี์ไมม่ทีางเดินอาหาร• สตัวท่ี์ไมม่รีะบบทางเดินอาหารท่ีชดัเจน จะมเีพยีงเซลล์ท่ีทำา

หน้าท่ีดักจบัอาหาร แล้วสรา้งเป็นถงุอาหาร จากนัน้จะยอ่ยสลายอาหารด้วยเอน

ไซมจ์ากไลโซโซม

การยอ่ยอาหารของสตัว์

ถงุอาหาร

Page 13: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การยอ่ยอาหารของสตัวท่ี์มทีางเดินอาหารไมส่มบูรณ์ • จะมโีครงสรา้งท่ีเป็นชอ่งเปิดเพื่อนำา

อาหารเขา้สูร่า่งกาย ได้แก่ ปาก และ ยงัทำาหน้าท่ีเป็นทวารหนัก ปล่อย

เศษอาหารออกสูภ่ายนอกด้วย• สตัวก์ลุ่มนี้ ได้แก่ ไฮดรา และ

พลานาเรยี• จะใชห้นวดหรอืงวงจบัอาหารเขา้สู่

ปากและผ่านเขา้ไปในชอ่งวา่งกลางลำา

ตัวท่ี ประกอบด้วยเซลล์ซึ่งทำาหน้าท่ียอ่ยสลาย

อาหาร โดยการสรา้งเอนไซมม์า ยอ่ยอาหารจนมโีมเลกลุขนาดเล็ก

และลำาเลียงเขา้สูเ่ซลล์รา่งกาย

ของเสยีอาหาร

Page 14: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การยอ่ยอาหารของสตัวท่ี์มทีางเดินอาหารสมบูรณ์• ทางเดินอาหารประกอบด้วย ปาก คอหอย ถงุพกัอาหารหรอื

กระเพาะอาหาร ลำาไส้ และทวารหนัก ซึ่งกากอาหารจะถกูขบัออกทางชอ่งทวารหนัก• สตัวใ์นกลุ่มนี้ เชน่ ปลา แมลง เป็นต้นปาก

ตับ ลำาไสเ้ล็ก

ทวารหนัก

ปาก

ต่อมนำ้าลาย

กระเพาะอาหาร

ทวารหนัก

หลอดอาหาร

Page 15: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์
Page 16: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ปาก (mouth)

คารโ์บไฮเดรต นำ้าตาลโมเลกลุ

ขนาดเล็ก

เอนไซมอ์ะไมเลส

• เกิดการยอ่ยเชงิกลจากการบด เค้ียว และเกิดการยอ่ยเชงิเคมโีดย

เอนไซมอ์ะไมเลส (amylase) ท่ีจะยอ่ยคารโ์บไฮเดรตใหม้โีมเลกลุขนาดเล็กลง แต่รา่งกายยงัไม่สามารถนำาไปใชไ้ด้ เน่ืองจากโมเลกลุยงัมขีนาดใหญ่เกินกวา่จะผ่านเยื่อหุม้เซลล์ได้• หลังจากการยอ่ยแล้วอาหารจะถกู

สง่ต่อไปยงั หลอดอาหาร ซึ่งเรยีกวา่ การกลืนอาหาร

Page 17: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

หลอดอาหาร (esophagus)• ลักษณะเป็นท่อตรงต่อจากคอหอยไปยงักระเพาะอาหาร• กล้ามเน้ือของหลอดอาหารจะไมม่กีารสรา้งนำ้ายอ่ย• อาหารจะเคล่ือนท่ีผ่านหลอดอาหารโดยการหดตัวและคลายตัวของชัน้

กล้ามเน้ือ ในลักษณะลกูคล่ืนเป็นระยะๆ เรยีกวา่ เพอรสิ ทัลซสี (peris talsis)

Page 18: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

กระเพาะอาหาร(stomach)

โปรตีน กรดอะมโินเอนไซมเ์ปปซนิ

• เป็นสว่นทางเดินอาหารท่ีมขีนาดใหญ่ท่ีสดุ ซึ่งมกีล้ามเน้ือ หนาและแขง็แรงมาก

• เมื่ออาหารมาถึงกระเพาะอาหาร กระเพาะอาหารจะสรา้ง ของเหลวออกมา 3 ชนิด คือ นำ้ายอ่ย กรดเกลือ และ

เอนไซม์ สำาหรบัยอ่ยโปรตีนสายสัน้ๆ สว่นคารโ์บไฮเดรต

และไขมนัจะไมถ่กูยอ่ยท่ีกระเพาะอาหาร

Page 19: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ลำาไสเ้ล็ก (small intestine)

• เป็นทางเดินอาหารสว่นท่ียาวท่ีสดุ• ผนังด้านในมบีรเิวณท่ียื่นเขา้ไปภายใน เรยีกวา่ วลิลัส (villus) เพื่อเพิม่

พื้นท่ีผิวในการดดูซมึอาหาร • ผนังลำาไสเ้ล็กจะสรา้งเอนไซมใ์นการยอ่ยโปรตีน ไขมนั และคารโ์บไฮเดรต

Page 20: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ตับ (liver)

• ทำาหน้าท่ีสรา้งนำ้ายอ่ยหลายชนิด สรา้งเอนไซมแ์ละ สารประกอบโซเดียมไฮโดรเจนคารบ์อเนต ซึ่งมคีณุสมบติั

เป็นเบส เพื่อปรบัสภาพอาหารท่ีสง่มาจากกระเพาะอาหาร ให้มสีมบติัเป็นกลาง

• ทำาหน้าท่ีสรา้งนำ้าดี แล้วสง่ไปเก็บไวใ้นถงุนำ้าดี ซึ่งนำ้าดีจะทำาใหไ้ขมนั แตกตัว เพื่อชว่ยใหเ้อนไซมจ์ากตับอ่อนยอ่ยสลายไขมนัได้ดีขึ้น

ตับอ่อน (pancreas)

ตับอ่อน

ลำาไสเ้ล็ก

ถงุนำ้าดี

ตับ

Page 21: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ลำาไสใ้หญ่ (large intestine)• อาหารท่ีเหลือจากการยอ่ยและอาหารท่ียอ่ยไมไ่ด้ จะถกูสง่ลงสู่

ลำาไสใ้หญ่• ลำาไสใ้หญ่จะทำาหน้าท่ีดดูนำ้าและแรธ่าตกุลับสูร่า่งกาย สว่นกากอาหาร

จะเคล่ือนท่ีไปรวมกันท่ีปลายของลำาไสใ้หญ่รอขบัถ่ายออกทางทวารหนักต่อไป

Page 22: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระบบไหลเวยีนเลือด

Page 23: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การไหลเวยีนเลือดของสตัวไ์มม่กีระดกูสนัหลัง

ระบบไหลเวยีนเลือดของสตัว์• เป็นแบบระบบเปิด คือ เลือดท่ีออกจากหวัใจ

ไมไ่ด้ไหลอยูใ่นหลอดเลือดตลอดเวลาแต่มบีางชว่งเลือดจะไหลเขา้ไปในชอ่ง

วา่งกลางลำาตัว

• พบในสัตวพ์วกหอย แมลง กุ้ง ปู เป็นต้น

หลอดเลือดแดง

เนื้อเยื่อ

หลอดเลือดดำา

Page 24: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การไหลเวยีนเลือดของสตัวม์กีระดกูสนัหลัง

• เป็นแบบระบบปิด คือ เลือดท่ีออก จากหวัใจจะ ไหลผ่านหลอดเลือด

ตลอดจนกลับคืนสูห่วัใจ• พบในสตัวพ์วกปลา มนุษย์ เป็นต้น

หลอดเลือดแดง

หลอดเลือดฝอย

หลอดเลือดดำา

Page 25: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระบบไหลเวยีนเลือดของแมลง• มรีะบบไหลเวยีนเลือดแบบเปิด• หวัใจเป็นสว่นของเสน้เลือดท่ีมลัีกษณะโป่งออกเป็นชว่งๆ• มรีูเล็กๆ เรยีกวา่ ออสเทีย ทำาหน้าท่ีรบัเลือดจากสว่นต่างๆ ในลำาตัว

ไหลเขา้สูห่วัใจ• ไมม่หีลอดเลือดฝอย แต่มชีอ่งวา่งกลางลำาตัว เรยีกวา่ ฮีโมซลี ทำา

หน้าท่ีรบัเลือด จากหลอดเลือด เพื่อลำาเลียงสารไปยงัสว่นต่างๆ ของรา่งกาย

ออสเทีย

หวัใจ

Page 26: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระบบไหลเวยีนเลือดของปลา• มรีะบบไหลเวยีนเลือดแบบปิด• ประกอบด้วยหวัใจ 2 หอ้ง โดยหวัใจหอ้งบนทำาหน้าท่ีรบัเลือดท่ีมอีอกซเิจนตำ่า

จาก สว่นต่างๆ ของรา่งกายแล้วสง่ต่อไปยงัหวัใจหอ้งล่าง ซึ่งทำาหน้าท่ีสบูฉีดเลือด

ท่ีมอีอกซเิจนตำ่าไปยงัเหงือก• เหงือกจะทำาหน้าท่ีแลกเปล่ียนแก๊ส โดยเลือดท่ีผ่านเหงือกแล้วจะมแีก๊ส

ออกซเิจนสงู ซึ่งจะสง่ไปเล้ียงสว่นต่างๆ ทัว่รา่งกายผ่านทางหลอดเลือดแดง

หวัใจ

เหงือก

Page 27: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

หัวใจ

ระบบไหลเวยีนเลือดของมนุษย์

หลอดเลือดแดงใหญ่นำาเลือดไปเล้ียงสว่นต่างๆ ของรา่งกายหลอดเลือดดำานำาเลือดจากรา่งกายเขา้สูห่วัใจหวัใจหอ้งบนขวา

หวัใจหอ้งล่างขวา

หลอดเลือดแดงนำาเลือดไปปอด

หลอดเลือดดำานำาเลือดจากปอดเขา้สูห่วัใจหวัใจหอ้งบนซา้ย

หวัใจหอ้งล่างซา้ย

• ทำาหน้าท่ีสบูฉีดเลือดไปเล้ียงสว่นต่างๆ ของรา่งกาย• แบง่เป็น 4 หอ้ง ซึ่งเป็นหอ้งบน 2 หอ้ง เรยีกวา่ เอเทรยีม

และหอ้งล่าง 2 หอ้ง เรยีกวา่ เวนตรเิคิล• ระหวา่งหวัใจหอ้งบนและหอ้งล่างจะมลิี้นหวัใจคอยปิด-เปิดไม่

ใหเ้ลือดไหลยอ้นกลับ

Page 28: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

หลอดเลือด แบง่ออกเป็น 3 ชนิด ดังน้ี หลอดเลือดแดงหรอืหลอดเลือดอารเ์ทอรี (artery)

• นำาเลือดออกจากหวัใจ• ผนังหลอดเลือดมชีัน้กล้ามเนื้อเรยีบท่ีหนาและยดืหยุน่• เลือดท่ีอยูใ่นหลอดเลือดแดง เป็นเลือดท่ีมแีก๊สออกซเิจนสงู

เรยีกวา่ เลือดแดง ยกเวน้หลอดเลือดแดงท่ีนำาเลือดจากหวัใจไปยงัปอด ซึ่งจะมแีก๊สคารบ์อนไดออกไซด์สงู เรยีกวา่ เลือดดำา

Page 29: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

หลอดเลือดดำาหรอืหลอดเลือดเวน(vein)

หลอดเลือดฝอย

• นำาเลือดกลับสูห่วัใจ• มผีนังบางกวา่และบรรจุเลือดได้มากกวา่

หลอดเลือดแดง• ภายในหลอดเลือดมล้ิีนกัน้ไมใ่หเ้ลือดไหล

ยอ้นกลับ• เลือดท่ีอยูใ่นหลอดเลือดดำามแีก๊สคารบ์อนได้

ออกไซด์สงู เรยีกวา่ เลือดดำา ยกเวน้หลอดเลือดดำา

ท่ีนำาเลือดออกจากปอดเขา้สูห่วัใจจะเป็นเลือดแดง

• มขีนาดเล็กมาก• อยูร่ะหวา่งปลายของหลอด

เลือดแดงและหลอดเลือดดำา

Page 30: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

เลือด มสีมบติัเป็นเบสอ่อน ซึ่งประกอบด้วย 2 ส่วน ดังน้ี

เซลล์เมด็เลือดแดง(erythrocyte)

• สว่นท่ีเป็นของเหลว คือ นำ้าเลือดหรอืพลาสมา (plasma) ประกอบด้วยนำ้าและสารต่างๆ• สว่นท่ีเป็นเมด็เลือด เป็นสว่นท่ีไมใ่ชข่องเหลว ซึ่งประกอบด้วยเซลล์เมด็เลือด

และเกล็ดเลือด

• มรูีปรา่งกลมแบน ตรงกลางบุม๋ ไมม่นีิวเคลียส • ภายในเซลล์มสีารโปรตีนท่ี

เรยีกวา่ เฮโมโกลบนิ • สรา้งโดยไขกระดกู มอีายุ

ประมาณ 120 วนัและจะถกูทำาลายท่ีมา้ม

Page 31: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

เซลล์เมด็เลือดขาว (leucocyte)

เกล็ดเลือด (platelets)

• เป็นเซลล์ท่ีมนีิวเคลียส• สรา้งโดยมา้มและไขกระดกู• มหีลายชนิด โดยแต่ละชนิดจะทำา

หน้าท่ีแตกต่างกัน ซึ่งบางชนิดทำาหน้าท่ีจบัและทำาลายเชื้อโรคท่ีเขา้สู่รา่งกาย

• เป็นชิน้สว่นของเซลล์ท่ีมรูีปรา่งเป็น แผ่นเล็กๆ

ปนอยูใ่นนำ้าเลือด• มหีน้าท่ีชว่ยใหเ้ลือดแขง็ตัวเมื่อเกิด

บาดแผล• มอีายุประมาณ 10 วนั

Page 32: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

• เลือดจากสว่นต่างๆของรา่งกาย ท่ีมแีก๊สคารบ์อนไดออกไซด์สงู

เขา้สูห่วัใจทางหอ้ง บนขวา แล้วผ่านล้ินหวัใจลงสู่

หอ้งล่างขวา• หวัใจจะสง่เลือดไปยงัปอดผ่าน

หลอดเลือด อารเ์ทอรี เพื่อแลกเปล่ียนแก๊ส

• เลือดท่ีมอีอกซเิจนสงูจากปอดไหลกลับสูห่วัใจทางหลอดเลือด

เวน เขา้สูห่วัใจหอ้งบนซา้ย แล้วไหลผ่านล้ินหวัใจสูห่อ้งล่างซา้ย• หวัใจบบีตัวสง่เลือดท่ีมอีอกซเิจน

สงูออกทางหลอดเลือดอารเ์ทอรี ไปเล้ียงสว่นต่างๆ ของรา่งกาย

การไหลเวยีนของเลือด หวั

ปอด

หวัใจ

ตับ ทางเดิน

อาหาร

อวยัวะอ่ืนๆไต

Page 33: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระบบหายใจ

Page 34: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ไฮดรา แมลงระบบหายใจของสตัว์

• ไมม่อีวยัวะในการหายใจ• มกีารแลกเปล่ียนแก๊สออกซเิจนและ

แก๊สคารบ์อนไดออกไซด์ท่ีเกิดขึ้นใน เซลล์

โดยการแพรผ่่านเยื่อหุม้เซลล์โดยตรง

• มชีอ่งหายใจเล็กๆ ขา้งลำาตัว

บรเิวณท้อง ซึ่งจะติดกับท่อลม• ท่อลมมลัีกษณะแตกเป็นแขนง

ทำาหน้าท่ีในการแลกเปล่ียนแก๊ส

ถงุลม ชอ่งหายใจ

ท่อลม

O2

O2CO2 O

2

Page 35: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

• มอีวยัวะท่ีใชห้ายใจ คือ เหงือก ซึ่งทำาหน้าท่ีแลกเปล่ียนแก๊ส• เหงือกมลัีกษณะเป็นซี่ๆ เรยีงตัวกันเป็นแผง โดยแต่ละซีจ่ะมี

หลอดเลือดฝอยมาหล่อเล้ียงจำานวนมาก

ปลา

Page 36: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

อวยัวะท่ีชว่ยในการหายใจระบบหายใจของมนุษย์

แขนงปอด หลอดลม

หลอดลมฝอย

ถงุลม

• เริม่ต้นท่ีปากและจมูกไปสูห่ลอดลม• ปลายของหลอดลมแตกเป็น 2 แขนง

เรยีกวา่ แขนงปอด ซึ่งเมื่อเขา้ไปในปอดจะแตกแขนงเล็กๆ มากมาย เรยีกวา่ หลอดลมฝอย• ปลายหลอดลมฝอยมถีงุเล็กๆ เรยีกวา่

ถงุลม • การนำาอากาศเขา้ออกจากปอดเป็นการ

ทำางานรว่มกันของกล้ามเน้ือยดึกระดกูซีโ่ครงและกล้ามเน้ือกะบงัลม

Page 37: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การผ่านเขา้ออกของอากาศโดยการหายใจ การหายใจเขา้ : กระดกูซีโ่ครง

เล่ือนสงูขึ้น กะบงัลมเล่ือนตำ่า ลง ทำาใหป้รมิาตรชอ่งอกมาก ขึ้น ความดันอากาศตำ่าลง

อากาศจงึผ่านเขา้สูป่อด

การหายใจออก : กระดกู ซีโ่ครงเล่ือนตำ่าลง กะบงัลม

เล่ือนสงูขึ้น ทำาใหป้รมิาตรชอ่ง อกลดลง ความดันอากาศสงู

ขึ้น อากาศจงึผ่านออกจากปอด

Page 38: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การหายใจระดับเซลล์การแลกเปล่ียนแก๊สท่ีถงุ

ลม : ออกซเิจนในถงุลมจะแพรเ่ขา้

สูเ่ลือด สว่นคารบ์อนไดออกไซด์ในเลือด

จะแพรเ่ขา้สูถ่งุลม แล้วขบัออกทางลมหายใจออก

การแลกเปล่ียนแก๊สท่ีเซลล์: เมื่อออกซเิจนและสารอาหาร

เขา้สูเ่ซลล์จะเกิดปฏิกิรยิา ซึ่ง ได้พลังงานออกมา เรยีก

กระบวนการนี้วา่ กระบวนการหายใจ

เซลล์รา่งกาย

อาหาร CO2 + นำ้า

หลอดเลือดฝอย

O2เลือดจากหวัใจ

เลือดกลับสูห่วัใจ

CO2

O2

Page 39: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

การแลกเปลี่ยนแก๊สและการหมุนเวยีนเลือดในรา่งกายมนุษย์

แลกเปล่ียนแก๊สท่ีถงุลม

เลือดที่มแีก๊สออกซเิจนสงู

เลือดท่ีมแีก๊สคารบ์อนไดออกไซด์สงู

เซลล์รา่งกาย

แลกเปล่ียนแก๊สท่ีเซลล์

Page 40: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ระบบขบัถ่าย

Page 41: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

พลานาเรยี ไสเ้ดือนดินระบบขบัถ่ายของสตัว์

เฟลมเซลล์ เนฟรเิดียม

• อวยัวะขบัถ่ายท่ีเรยีกวา่เฟลมเซลล์ (flame cell) ซึ่งเป็นท่อกระจายอยูทั่ง้สองขา้งของลำาตัว และมรีูขบัของเสยีออกขา้งลำาตัว

• ใช้ เนฟรเิดียม(nephridium) รบัของเสยีท่ีมาตามท่อ และมท่ีอเป็นรูเปิดออกขา้งลำาตัว

Page 42: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ปลาแมลง • ใชท่้อมลัพเิกียน

(mulphigian) ซึ่งเป็นท่อขนาดเล็กจำานวนมากท่ีอยูร่ะหวา่งกระเพาะอาหารกับลำาไส ้ทำาหน้าท่ีดดูซมึของเสยีจากเลือดสง่ต่อไปยงัทางเดินอาหาร และขบัออกทางชอ่งทวารหนัก

• มอีวยัวะขบัถ่าย คือ ไต(kidney) อยูภ่ายในชอ่งท้องค่อนไปทางด้านบนของลำาตัว ของเสยีท่ีสง่มาสูไ่ตจะถกู

สง่ต่อไปยงักระเพาะปัสสาวะ และ ขบัออกทางรา่งกายทางชอ่งทวารหนัก

ท่อมลัพเิกียน

ไต

Page 43: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ไตระบบขบัถ่ายของมนุษย์

• ทำาหน้าท่ีกรองของเสยีท่ีรา่งกายไม่ ต้องการ รวมทัง้ชว่ยรกัษาสมดลุ

ของนำ้า แรธ่าตุ และสารบางชนิด• ภายในไตประกอบไปด้วยหน่วยไต

(nephron) ซึ่งทำาหน้าท่ีกรองเลือด • เลือดท่ีมอีอกซเิจนสงูเขา้สูไ่ตทาง

หลอดเลือดแดง ซึ่งสารท่ีมีประโยชน์ต่อรา่งกาย เชน่ นำ้า กลโูคส จะถกูดดูกลับเขา้สูห่ลอดเลือดฝอย แล้วลำาเลียงเขา้สูห่วัใจทางหลอดเลือดดำา • ของเสยีท่ีรา่งกายไมต้่องการจะ

สลายเป็นปัสสาวะ ลำาเลียงไปยงักระเพาะปัสสาวะเพื่อรอการขบัถ่าย

Page 44: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ผิวหนัง• ของเสยีท่ีขบัออกทางผิวหนังจะอยูใ่นรูป

ของเหลว เรยีกวา่ เหง่ือ (sweat) ซึ่งประกอบด้วยนำ้าและเกลือแร่• เหง่ือจะถกูขบัออกตามสว่นต่างๆของ

รา่งกาย เชน่ ฝ่ามอื ฝ่าเท้า ใต้รกัแร ้แผ่นหลัง

• แต่ละวนัรา่งกายสญูเสยีนำ้าในรูปของเหง่ือ ประมาณ 500-1,000 ลกูบาศก์เซนติเมตร

รูขุมขน

ต่อมเหง่ือ

Page 45: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ปอด

ปรมิาณแก๊สต่างๆ และไอนำ้าในลมหายใจเขา้และลมหายใจออก

• ทำาหน้าท่ีแลกเปล่ียนแก๊ส ซึ่งจะเกิดขึ้นท่ีถงุลมในปอด

Page 46: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

ลำาไสใ้หญ่• อาหารท่ีผ่านกระบวนการยอ่ยอาหารจะถกูสง่ต่อ

มาสะสมท่ีลำาไสใ้หญ่ในรูปของกากอาหาร• ตลอดระยะเวลาในการเคล่ือนท่ีของอาหาร

จะมกีารดดูซมึนำ้าและสารอาหารกลับคืนสูร่า่งกาย สว่นกากท่ีเหลือจากการยอ่ย คือ อุจจาระ

จะถกูขบัออกทางทวารหนัก

Page 47: รายวิชาพื้นฐาน กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ วิชา วิทยาศาสตร์

• การจดัระบบในรา่งกายมนุษยแ์ละสตัว์ แบง่ออกเป็น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับเซลล์ ระดับเน้ือเยื่อ ระดับอวยัวะ และระดับ

ระบบรา่งกาย• การยอ่ยอาหาร คือ การทำาใหอ้าหารท่ีมโีมเลกลุขนาดใหญ่

กลายเป็นสารอาหารท่ีมโีมเลกลุขนาดเล็กลง จนสามารถผ่าน เยื่อหุม้เซลล์ได้

• การยอ่ยอาหารของมนุษย์ ประกอบด้วยอวยัวะต่างๆ ได้แก่ ปาก หลอดอาหาร กระเพาะอาหาร ลำาไสเ้ล็ก ตับ ตับอ่อน

และลำาไสใ้หญ่• ระบบไหลเวยีนเลือด มหีน้าท่ีลำาเลียงสารอาหารท่ีผ่าน

กระบวนการยอ่ยไปยงัสว่นต่างๆ ของรา่งกาย และลำาเลียงของเสยีท่ีรา่งกายไมต้่องการไปยงัระบบขบัถ่าย• ระบบหายใจ จะนำาออกซเิจนเขา้สูร่า่งกาย เพื่อใชใ้น

กระบวนการยอ่ยสลายสารอาหาร• ระบบขบัถ่าย เป็นระบบกำาจดัของเสยีท่ีรา่งกายไมต้่องการ

ออกนอกรา่งกาย เชน่ คารบ์อนไดออกไซด์ ยูเรยี แอมโมเนียเป็นต้น

สรุปทบทวนประจำาหน่วยการเรยีนรูท่ี้ 1