ทะเล มหาสมุทร...

25
บทที10 ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น 1. บทนํา ทะเลและมหาสมุทรจัดเปนเปลือกโลกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะคลายกับแองน้ําและมีน้ําปกคลุมอยู สัดสวนพื้นที่ของมหาสมุทรคิดเปนพื้นที่รอยละ 71 ของเปลือกโลกทั้งหมด มหาสมุทร คือ สวนของผิวน้ําที่ถูก ลอมรอบดวยทวีป สวนทะเลหมายถึงสวนที่เปนขอบของมหาสมุทร บางสวนเรียกวาอาวตามสภาพภูมิ ประเทศ ดังที่ไดศึกษามาแลววาสวนของมหาสมุทรเปนหินจําพวกหินบะซอลตเปนสวนหนึ่งของเปลือกโลกทีเรียกวา ไซมา” (Sima) จาการศึกษาของนักวิทยาศาสตรพบวาน้ําที่แชขังอยูในแองของมหาสมุทรในระยะ แรกจะเปนน้ําจืด แตเมื่อบนโลกเกิดปรากฏการณฝนตก หยาดน้ําฟาจะไหลจากภาคพื้นทวีปทําใหเกิดการ ชะลาง การพัดพา และการละลายเอาเกลือแรตางๆ บนโลกใหลงมาสะสมอยูในทะเลติดตอกันมาเปนระยะ เวลายาวนาน ในขณะเดียวกันน้ําในมหาสมุทรจะมีอัตราการระเหยกลายเปนไออยูตลอดเวลา จึงทําใหสาร ละลายประเภทเกลือมีความเขมขนสูงขึ้นเปนสาเหตุที่วาทําไมน้ําทะเลจึงมีรสเค็ม ประกอบกับการศึกษา รายชื่อเกลือแรที่ประกอบอยูในน้ําทะเลเราพบวาองคประกอบเปนเกลือคลอไรดถึงรอยละ 55 รองลงมาไดแก เกลือโซเดียมรอยละ 31 นอกจากนั้นก็เปนแรธาตุชนิดอื่นๆ อยางไรก็ตามจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตร พบวาปริมาณแรธาตุที่ละลายในน้ําทะเลจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุประการหนึ่งมาจากมนุษยสรางเขื่อนกั้น ลําน้ําสาขาตางๆ ทําใหปริมาณน้ําจืดที่ไหลลงสูทะเลมีปริมาณลดลง นอกจากนั้นเรายังพบวาความเค็มของน้ําทะเลที่ระดับน้ําทะเลนั้นแตกตางกันไปตามที่ตางๆ โดยทาง ซีกโลกเหนือน้ําทะเลจะเค็มที่สุดใกลๆ กับบริเวณละติจูดที25 องศาเหนือ สวนทางซีกโลกใตเค็มมากที่สุด ที่ประมาณละติจูด 20 องศาใต เนื่องจากอัตราการระเหยของน้ําทะเลมีมากและหยาดน้ําฟาที่ตกลงมามี ปริมาณนอยนั่นเอง สําหรับอุณหภูมิของน้ําทะเลขึ้นอยูกับการแผรังสีความรอนของดวงอาทิตยมากที่สุด มีความแปรผัน ตามระดับความลึก โดยจะมีความแตกตางกันทั้งในแนวราบ (จากเสนศูนยสูตรถึงขั้วโลก) และทางแนวดิ่ง (จากระดับน้ําทะเลลงไปถึงทองมหาสมุทร) อุณหภูมิพื้นผิวโดยเฉลี่ยในฤดูรอนแตละมหาสมุทรจะแตกตางกัน โดยมหาสมุทรอารกติกมีอุณหภูมิเฉลี่ยต่ําสุด 0 - 5 องศาเซลเซียส และมหาสมุทรอินเดีย อุณหภูมิเฉลี่ย สูงสุด 25 - 27 องศาเซลเซียส สําหรับในแนวราบพบวาที่บริเวณเสนศูนยสูตรอุณหภูมิเฉลี่ยของน้ําทะเล ประมาณ 25 องศาเซลเซียส และที่ขั้วโลกประมาณ -2 องศาเซลเซียส (รัชนีกร บุญ-หลง , 2536.)

description

ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

Transcript of ทะเล มหาสมุทร...

Page 1: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

บทที่ 10

ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น 1. บทนํา ทะเลและมหาสมุทรจัดเปนเปลือกโลกประเภทหนึ่งที่มีลักษณะคลายกับแองน้ําและมีน้ําปกคลุมอยู สัดสวนพื้นที่ของมหาสมุทรคิดเปนพื้นที่รอยละ 71 ของเปลือกโลกทั้งหมด มหาสมุทร คือ สวนของผิวน้ําที่ถูกลอมรอบดวยทวีป สวนทะเลหมายถึงสวนที่เปนขอบของมหาสมุทร บางสวนเรียกวาอาวตามสภาพภูมิประเทศ ดังที่ไดศึกษามาแลววาสวนของมหาสมุทรเปนหินจําพวกหินบะซอลตเปนสวนหนึ่งของเปลือกโลกที่เรียกวา “ไซมา” (Sima) จาการศึกษาของนักวิทยาศาสตรพบวาน้ําที่แชขังอยูในแองของมหาสมุทรในระยะแรกจะเปนน้ําจืด แตเมื่อบนโลกเกิดปรากฏการณฝนตก หยาดน้ําฟาจะไหลจากภาคพื้นทวีปทําใหเกิดการชะลาง การพัดพา และการละลายเอาเกลือแรตางๆ บนโลกใหลงมาสะสมอยูในทะเลติดตอกันมาเปนระยะเวลายาวนาน ในขณะเดียวกันน้ําในมหาสมุทรจะมีอัตราการระเหยกลายเปนไออยูตลอดเวลา จึงทําใหสารละลายประเภทเกลือมีความเขมขนสูงขึ้นเปนสาเหตุที่วาทําไมน้ําทะเลจึงมีรสเค็ม ประกอบกับการศึกษารายชื่อเกลือแรที่ประกอบอยูในน้ําทะเลเราพบวาองคประกอบเปนเกลือคลอไรดถึงรอยละ 55 รองลงมาไดแกเกลือโซเดียมรอยละ 31 นอกจากนั้นก็เปนแรธาตุชนิดอื่นๆ อยางไรก็ตามจากการศึกษาของนักวิทยาศาสตรพบวาปริมาณแรธาตุที่ละลายในน้ําทะเลจะเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ สาเหตุประการหนึ่งมาจากมนุษยสรางเขื่อนกั้นลําน้ําสาขาตางๆ ทําใหปริมาณน้ําจืดที่ไหลลงสูทะเลมีปริมาณลดลง

นอกจากนั้นเรายังพบวาความเค็มของน้ําทะเลที่ระดับน้ําทะเลนั้นแตกตางกันไปตามที่ตางๆ โดยทางซีกโลกเหนือน้ําทะเลจะเค็มที่สุดใกลๆ กับบริเวณละติจูดที่ 25 องศาเหนือ สวนทางซีกโลกใตเค็มมากที่สุดที่ประมาณละติจูด 20 องศาใต เนื่องจากอัตราการระเหยของน้ําทะเลมีมากและหยาดน้ําฟาที่ตกลงมามีปริมาณนอยนั่นเอง

สําหรับอุณหภูมิของน้ําทะเลขึ้นอยูกับการแผรังสีความรอนของดวงอาทิตยมากที่สุด มีความแปรผันตามระดับความลึก โดยจะมีความแตกตางกันทั้งในแนวราบ (จากเสนศูนยสูตรถึงขั้วโลก) และทางแนวดิ่ง (จากระดับน้ําทะเลลงไปถึงทองมหาสมุทร) อุณหภูมิพื้นผิวโดยเฉลี่ยในฤดูรอนแตละมหาสมุทรจะแตกตางกัน โดยมหาสมุทรอารกติกมีอุณหภูมิเฉล่ียต่ําสุด 0 - 5 องศาเซลเซียส และมหาสมุทรอินเดีย อุณหภูมิเฉล่ียสูงสุด 25 - 27 องศาเซลเซียส สําหรับในแนวราบพบวาที่บริเวณเสนศูนยสูตรอุณหภูมิเฉล่ียของน้ําทะเลประมาณ 25 องศาเซลเซียส และที่ขั้วโลกประมาณ -2 องศาเซลเซียส (รัชนีกร บุญ-หลง , 2536.)

Page 2: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

170

2. สวนประกอบของทะเล และมหาสมุทร 2.1 ลักษณะภูมิประเทศของทะเลและมหาสมุทร

ดังที่ไดศึกษามาแลววาทะเลและมหาสมุทรแบงเปนสวนของไหลทวีป (Continental Shelf) ลาดทวีป (Continental Slope) ซึ่งจะมีความลาดชันที่แตกตางกัน โดยไหลทวีปเปนพื้นที่ที่ตอเนื่องจากทวีปคอย ๆ ลาดจากชายฝงลงไปประมาณ 2 เมตร ตอระยะทาง 1 กิโลเมตร จนถึงตอนที่ระดับน้ําลึกประมาณ 120 เมตร สวนลาดทวีปจะอยูถัดจากไหลทวีปออกไป และมีความลาดชันมากประมาณ 65 กิโลเมตร ตอระยะทาง 1 กิโลเมตร ทอดไปถึงระดับน้ําลึกประมาณ 3,600 เมตร (รูปที่ 1) แยกพิจารณาดังนี้

ทวีป (Continental) ไหลทวีป เนินลาดเรียบทวีป ภูเขายอดตัดใตทะเล

(Continental shelf) (Continental Rise) (Guyot) ภูเขาสูงใตมหาสมุทร

ลาดทวีป เนินเขาทองสมุทร (Island) (Continental Slope) (Abyssal hill)

รูปที่ 1 แสดงสวนตาง ๆ ของทะเลและมหาสมุทร ที่มา : Alyn C. Duxbury และ Alison B. Duxbury , 1991.

2.1.1 ไหลทวีป (Continental Shelf) เริ่มจากชายฝงทะเลไปจนถึงบริเวณพื้นทองทะเล ไปจนถึงบริเวณที่ทองทะเลมีการเปล่ียนระดับความลาดชันที่สูงขึ้น ลักษณะพื้นผิวไหลทวีปเปนรอง สัน แอง หรือพืดหินปะการัง หรือตะกอนกรวดทราย โคลน เปนตน ไหลทวีปเปนบริเวณที่ระดับทะเลมีการเปลี่ยนแปลงอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลก การชะลางพังทลายบนแผนดิน และการตกทับถมของตะกอนในมหาสมุทร

Page 3: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

171

2.1.2 ลาดทวีป (Continental Slope) ตอเนื่องจากไหลทวีปลงไป มีระดับความลึก 2,000 - 3,000 เมตร ตอเนื่องไปจนถึงเนินลาดเรียบทวีป (Continental Rise) มีความลาดชันประมาณ 1 : 40 ลักษณะเปนพื้นที่คอนขางแคบ ตามลาดทวีปมักปรากฏภูมิประเทศแบบ "หุบผาชันใตทะเล" (Submarine Canyon) มักพบบริเวณใกลปากแมน้ํา ซึ่งเกิดจากการพัดพากัดเซาะบริเวณดังกลาวใหกลายเปนรองลึก และบริเวณเชิงหุบผาชันมักพบ "เนินตะกอนรูปพัดกนสมุทร" (Abyssal Fans) รูปรางคลายเนินตะกอนที่ถูกพัดพามา หรือดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ํา เกิดจากปริมาณตะกอนกรวดทรายที่ถูกพัดพามาตกทับถมกัน 2.1.3 เนินลาดเรียบทวีป (Continental Rise) เปนบริเวณที่ตอเนื่องจากลาดทวีปไปจนถึงพื้นราบบาดาล (Abyssal Floor) ความลาดชันสูง 1:100 - 1: 700 ตอเนื่องกับพื้นราบบาดาล 2.1.4 พ้ืนราบบาดาล (Abyssal Floor) มีลักษณะเปนที่ราบเรียบ และลึก เปนที่สูงต่ํา เกิดจากการตกทับถมของตะกอนตางๆ ที่พัดพามากับกระแสน้ํา บางปรากฏเปนเนินเขาเตี้ยๆ (Abyssal Hill) ไมสูงมากพบไดทั่วไป พื้นราบบาดาลของมหาสมุทรที่เปนพื้นที่ทองมหาสมุทรมีลักษณะภูมิประเทศหลากหลายอันไดแก สันเขา ที่ราบสูง แอง ภูเขา เชน สันเขากลางมหาสมุทรแอตแลนติก ซึ่งทอดยาวจากไอซแลนดลงมาเกือบถึงทวีปแอนตารกติก มีบางตอนสูงขึ้นมาเหนือน้ําทะเลกลายเปนเกาะ (Island) เชน หมูเกาะอะซอรีส หรือหมูเกาะฮาวาย มหาสุมทรแปซิฟก ลักษณะภูมิประเทศอื่น ๆ ไดแก ภูเขาใตทะเล พบที่พื้นทองมหาสมุทร บางลูกมียอดตัด เรียกวา “กีโอต” (Guyout) พบมากบริเวณตอนกลางและดานตะวันตกของมหาสมุทรแปซิฟกระหวางหมูเกาะมาเรียนากับหมูเกาะฮาวาย สําหรับยอดเขากีโอตอยูที่ระดับน้ําลึก 1,200-1,800 เมตร เดิมเปนยอดภูเขาไฟแตถูกคลื่นกระทําใหเกิดการสึกกรอน หรืออาจมีปะการังมาเกาะเหนือยอดเขากลายเปนเขายอดตัด และตอมาพื้นทองมหาสมุทรลดระดับลงต่ํา หรือระดับน้ําทะเลสูงขึ้นจึงจมลงไปอยูใตน้ํา 2.1.5 สันเขากลางมหาสมุทร (Ocean Ridge) เปนแนวเทือกเขาใตมหาสมุทร มีพื้นที่ประมาณรอยละ 28 ของพื้นทองมหาสมุทร สวนของยอดสันเขามีลักษณะเปน "หุบเขาทรุด" (Rift Valley) ลักษณะเปนรองลึก มีความกวางประมาณ 25 - 50 กิโลเมตร บริเวณหุบเขาทรุดมักเกิดปรากฏการณภูเขาไฟเสมอ เนื่องจากการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก และการแทรกตัวของหินหนืดใตเปลือกโลก

จากการศึกษามหาสมุทรของนักสมุทรศาสตรพบวา มหาสมุทรแปซิฟกมีพื้นที่มากที่สุดถึง 180*106 ตารางกิโลเมตร มีความลึกเฉลี่ย 4,028 เมตร รองลงมาไดแก มหาสมุทรแอตแลนติก มีพื้นที่ 107*106 ตารางกิโลเมตร ความลึกเฉลี่ย 3,332 เมตร สวนความลึกที่สุดของมหาสมุทรที่สํารวจพบ ไดแกมหาสมุทรแปซิฟก ประกอบดวย

ป ค.ศ. บริเวณ ความลึก (เมตร)

1923 รองลึกมินดาเนา (Mindannu) 10,497 1952 รองลึกตองกา (Tonga) 10,882 1959 รองลึกมาเรียนา (Mariana) 11,028 1960 รองลึกมาเรียนา (Mariana) 11,034 ที่มา : I.S.Allison and D.F. Plamer ,1980.

Page 4: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

172

3. กระแสน้ํามหาสมุทร (Ocean Current)

กระแสน้ํามหาสมุทร คือ การไหลของน้ําทะเลตามแนวราบอยางสม่ําเสมอ มีทั้งกระแสน้ําเย็นและกระแสน้ําอุน ซึ่งมีสวนชวยในการปรับอุณหภูมิบนผิวโลก และชวยถายเทความรอนดวยเชนกัน สาเหตุของการเกิดกระแสน้ําพบวาเกิดจากสาเหตุและปจจัยดังตอไปนี้ 3.1 ปจจัยที่มีผลตอการเกิดกระแสน้ําในมหาสมุทร 3.1.1 ลม (Wind) เปนตัวการสําคัญ โดยจะทําใหผิวน้ําเกิดระลอกคลื่นเล็กๆ และเมื่อมีการถายเทพลังงานมากขึ้นจึงทําใหเกิดกระแสน้ําขึ้น และนับวาลมยังมีสวนในการกําหนดทิศทางการไหลของกระแสน้ําอีกดวย 3.1.2 อุณหภูมิ (Temperature) เราทราบมาแลววาความแตกตางของอุณหภูมิมีผลตอความหนาแนนของน้ําทะเล จึงเปนสาเหตุหนึ่งของการเกิดกระแสน้ํา น้ําทะเลที่มีความหนาแนนมาก และมีอุณหภูมิต่ําจะจมตัวลง และน้ําทะเลที่มีอุณหภูมิสูงและความหนาแนนนอยกวาจะเคลื่อนตัวเขามาแทนที่ จึงเปนจุดเริ่มตนของการเคลื่อนไหวของกระแสน้ําในมหาสมุทรนั่นเอง 3.1.3 แรงเหวี่ยงของโลก การที่โลกหมุนรอบตัวเองทําใหเกิดแรงเหวี่ยงหนีศูนยกลาง ซึ่งมีอิทธิพลตอการเคลื่อนที่ของกระแสน้ํา โดยในซีกโลกเหนือการไหลของกระแสน้ําจะเบี่ยงเบนไปทางขวามือ สวนในซีกโลกใตจะเบี่ยงเบนไปทางซายมือ หรือซีกโลกเหนือกระแสน้ําไหลตามเข็มนาฬิกา และซีกโลกใตไหลทวนเข็มนาฬิกา 4. กระแสน้ําในมหาสมุทรตางๆ ของโลก (Ocean Currents)

รูปที่ 2 แสดงการเคลื่อนที่ของกระแสน้ําอุนและกระแสน้ําเย็น

ที่มา : Robert W. Christopherson, 1995.

Page 5: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

173

การเคลื่อนที่ของกระแสน้ําในมหาสมุทรสามารถแยกพิจารณา ไดแก มหาสมุทรแอตแลนติก มหาสมุทรแปซิฟก มหาสมุทรอินเดีย มหาสมุทรอารกติก และมหาสมุทรแอนตารกติก ซึ่งกระแสน้ําที่ไหลในแตละมหาสมุทรมีสวนสัมพันธกัน ดังนี้

4.1 มหาสมุทรแอตแลนติก (Atlantic Ocean) การเคลื่อนไหวของกระแสน้ําจะเดนชัดมากกวามหาสมุทร อื่น ๆ โดยแยกเปน 2 สวน ดังนี้

4.1.1 กระแสน้ําในมหาสมุทรแอตแลนติกเหนือ (North Atlandtic Ocean Current) เนื่องจากอิทธิพลของลมสินคาจึงทําใหเกิดกระแสน้ําอุน เรียกวา “กระแสนน้ําศูนยสูตรแอตแลนติกเหนือ” (North Atlantic Equatorial Current) ไหลผานชองแคบฟอลริดา จากนั้นไหลไปทางเหนือเลียบชายฝงตะวันออกของอเมริกาเหนือ ตามอิทธิพลของลมประจําฝายตะวันตกเราเรียกวา “กระแสน้ํากัลฟสตรีม” (Gulf Stream) เมื่อกระแสน้ําเคลื่อนที่มาถึงเกาะนิวฟนดแลนดจะปะทะกับกระแสน้ําเย็นชื่อวา “ลาบราเดอร” (Labrador Current) ทําใหกระแสน้ําเย็นลาบราเดอรสลายตัวไป จากนั้นกระแสน้ําอุนกัลฟสตรีมจะไหลตอไปทางทิศตะวันออก ตามอิทธิพลของลมประจําฝายตะวันตก ขามมหาสมุทรแอตแลนติก เรียกวา “สายน้ําแอตแลนติกเหนือ” (The North Atlantic Drift) 4.1.2 กระแสน้ําในมหาสมุทรแอตแลนติกใต (South Atlantic Ocean Current) ไดรับอิทธิพลจากลมสินคาตะวันออกเฉียงใตทําใหเกิด “กระแสน้ําศูนยสูตรแอตแลนติกใต” (South Atlantic Equatorial Current) เปนกระแสน้ําอุนไหลไปทางทิศตะวันตกจรดชายฝงประเทศบราซิล กอนที่จะไหลขึ้นไปพบกับกระแสน้ําเย็นที่เกาะฟอลกแลนด กระแสน้ําเย็นดังกลาว คือ “กระแสน้ําฟอลกแลนด” (Falkland Current) จากนั้นกระแสน้ําอุนจะไหลเปลี่ยนทิศทางขามมหาสมุทรแอตแลนติกไปรวมกับกระแสน้ําเย็น “สายน้ําลมตะวันตก” (West Wind Drift) ที่ไหลไปตามอิทธิพลของลมประจําฝายตะวันตก โดยจะไหลผานเขาไปในมหาสมุทรแปซิฟก และมหาสมุทรอินเดีย 4.2. มหาสมุทรแปซิฟก (Pacific Ocean)

กระแสน้ําในมหาสมุทรแบงออกเปน 2 สวน คือ 4.2.1 กระแสน้ําในมหาสมุทรแปซิฟกเหนือ (North Pacific Ocean Current) บริเวณเหนือเสนศูนยสูตร เกิดจากอิทธิพลของลมสินคาตะวันออกเฉียงเหนือ เกิดเปนกระแสน้ําอุนชื่อ “กระแสน้ําศูนยสูตรแปซิฟกเหนือ” (North Pacific Equatorial Current) ไหลไปทางตะวันตกจนถึงหมูเกาะฟลิปนส กอนจะวกขึ้นไปทางเหนือตามอิทธิพลของลมมรสุมฤดูรอนและลมประจําฝายตะวันตกเลียบชายฝงของประเทศญี่ปุนกลายเปนกระแสน้ําอุน “กุโรซิโว” (Kuroshio Current) ไหลผานทางตอนเหนือของมหาสมุทรแปซิฟก ตามอิทธิพลของลมประจําฝายตะวันตกมาจนถึงชายฝงตะวันตกของอเมริกาเหนือ เรียกวา กระแสน้ําอุน “สายน้ําแปซิฟกเหนือ” (North Pacific Current) บริเวณละติจูด 35 - 45 องศาเหนือ กอนที่จะแยกเปนสองสายไปตามชายฝงประเทศแคนาดา และไหลขึ้นไปปะทะกับกระแสน้ําเย็นกอนสลายตัวไปในที่สุด 4.2.2 กระแสน้ําในมหาสมุทรแปซิฟกใต (South Pacific Ocean Current) มีกระแสน้ําอุนชื่อ “กระแสน้ําศูนยสูตรแปซิฟกใต” (South Pacific Equatorial Current) ไหลไปปะทะกับชายฝงของออสเตรเลียกอนเปลี่ยนทิศทางไหลเลียบชายฝงไปทางใตและไหลจนไปปะทะกับกระแสน้ําเย็น “สายน้ําตะวันตก” (West Wind Drift) ตามแนวละติจูด 30 – 70 องศาใต และสลายตัวไปในที่สุด

Page 6: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

174

4.3. มหาสมุทรอินเดีย (Indian Ocean)

กระแสน้ําที่ปรากฎจะไมเดนชัดเนื่องจากอยูในเขตรอนและอยูในเขตอิทธิพลของลมมรสุม สามารถแยกพิจารณาไดดังนี้

4.3.1 กระแสน้ําในมหาสมุทรอินเดียเหนือ (North Indian Ocean Current) เนื่องจาก เปนเขตรอนกระแสน้ําเกิดจากอิทธิพลของลมมรสุม คือ ในชวงฤดูฝนมีลมมรสุมรอนที่เกิดจากทิศตะวันตกเฉียงใตไปยังทิศตะวันออกเฉียงเหนือ จึงเกิดกระแสน้ําอุนจากบริเวณศูนยสูตรเขาไปยังอาวเบงกอล เรียกวา “กระแสน้ํามรสุมตะวันตกเฉียงใต” ในทางกลับกันชวงฤดูหนาวจะเปนกระแสน้ําอุนที่พัดจากอาวเบงกอลมายังเสนศูนยสูตรเรียกวา “กระแสน้ํามรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ” นอกจากนี้ยังมีกระแสน้ําอุนชื่อ “กระแสน้ําศูนยสูตรอินเดียเหนือ” (North Indian Equatorial Current) ไหลจากเกาะสุมาตราไปทางทิศตะวันตกจนไปปะทะกับชายฝงตะวันออกของแอฟริกา และเปลี่ยนทิศทางไหลวกลงไปทางใตและไหลยอนกลับขึ้นมาตามแนวศูนยสูตร กลายเปน “กระแสน้ําสวนทางศูนยสูตรอินเดีย” ตอไป 4.3.2 กระแสน้ําในมหาสมุทรอินเดียใต (South Indian Ocean Current) ไดแก “กระแสน้ําศูนยสูตรอินเดียใต” (South Indian Equatorial Current) ซึ่งไหลไปทางทิศตะวันตกตามอิทธิพลของลมสินคาตะวันตกเฉียงใตไหลไปปะทะกับชายฝงตะวันออกของแอฟริกากอนแยกเปน 2 สายตอไป 4.4. มหาสมุทรอารกติก (Arctic Ocean) เปนมหาสมุทรที่ถูกปดลอมดวยทวีปเกือบทั้งหมด จึงมีแตกระแสน้ําเย็นไหลออกสูมหาสมุทรอื่นๆ เชน กระแสน้ําเย็นเบริ่ง กระแสน้ําเย็นโอยาชิโว กระแสน้ําเย็นกรีนแลนด และกระแสน้ําเย็นลาบราเดอร เปนตน 4.5. มหาสมุทรแอนตารกติก (Antarctic Ocean) พบวากระแสน้ําบริเวณมหาสมุทรนี้จะมีกระแสไหลไปโดยรอบในทิศทางตามเข็มนาฬิกาปรากฏเดนชัดมากในแนวละติจูด 50 - 60 องศาใต กระแสน้ําจากแถบนี้จะเปนกระแสน้ําเย็นทั้งหมด 5. ชายฝงทะเล

5.1 ลักษณะและองคประกอบของชายฝงทะเล ชายฝงทะเล (Coast) เปนเขตความกวางระหวางกลางนับจากแนวชายทะเลเขามาในสวนของแผนดิน ราชบัณฑิตยสถาน (2519) ใหความหมายของชายฝงทะเลไววา เปนแถบของแผนดินนับจากแนวชายทะเล (Shoreline) ( แนวชายทะเล หมายถึง แนวระดับใดระดับหนึ่งของน้ําทะเล ณ เวลาหนึ่ง อยูระหวางระดับน้ําทะเลขึ้นสูงสุด และลงต่ําสุด ) ขึ้นไปบนบกจนถึงบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอยางชัดเจน มีความกวางกําหนดไมแนนอน อาจหลายกิโลเมตรก็ได บริเวณชายฝงทะเลอาจติดกับหนาผาสูงริมทะเล (Sea Cliff) ก็ได ดังนั้นชายฝงทะเล (Cost) จึงหมายถึงแถบของแผนดินนับจากแนวชายทะเลขึ้นไปบนบก จนถึงบริเวณที่มีลักษณะภูมิประเทศเปลี่ยนแปลงอยางเดนชัด มีความกวางกําหนดไดไมแนนอน สวนบริเวณที่แผนดินอยูใกลเคียงกับแนวชายฝง (Coastline) เรียกวา ชายทะเล (Shoreline) แบงเปนดังนี้

Page 7: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

175

ชายทะเล (Shore) เปนเขตชายทะเลตั้งแตระดับน้ําลงต่ําสุด ขึ้นมาบนสวนชายหาดที่ถูกรบ กวนจากคลื่น ตามแนวระดับน้ําทะเลสูงสุด

ชายทะเลสวนใน (Backshore) เปนบริเวณระหวางแนวน้ําขึ้นสูงสุด ถึงตีนหนาผา ในกรณีที่ ไมมีชายทะเลสวนใน น้ําจะขึ้นไปถึงตีนหนาผา สวนที่เปนชายทะเลสวนในจะมีบริเวณที่เปนชายฝงเสมอ

สันทราย หรือสันหาด (Berm) เปนหาดทรายชวงบนที่น้ําทะเลขึ้นไมถึง เวนแตในเวลาที่มี พายุจัด จึงมีคล่ืนซัดเขามาถึง ลักษณะคลายที่ราบเปนชั้นอยูสูงกวาระดับน้ําทะเลและเปลี่ยนแปลงได เกิดจากดินหรือทรายที่พังลงจากขอบชายฝง หรือถูกคลื่นพัดพาเอาทรายมาทับถมกัน ลักษณะยาวขนานตลอดชายฝง

ชายทะเลสวนนอก (Foreshore) ไดแก บริเวณที่นับจากแนวน้ําลงต่ําสุด ถึงแนวน้ําขึ้นสูง สุด ชายทะเลสวนนี้จะอยูใตระดับน้ําทะเลเกือบตลอดเวลา

นอกชายฝง (Offshore) คือบริเวณตั้งแตแนวน้ําลงต่ําสุดออกไปในทะเล (รูปที่ 3)

ชายทะเลสวนใน ชายทะเลสวนนอก นอกชายฝง (Backshore) (Foreshore) (Offshore)

รูปที่ 3 แสดงลักษณะของชายฝงทะเล ที่มา : Tom L. Mcknight , 1990.

5.2 ประเภทของชายฝงทะเล ในทางภูมิศาสตรจะกําหนดชายฝงทะเล ตามลักษณะการกําเนิดและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นเปน 5 ประเภท ใหญๆ ดังนี้ 5.2.1 ชายฝงทะเลยุบจม (Submerged Shoreline) เปนชายฝงทะเลที่เกิดขึ้นจากการที่เปลือกโลกในบริเวณริมฝงทะเลยุบจมตัวลง หรือการที่น้ําทะเลยกระดับขึ้น ทําใหบริเวณที่เคยโผลพนระดับน้ําทะเลจมอยูใตผิดน้ํา ชายฝงทะเลประเภทนี้สวนใหญมีลักษณะภูมิประเทศเปนหนาผาชัน ไมคอยมีที่ราบชายฝงทะเล และแนวชายฝงทะเลมีลักษณะเวาแหวงมาก หากลักษณะภูมิประเทศเดิมเปนภูเขาเมื่อเกิดการยุบจมตัวมักกอใหเกิดเกาะตางๆ บริเวณชายฝงทะเลยุบตัวในประเทศไทย ไดแก แถบจังหวัดระนอง พังงา ภูเก็ต กระบี่ ตรัง และสตูล การยุบตัวของชายฝงทะเลบริเวณนี้มีผลทําใหน้ําทะเลไหลทวมเขามา เชน บริเวณอาวพังงา ซึ่งภายในมีเกาะขนาดเล็กเรียงรายอยูเปนจํานวนมาก ซึ่งเกาะเหลานี้คือภูเขาหินปูนที่โผลพนน้ําขึ้นมานั่นเอง

Page 8: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

176

5.2.2 ชายฝงทะเลยกตัว (Emerged Shoreline) เปนชายฝงทะเลที่เกิดจากการที่เปลือกโลกยกตัวขึ้น หรือน้ําทะเลมีการลดระดับลง ทําใหบริเวณที่เคยจมอยูใตระดับน้ําทะเลโผลพนผิวน้ําขึ้นมา ถาหากแผนดินเดิมที่เคยจมตัวอยูใตระดับน้ําทะเลเปนบริเวณที่มีตะกอน กรวด ทราย ตกทับถมกันมาเปนเวลานาน จะทําใหเกิดที่ราบชายฝงที่มีบริเวณกวางและมีแนวชายฝงเรียบตรงไมคอยเวาแหวงมาก ชายฝงทะเลลักษณะนี้พบไดทั่วไปในบริเวณภาคใตฝงตะวันออกของประเทศไทยตั้งแตจะงหวัดชุมพรลงมาถึงจังหวัดนราธิวาส ชายฝงทะเลยกตัวบางแหงอาจมีฝงชัน และมีลักษณะเปนภูเขา เนื่องมาจากลักษณะภูมิประเทศเดิมที่อยูใตทะเลมีความลาดชันมาก เชน ชายฝงทะเลภาคตะวันออกบริเวณอาวพัทยา อําเภอสัตหีบ และอําเภอศรีราชา จังหวัดชลบุรี 5.2.3 ชายฝงทะเลคงระดับ (Neutral Shoreline) หมายถึงชายฝงทะเลที่ไมมีการเปล่ียนแปลงใดๆ ระหวางระดับน้ําทะเลและบริเวณชายฝงของทวีป แตยังคงมีการทับถมของตะกอนตางๆ เกิดขึ้น ลักษณะชายฝงทะเลประเภทนี้ไดแก ชายฝงดินตะกอนรูปพัด ชายฝงดินดอนสามเหลี่ยม ชายฝงแบบภูเขาไฟ ชายฝงแนวหินปะการัง ชายฝงหินปะการังแนวขวางและชายฝงปะการังรูปวงแหวน 5.2.4 ชายฝงทะเลรอยเลื่อน (Fault Shoreline) เปนชายฝงทะเลที่เกิดจากการเลื่อนตัวของเปลือกโลกตามบริเวณชายฝงทะเล ถารอยเลื่อนมีแนวเลื่อนลงไปทางทะเลจะทําใหระดับของทะเลลึกลงไป หรือถารอยเลื่อนมีแนวเลื่อนลึกลงไปทางพื้นดิน จะทําใหน้ําทะเลไหลเขามาในบริเวณพื้นดิน 5.2.5 ชายฝงทะเลแบบผสม (Compounded Shoreline) เปนชายฝงทะเลที่เกิดจากหลายๆ ลักษณะที่กลาวมาแลวขางตน ชายฝงทะเลประเภทตางๆ เหลานี้ จะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาทั้งในรูปแบบของการกัดเซาะและการทับถม โดยมีตัวการที่สําคัญคือ คล่ืน ลม และกระแสน้ํา ชายฝงทะเลแบบผสมเปนลักษณะชายฝงที่มีการผสมผสานกันหลายแบบจนไมสามารถจําแนกเปนแบบใดแบบหนึ่งไดชัดเจนลงไปได อาจมีลักษณะรวมกันของชายฝงตั้งแตสองชนิดขึ้นไป ซึ่งเปนลักษณะแนวชายฝงสวนใหญบนโลกของเรา

6. การเคลื่อนไหวของน้ําทะเล การเคลื่อนไหวของน้ําทะเลสามารถแยกพิจารณาได 3 สวน ดังนี้

6.1 การเกิดคล่ืน (Wave) คล่ืนเกิดจากลม แผนดินไหว ภูเขาไฟระเบิด และจากการที่ลมพัดมากระทบกับผิวน้ํา

จะทําใหผิวน้ํานูนสูงขึ้นคลายสันเขาความสูงของคลื่นทําใหเราทราบถึงความแรงของลม เมื่อคล่ืนเคลื่อนตัวออกจากแหลงกําเนิดจะมีขนาดใหญขึ้นเนื่องจากมันรวมเอาคลื่นขนาดเล็กๆ เขาไปไวดวย เมื่อคล่ืนเคลื่อนที่เขากระทบฝงจะกระทบกับพื้นกอนทําใหคล่ืนมีความสูงมากขึ้นแนวดานหนาของคลื่นจะโคงขนานไปกับชายฝง เราเรียกวาการหักเหของคลื่น เมื่อใกลฝงมากขึ้น แรงเสียดทานของพื้นทะเลจะมีมากขึ้นทําใหผิวหนาของคลื่นแตก เราเรียกวา “คล่ืนหัวแตก” (Breaker) เราจะสังเกตเห็นไดเมื่อคล่ืนเคลื่อนที่เขามากระทบฝง น้ําจะแตกซาเปนฟองกลายเปนฟองคลื่นบนหาด สําหรับคล่ืนที่เกิดจากแผนดินไหว หรือภูเขาไฟระเบิด เราเรียกวา “ชูนามิส“(Tsunamis) มีความยาวของคลื่นประมาณ 100 - 200 กิโลเมตร แตมีความสูงเพียง 0.3 - 0.6 เมตร เมื่อเกิดคลื่นชนิดนี้ผูที่อยูบนเรือหรือชาวประมงจะไมสามารถสังเกตเห็นได ประกอบกับระยะเวลาในการเกิด

Page 9: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

177

การเขาหาฝงของน้ําทะเล การถอยกลับของน้ําทะเล

คล่ืนจะส้ันมาก คือ ประมาณ 10 – 30 วินาทีเทานั้น แตคล่ืนชนิดนี้จะมีความเร็วในการเคลื่อนที่สูงถึง 500 - 800 กิโลเมตรตอช่ัวโมง ดังนั้นเมื่อคล่ืนชูนามิส เคลื่อนที่เขาหาฝงจะทําใหระดับน้ําทะเลชายฝงสูงกวาสภาพปกติ 15 - 30 เมตร จึงสงผลใหเกิดน้ําทวมชายฝงทะเลอยางรุนแรง กอใหเกิดความเสียหายตอชีวิตและทรัพยสินเปนอันมาก

6.2 สวนประกอบของคลื่น คล่ืนประกอบดวยสวนของยอดคลื่น (Crest) คือจุดสูงสุดบนคลื่น สวนทองคลื่น (Trough)

คือ ระยะในแนวดิ่งจากยอดคลื่นถึงทองคลื่น และ ความสูงของคลื่น (Amplitude) คือระยะในแนวราบจากยอดคลื่น หรือจากทองคลื่นถึงอีกทองคลื่นหนึ่งตอเนื่องกัน (รูปที่ 4) สําหรับการเคลื่อนที่ของกระแสน้ําในคลื่นมีลักษณะการเคลื่อนที่แบบวงกลม เกิดทั้งบริเวณผิวน้ําและใตผิวน้ํา วงกลมของการเคลื่อนที่หมุนวนของกระแสน้ําจะเล็กลง เมื่อระดับความลึกเพิ่มขึ้น บริเวณน้ําตื้นทองคลื่นจะเคลื่อนที่กระทบพื้นดิน การเคลื่อนจะมีลักษณะเปนวงรี เมื่อคล่ืนเคลื่อนที่เขาหาฝง สวนบนของผิวน้ําของคลื่นยังเคลื่อนที่ดวยความเร็ว ขณะที่ทองคล่ืนมีแรงเสียดทานจากพื้นผิว คล่ืนจึงยกตัวสูงขึ้น มวนตัว และถลําไปขางหนา เกิดการฟาดตัวกับชายฝง กลายเปนคลื่นแตกฟอง เราเรียกวา "คล่ืนหัวแตก" (Breaker หรือ Surf) คล่ืนที่ซัดเขาหาฝงบนสภาพที่มีความลาดชันนอยเราเรียกวา "การเขาหาฝงของน้ําทะเล" (Swash) เมื่อคล่ืนซัดกระทบหาดแลวสลายตัวไปในที่สุด เราเรียกวา "การถอยกลับของน้ําทะเล" (Backwash) คล่ืนหัวแตกโดยทั่วไปแบงออกเปน 3 ชนิด ดังนี้ ยอดคลื่น ความสูงคลื่น ระดับน้ําทะเล ทองคลื่น คลื่นหัวแตก การเขาหาฝงของน้ําทะเล การเคลื่อนที่ของกระแสน้ําในคลื่นแบบวงกลม คลื่นหัวแตก

รูปที่ 4 แสดงสวนประกอบและการกระทําของคลื่นตอชายฝงทะเล

ที่มา : Tom L. Mcknight , 1990.

Page 10: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

178

6.2.1 คล่ืนหัวแตกยอดกระจาย (Spilling Breaker) ยอดคลื่นแตกกระจายเปนฟอง และเปนระรอกคลื่นเล็กๆ ตอเนื่องกันไป เกิดบริเวณหาดที่มีความลาดชันนอย 6.2.2 คล่ืนหัวแตกมวนตัว (Plunging Breaker) คล่ืนที่มียอดคลื่นมวนตัวเขาหาชายหาด และกระแทกกับชายหาดแตกกระจายเปนฟอง เกิดขึ้นในบริเวณที่ชายหาดมีความลาดชันนอย

6.2.3 คล่ืนหัวแตกใกลฝง (Surging Breaker) เกิดบริเวณหาดทรายที่มีความลาดชันมาก ระลอกคลื่นจะสะสมรวมกันและมียอดเออสูงขึ้น แตยอดคลื่นจะไมมวนตัว และไมแตกกระจายเปนฟองจนกวาจะเขาถึงหาดจึงจะโถมตัวกระแทกแตกกระจายเปนฟอง

คล่ืนมีผลตอกระแสน้ําชายฝง (Longshore Currents) แบงเปน 2 ลักษณะ คือ เกิดเปน กระแสน้ําชายฝงจากคลื่นซัดหาชายฝงในแนวเฉียง โดยจะเกิดกระแสน้ํามีแนวขนานกับชายฝงและพัดพาเอากรวดทราย ครูดไถไปตามทองน้ํา ชวยในการพัดพาตะกอนสูทะเลลึกไดสวนหนึ่ง นอกจากนั้นยังเกิดกระแสน้ําจากคลื่นซัดหาด (Rip Currents) เกิดจากเมื่อคล่ืนซัดเขาหาฝง จะเกิดกระแสน้ําไหลออกจากฝงเรียกวา "กระแสน้ําจากคลื่นซัดหาด" กระแสน้ํานี้จะไหลไปตามรองแคบ ผานแนวสันดอนชายฝงสูทองทะเล และจะออนตัวลดความเร็วลงตามระดับความลึกตอไป 7. กษัยการของคลื่น คล่ืนนับเปนตัวการที่สําคัญตัวหนึ่งที่ทําใหเกิดกษัยการบริเวณพื้นที่ชายฝงทะเลที่เกิดขึ้นอยางตอเนื่องตลอดเวลา แตความรุนแรงจะแตกตางกันในแตละวัน นับวาคลื่นเปนตัวการที่สําคัญที่สุดที่ทําใหชายฝงทะเลเกิดการเปลี่ยนแปลง ในชวงที่คล่ืนมีความรุนแรงในการกระทําลดลงอันเนื่องมาจากเปนชวงที่ลมสงบก็จะชวยเสริมสรางหาดทรายและการทับถมอยางตอเนื่องตลอดเวลา ในทางตรงกันขามถาเปนชวงที่เกิดลมแรงและความรุนแรงของคลื่นเพิ่มขึ้นจะสงผลใหกษัยการของคลื่นกระทําโดยตรงตอภูมิประเทศชายฝงคลื่นจะกัดเซาะชายฝงกวาดตะกอนที่ทับถมลงสูทะเลลึกนอกชายฝงตอไป อยางไรก็ตามปรากฏการณน้ําขึ้นน้ําลง (Tide) นับวามีผลตอแนวชายฝงโดยตรงแตไมมากนักเมื่อเปรียบเทียบกับคล่ืน น้ําขึ้นและน้ําลงจะมีผลกระทบตอแนวชายฝงที่อยูระหวางความสูงของระดับน้ําทะเลต่ําสุด และสูงสุด สวนกระแสน้ํานั้นจะชวยพัดพาเอาตะกอนที่เปนเศษหินดินทรายออกจากชายฝงไปทับถมอยูบริเวณใกล ๆ กับชายฝงนั่นเอง

7.1. กษัยการของคลื่น กระบวนการกระทําของคลื่นกอใหเกิดการกัดเซาะและการทับถมของชายฝงทะเล กษัยการที่เกิดจากน้ําทะเลที่กระทําตอชายฝงมีอยู 3 รูปแบบ ดังนี้ 7.1.1 การครูดไถ (Corrosion) เกิดจากการที่คล่ืนพัดพาเอากรวดทราย หินชนิดตาง ๆ ไปดวย และเมื่อคล่ืนซัดเขาสูชายฝงจะเกิดการกัดเซาะชายฝงใหผุกรอนโดยกรวดทรายหินเหลานี้จะครูดไถใหชายฝงผุกรอนพังทลาย และถูกกระแสน้ําพัดพามาทับถมเปนหาดทราย

Page 11: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

179

7.1.2 การสึกกรอน (Attrition) เกิดจากการที่คล่ืนเคลื่อนที่เขาสูชายฝงอยางตอเนื่องตลอดเวลา ทําใหตะกอนบริเวณชายหาดถูกพัดพาไปขัดสีกับหินหนาผาชายฝง ขณะเดียวกันตะกอนดวยกันก็จะขัดสีกันเอง เชน หินตาง ๆ ตะกอนที่เกิดจากการสึกกรอนเหลานี้ ตอมาจะถูกกระแสน้ําชายฝงพัดพามาทับถมเปนหาดทรายชายฝงตอไป 7.1.3 การละลาย (Solvent Action) การละลายจะเกิดไดดีบริเวณโครงสรางของชายฝงที่เปนหินปูน โดยการกระทําของน้ําทะเลจะชวยทําใหสารแคลเซียมคารบอเนตในหินปูนเกิดการเปลี่ยนแปลงทําใหมวลหินมีการผุพังสลายตัว แตกออกมา อยางไรก็ตามอัตราการกษัยการที่เกิดขึ้นจากการกระทําของคลื่นและน้ําทะเลจะเกิดมากหรือนอยจะขึ้นอยูกับลักษณะโครงสรางของมวลหินที่ยื่นออกไปในทะเล ความรุนแรงของคลื่น กระแสน้ํา น้ําขึ้นน้ําลง รวมทั้งการกระทําของมนุษย และการเคลื่อนตัวของเปลือกโลก การระเบิดของภูเขาไฟ ลวนแตเปนปจจัยที่มีผลตอการกระทําของน้ําทะเลโดยคลื่นที่มีตอลักษณะภูมิประเทศชายฝงทะเลทั้งส้ิน 8. ลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากกษัยการของน้ําทะเล กษัยการของน้ําทะเล หมายถึง การเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิประเทศแถบชายฝงอันเนื่องมาจากการกระทําของคลื่น การเกิดน้ําขึ้นน้ําลง และกระแสน้ํา ทําใหเกิดลักษณะภูมิประเทศชายฝงที่แตกตางกันออกไป สองประเภทใหญๆ ไดแก

8.1 ลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากการกัดเซาะ เปนลักษณะภูมิประเทศที่เกิดบริเวณชายฝงทะเลน้ําลึก ลักษณะชายฝงลาดชันลงสูทอง

ทะเล ทําใหเกิดการกัดเซาะของคลื่นและกระแสน้ําอยางรุนแรง เกิดเปนลักษณะภูมิประเทศตางๆ เชน หนาผาชันริมทะเล (Sea Cliff) เวาทะเล (Sea Notch) ถาทะเล (Sea Cave) เกาะทะลุ (Sea Arch) สะพานหินธรรมชาติ (Sea Arch) และชวากทะเล (Estuary) เปนตน

รูปที่ 5 แสดงลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากการกัดเซาะ

ที่มา : Robert W. Christopherson , 1994.

Page 12: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

180

8.1.1 แหลมและอาว (Cape and Bay) เกิดจากโครงสรางหินบริเวณชายฝงมีความแตกตางกัน ทําใหการผุพังชาเร็วตางๆ

กัน ลักษณะของชายฝงจะเวาแหวงไมสมํ่าเสมอกัน บางสวนยื่นออกไปในทะเล เรียกวา แหลม (Cape) เปนสวนของโครงสรางหินที่แข็งแรงกวาและทนตอการกระทําของคลื่นและกระแสน้ําชายฝง สวนที่มีการพังทลายมากเปนหินที่มีความออนตัวกวาจึงถูกคลื่นและกระแสน้ํากัดเซาะจนเวาลึกเขาไปกลายเปนอาว (Bay)

รูปที่ 6 แหลมพรหมเทพ จังหวัดภูเก็ต ที่มา : จากการสํารวจ

8.1.2 หนาผาสูงชัน (Sea Cliff) มักเกิดบริเวณหนาผาสูงชันริมฝงที่หันหนาออกไปในทะเล เกิดจากการกัดเซาะ

ของคลื่นทําใหเกิดลักษณะภูมิประเทศเปนหนาผาสูงชันบริเวณชายฝง และมีระดับน้ําทะเลบริเวณฐานของหนาผานั้นๆ โดยคลื่นจะเซาะกรอนบริเวณฐานของหินแข็ง และเกิดการพังทลายของหินเหนือระดับน้ําทะเล อันเนื่องมาจากการรับน้ําหนัก หรือเกิดการลื่นไถลลงสูทะเลตามแนวโครงสรางหินทําใหดานติดทะเลมีความลาดชันสูงเปนหนาผา นอกจากนั้น อาจเกิดจากการจมตัวของสภาพชายฝงทะเล หรือการเพิ่มระดับความสูงของน้ําทะเลก็ได

รูปที่ 7 แสดงลักษณะภูมิประเทศหนาผาสู ชันริมทะเล

ที่มา : Charles C. Plummer , 1991.

Page 13: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

181

8.1.3 รอยน้ําเซาะหิน (Sea Notch) เรียกอีกอยางหนึ่งวา “เวาทะเล” พบตามชายฝงทะเล เปนลักษณะภูมิประเทศที่

เกิดตอเนื่องจากการเกิดหนาผาสูงชันโดยมีลักษณะเปนรอยเวาตามแนวยาว เกิดบริเวณฐานของหนาผาชันริมทะเลตอนที่อยูในแนวระดับของการเกิดน้ําขึ้นและน้ําลง เกิดจากการกัดเซาะโดยคลื่นและการละลายของหินปูน กระทําใหบริเวณฐานลางของหนาผาสูงชันเวาเขาไปขางใน เมื่อรอยน้ําเซาะหินขยายตัวกวางจนหินชวงบนรับน้ําหนักไมไหวก็จะหักพังลงมากลายเปนหนาผาสูงชันริมทะเล (Sea Cliff) ซึ่งรอยน้ําเซาะหินนี้จะเปนหลักฐานแสดงใหเห็นระดับน้ําทะเลที่มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในอดีตได รูปที่ 8 แสดงรอยน้ําเซาะหินตอนที่อยูใน แนวระดับของน้ําขึ้นน้ําลง ที่มา : จากการสํารวจ

8.1.4 ถํ้าทะเล (Sea Cave) ถ้ําทะเลเกิดจากการกัดเซาะของคลื่นที่หินผาสูงชันชายฝง โดยน้ําทะเลจะกัดเซาะ

ใหหินเกิดการผุพัง ทําใหเกิดเปนชองหรือโพรงลึกเขาไป ในระยะแรกอาจเปนเพียงชองหรือโพรงขนาดเล็ก (Grotto) แตเมื่อเวลาผานไปนานเขาก็จะกลายเปนชองหรือโพรงขนาดใหญมากขึ้น (Cave) บางครั้งโพรงนั้นทะลุออกไปอีกดานหนึ่งทําใหเกิดลักษณะที่เรียกวา “ถ้ําลอด” หรือ “เกาะทะลุ” ถาเกิดบริเวณภูมิประเทศที่เปนหินปูนก็จะเกิดเปนโพรงถ้ําขนาดใหญไดงายขึ้น เนื่องจากมีการกระทําของน้ําฝนและน้ําใตดินเขามาเกี่ยวของ ปากถ้ํามักอยูบริเวณที่มีน้ําขึ้นลงสูงสุดและต่ําสุด เนื่องจากเปนชวงเวลาที่คล่ืนสามารถกัดเซาะหินชายฝงได แตในกรณีที่มีการเปลี่ยนแปลงระดับน้ําทะเลอันเนื่องมาจากการเคลื่อนไหวของเปลือกโลกอาจทําใหบริเวณปากทําอยูสูง หรือต่ํากวาระดับน้ําทะเลปจจุบันก็ไดเชนกัน

รูปที่ 9 แสดงลักษณะภูมิประเทศถ้ําทะเล บริเวณอาวพังงา จังหวัดพังงา

ที่มา : จากการสํารวจ. 8.1.5 พานหินธรรมชาติ (Sea Arch)

Page 14: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

182

เปนโพรงหินชายฝงทะเลที่ทะลุออกทางทะเลทั้งสองดาน คลายคลึงกับถ้ําลอดที่ เกิดขึ้นบนเกาะ แตสะพานหินธรรมชาติมักเกิดบริเวณหัวแหลม ซึ่งมีการกัดเซาะทั้งสองดานพรอมกันจนโพรงหินทะลุถึงกัน เกิดจากคลื่นและน้ําขึ้นน้ําลงที่กระทําตอหินชายฝง หรือเกาะใหเกิดเปนรูปโคงงอคลายซุมประตู โดยหินสวนที่เหลืออยูเหนือโพรงจะมีลักษณะคลายสะพาน ตัวอยางของสะพานหินธรรมชาติที่สวนงามมากแหงหนึ่งของประเทศไทยคือที่เกาะไข อุทยานแหงชาติเกาะตะรุเตา จังหวัดสตูล

รูปที่ 10 แสดงลักษณะภูมิประเทศสะพานหินธรรมชาติ เกาะไข อุทยานแหงชาติตะรุเตา จังหวัดสตูล. ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวด- ลอม กระทรวงวิทยาศาสตรฯ , 2538.

8.1.6 เกาะหินชะลูด (Stack)

หรือเรียกอีกอยางหนึ่งวาเกาะหินโดง หมายถึงเกาะโขดหินขนาดเล็กที่แยกออก จากผืนแผนดินใหญ หรือเกาะที่อยูใกลเคียง เกิดจากสวนของหินแข็งบริเวณชายฝงเดิมที่ยื่นออกไปในทะเลถูกกษัยการจากคลื่นเซาะทั้งสองขางจนสวนปลายแหลมที่ตัดออกเปนเกาะ ทําใหชายฝงพังทะลายถอยรนเขาไปในภาคพื้นดินมากยิ่งขึ้น สวนหินแข็งเหลานี้ถูกตัดขาดออกจากชายฝง เกิดเปน “เกาะหินชะลูด” หรือ “เกาะหินโดง” เชน เขาตะปูในเขตอุทยานแหงชาติอาวพังงา เกาะหินโดงยังคงถูกกษัยการจากคลื่นอยางตอเนื่องจนสามารถพังทลายลงไปไดในที่สุด ซึ่งกลายเปนฐานของเกาะจมอยูใตทะเล เรียก “ตอหิน” (Stump) รูปที่ 11 แสดงลักษณะภูมิประเทศเกาะ

หินชะลูด บริเวณอุทยานแหงชาติอาวพังงา จังหวัดพังงา

ที่มา : จากการสํารวจ

Page 15: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

183

8.2 ลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากการตกตะกอนทับถม เกิดจากการทับถมของตะกอนทะเลตามแนวชายฝงทะเล มักเกิดจากการกระทําของคลื่น กระแสคลื่นและการเกิดน้ําขึ้นน้ําลง เกิดในบริเวณชายฝงทะเลที่มีน้ําตื้น ลักษณะชายฝงทะเลราบเรียบและลาดเทลงไปสูกนทะเล ทําใหความเร็วของคลื่นและกระแสน้ําลดลงเมื่อเคลื่อนตัวเขาสูชายฝงทะเลการกระทําจึงเปนไปในรูปแบบของการตกตะกอนทับถมเกิดเปนภูมิประเทศลักษณะตางๆ เชน หาดทราย (Beach) สันทราย (Berm) สันดอน (Bar) ทะเลสาบที่มีน้ําไหลเขาออกได (Lagoon) เปนตน หาดทราย สันดอนเชื่อมเกาะ สันดอนปากอาว (Beach) (Tombolo) (Bay Barrier) สันดอนจะงอยปากอาว ทะเลสาบน้ําเค็ม (Barrier Spit) (Lagoon)

รูปที่ 12 แสดงลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากการตกตะกอนทับถม ที่มา : Robert W. Christopherson , 1994.

8.2.1 หาดทราย (Beach)

เกิดจากการพัดพาตะกอนจําพวก กรวด หิน ดิน และทรายเขามาทับถมตามชาย ฝงลักษณะเปนแถบยาวไปตามชายฝงทะเล การทับถมที่เกิดขึ้นตามแนวชายฝงทะเลนี้เกิดจากกระแสคลื่นที่พัดเขาสูชายฝง มีแนวเฉียงไปจากแนวชายฝงทะเลเล็กนอย ดังนั้นน้ําทะเลที่คล่ืนผลักดันขึ้นไปเวลาถอยกลับมาจึงมีแนวเฉียงไปจากแนวชายฝงเชนกัน เราเรียกวา “กระแสน้ําชายฝง” (Longshore Drift) กระแสน้ําชายฝงจะมีสวนชวยในการทับถมของตะกอนที่ถูกพัดพามากับคล่ืนเขามาทับถมตามชายฝงจนทําใหพื้นที่ของชายหาดมีการขยายกวางออกไปเปนหาดทรายงอก (Off shore) และยังชวยปรับระดับของชายฝงทะเลโดยเมื่อคล่ืนเคลื่อนที่เขาไปปะทะกับชายฝงทะเล ตะกอนที่มีขนาดใหญจะมีการตกทับถมอยูดานบนสุด สวนตะกอนขนาด

Page 16: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

184

เล็กจะแพรกระจายลงมาทับถมยังสวนลางของชายหาด จากการศึกษาลักษณะของหาดทรายสามารถจําแนกได 3 ประเภท ดังนี้ ชายหาดหนากวาง ลักษณะเปนหาดเรียบ มีทั้งหาดสวนหลัง (Back Shore) และหาดสวนหนา (Fore Shore) ลักษณะชายหาดมีความลาดชันนอย คล่ืนมักจะซัดเขามาไมถึงชายหาดสวนหลัง ชายหาดลักษณะนี้มีบริเวณกวางขวาง เหมาะแกการเปนสถานที่พักตากอากาศและเลนน้ําบริเวณชายหาด เชน ชายหาดชะอํา จังหวัดเพชรบุรี เปนตน ชายหาดหนาแคบ ลักษณะชายหาดเรียบตั้งแตขอบชายฝงทะเลไปจนถึงแนวเกิดน้ําขึ้นน้ําลง มีแตชายหาดสวนหนา (Fore Shore) ไมมีชายหาดสวนหลัง (Back Shore) ชายหาดมีความลาดชันไมมาก ชายหาดสองชั้น เปนชายหาดที่มีความราบเรียบนอย มีทั้งชายหาดสวนหลัง (Back Shore) และชายหาดสวนหนา (Fore Shore) และมีที่ราบเปนชานยื่นออกไปในทะเลเปนชั้นๆ บางชั้นจะอยูเหนือแนวน้ําลงเต็มที่ ลักษณะชายหาดมีความลาดชันมาก ไมเหมาะสําหรับเลนน้ําทะเล นอกจากนั้นชายหาดแตละแหงยังมีการตกทับถมของวัตถุแตกตางกันออกไป ดังนี้

ชายหาดหิน หรือหาดกรวด (Shingle Beach) พื้นผิวชายหาดประกอบดวย หินที่ตกทับถมและถูกคลื่นพัดพาเสียดสีกันจนหินมีกอนกลมมน เชน ที่เกาะหินงาม อุทยานแหงชาติเกาะตะรุเตา จังหวัดสตูล ชายหาดทราย (Sand Beach) มักพบอยูในพื้นที่ซึ่งมีหินเปลือกโลกเปนหินทรายหรือหินแกรนิต โดยเฉพาะอยางยิ่งหินแกรนิต เมื่อสลายตัวจะใหทรายเม็ดกลมมน มีสีขาวทําใหเกิดหาดทรายที่สวยงาม เชนหาดตางๆ ในจังหวัดภูเก็ต ชายหาดชะอํา จังหวัดเพชรบุรี ชายหาดหัวหิน จังหวัดประจวบคีรีขันธ และชายหาดสมิหรา อําเภอเมือง จังหวัดสงขลา เปนตน ชายหาดโคลน (Mud Flat) มักพบอยูบริเวณปากแมน้ําสายใหญๆ ที่มีโคลนตะกอนที่เกิดจากแมน้ําพัดพามาเปนจํานวนมาก มีลักษณะเปนลานปริ่มน้ํา เวลาน้ําขึ้นน้ําจะทวมมิดลาน เวลาน้ําลงจึงจะเห็นลานดังกลาว เชน บริเวณพื้นที่ดอนหอยหลอด ปากแมน้ําแมกลอง จังหวัดสมุทรสงคราม ถาหาดโคลนมีขนาดใหญและมีตะกอนสะสมมากจนโผลพนระดับน้ําทะเลขึ้นมาเรียกวา ที่ลุมชายเลน มีพืชบางชนิดพบมาก เชน แสม โกงกาง จึงมักเรียกวา ปาชายเลน หรือ ปาเลนน้ําเค็ม

8.2.2 สันดอน (Bar) หมายถึงพืดสันทรายหรือตะกอนอื่นๆ ที่กระแสน้ําพัดพามาตกทับถมสะสมไว ตะกอนดังกลาวมาจากการครูดไถตามหนาผาสูงชันบริเวณชายฝงทะเล หรือจากดินดอนสามเหลี่ยมปากแมน้ํา จะถูกกระแสน้ําชายฝงพัดพาไปทับถมยังบริเวณที่มีคล่ืนลมสงบ จนเกิดเปนสันหรือพืดยื่นขวางหรือปดปากน้ํา ทางเขาทาเรือ หรือปากอาว ซึ่งเปนแนวเดียวกันกับชายฝงที่เปนปากอาว ทําใหเกิดสันดอนรูปแบบตางๆ ดังนี้ (รูปที่ 12)

Page 17: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

185

สันดอนปากอาว (Bay Barrier) เปนสันดอนที่เกิดจากตะกอนตกทับถมอยูในบริเวณปากอาว สันดอนจะงอยปากอาว (Barrier Split) เปนสันดอนที่เกิดจากการตกตะกอนทับถมเปนแนวยาวอยูใกลปากอาว ปลายดานหนึ่งติดกับชายฝง อีกดานหนึ่งยื่นขวางปากอาว ตอนปลายจะงอโคงเปนจะงอยตามอิทธิพลของกระแสน้ําและคลื่น สันดอนจะงอยปากอาวที่พบในประเทศไทยไดแก สันดอนจะงอยปากอาวบริเวณแหลมตะลุมพุก จังหวัดนครศรีธรรมราช ที่เกิดจากการกระทําของคลื่นและกระแสน้ําพัดพาตะกอนมาตกทับถมกันเกิดเปนสันดอนงอกออกมาเปนแนวยาวเรียกวา “สันดอนจะงอยรูปเขี้ยว” สันดอนเชื่อมเกาะ (Tombolo) เปนสันดอนที่เกิดจากกระแสน้ําและคล่ืนพัดพาเอาตะกอนมาตกทับถมกันจนกลายเปนแนวยาวยื่นออกจากชายฝงทะเลออกไปเชื่อมเกาะขนาดเล็กในทะเล 8.2.3 ทะเลสาบน้ําเค็ม (Lagoon) เกิดขึ้นไดทั้งในทะเลและแนวชายฝงทะเล สวนที่เกิดในทะเลเรียกวา “ทะเลสาบน้ําเค็มในทะเล” เกิดจากการปดกั้นของปะการัง โดยมากเปนรูปวงกลม มีทางน้ําแคบๆ ไหลผานเขาออกได สวนที่เกิดบริเวณชายฝงทะเลเรียกวา “ทะเลสาบน้ําเค็มชายฝงทะเล” เกิดจากการปดกั้นของสันดอนบริเวณปากอาวแตยังมีทางออก ใหน้ําไหลผานได เกิดจากการที่คล่ืนและกระแสน้ําพัดพาเอาตะกอนมาตกทับถมเปนสันดอนงอกออกมาปดลอมบริเวณที่เปนอาวอยูเดิม ทําใหเกิดเปนพื้นที่ภายในแผนดิน เชน บริเวณทะเลสาบสงขลา ที่เกิดจากการงอกของสันดอนมาปดลอมอาวเดิม สันทรายที่งอกยื่นยาวมาปดกั้นทะเลสาบสงขลามีความยาวจากทิศเหนือไปยังทิศใตเปนระยะทาง 100 กิโลเมตร 8.2.4 สันทราย หรือสันหาด (Berm)

ลักษณะเปนเนินทรายแนวยาวขนานไปกับชายฝงทะเล แนวการวางตัวขวางทิศ ทางลม ความสูงเทาๆ กันตลอดแนว และระหวางสันเนินทรายสลับดวยที่ลุมต่ํา สันทรายในพื้นที่ชายทะเลของประเทศไทยเกิดจากการกระทําของน้ําทะเลในระยะเวลาสั้นๆ ที่พัดพาทรายมาตกทับถมบริเวณชายฝงทะเล ประกอบกับมีปริมาณทรายมากซึ่งเกิดจากการตกทับถมกันอยางรวดเร็ว เปนแนวสันทรายทอดยาวขนานชายฝง ดานบนของสันทรายอาจมีสวนของตะกอนที่เกิดจากการพัดพามาทับถมกันโดยลมบาง

รูปที่ 13 แสดงแนวสันทราย ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวด- ลอม กระทรวงวิทยาศาสตรฯ , 2538.

Page 18: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

186

8.2.5 ที่ราบลุมชายเลนและพรุน้ําเค็ม (Salt Marsh) เกิดจากการที่กระแสน้ําขึ้นและกระแสน้ําลงพัดเอาตะกอนละเอียดที่เปนพวกทราย

ทรายแปง และดินเหนียวไปปะปนกับกระแสน้ําในรูปของตะกอนแขวนลอย โดยตะกอนเหลานี้จะเกิดจากการกษัยการของน้ําขึ้นน้ําลง เมื่อมีน้ําจืดไหลลงมาผสมจะชวยเรงใหตะกอนเหลานั้นรวมตัวกันเปนกอนใหญและตกจมลงในบริเวณพื้นลางของอาวหรือปากแมน้ํา อันเปนผลทําใหอาวหรือปากแมน้ําตื้นเขินลง นอกจากนั้นตะกอนดังกลาวยังมีอินทรียวัตถุปะปนอยูเปนจํานวนมาก จนเกิดเปน “ที่ราบลุมชายเลน” (Mudflat) หรือที่ลุมราบน้ําขึ้นถึง (Tidal Marsh) บริเวณดังกลาวในชวงเวลาน้ําขึ้นน้ําทะเลจะไหลบาขึ้นมาทวม แตระดับน้ําจะลึกไมมากนัก และมีพืชน้ําเค็มเจริญเติบโต พืชเหลานี้จะมีสวนชวยในการดักจับตะกอนที่กระแสน้ําพัดพามา ซึ่งจะทําใหระดับของที่ลุมราบชายเลนสูงขึ้นเทากับระดับน้ําทะเลที่ขึ้นสูงสุดในบริเวณนั้น และตอมากลายเปนพรุน้ําเค็ม (Salt Marsh)

รูปที่ 14 แสดงสภาพภูมิทัศนของพรุน้ําเค็ม และพืชพรรณ ที่มา : สํานักงานนโยบายและแผนสิ่งแวดลอม กระทรวงวิทยาศาสตรฯ , 2538.

Page 19: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

187

9. พืดหินปะการัง 9.1 ทฤษฎีที่เกี่ยวของกับการกําเนิดพืดหินปะการัง 9.1.1 ทฤษฎีการทรุดตัว (Subsidence Theory)

โดย Charles Darwin ป ค.ศ.1842 ตามทฤษฎีไดสันนิษฐานวา เกาะเล็กๆ ที่เกิด จากภูเขาไฟจะคอยๆ ทรุดตัวลงอยางชาๆ เนื่องมาจากการแปรโครงสรางของเปลือกโลก ดังรูป การทรุดตัวลงอยางชาๆ ของเกาะเล็กๆ จากภูเขาไฟจะทําใหแนวพืดหินปะการังที่กอตัวขึ้นอยูตามขอบของเกาะจะคอยทรุดตัวตามไปดวยอยางชาๆ จากปรากฎการณดังกลาวแนวปะการังจะพยายามเสริมสรางแนวเกาะใหสูงขึ้นมาเรื่อย ๆ ในที่สุด สวนที่เปนเกาะภูเขาไฟจะจมลงสูใตน้ํา เหลือไวแตแนวพืดหินปะการังที่มีการกอตัวขึ้นและสวนที่เปนบริเวณเกาะเดิมจะกลายเปนทะเลสาบน้ําเค็ม จะสังเกตไดวาการเสริมสรางความสูงของแนวพืดหินปะการังจะกระทําไดเพียงเทากับระดับน้ําทะเลเทานั้น ซึ่งเปนขอกําหนดตามธรรมชาติของและสภาพภูมิศาสตร

เกาะภูเขาไฟ แนวขอบปะการัง เทือกหินปะการังใกลฝงทะเล หมูเกาะหินปะการัง

(Barrier) (Atoll)

รูปที่ 15 แสดงทฤษฎีการทรุดตัว

ที่มา : Robert W. Christopherson, 1995.

9.1.2 ทฤษฎีการควบคุมธารน้ําแข็ง (Glacial Control Theory) โดย R.A. Daly ป ค.ศ.1910 ทฤษฎีนี้ไดอางถึงหลักฐานการคนพบซากปะการังใน

บริเวณทองทะเลลึกเกินกวาที่ปะการังจะดํารงชีวิตอยูไดที่เปนเชนนี้เนื่องมาจากน้ําทะเลเคยลดระดับต่ําลงไป อันเนื่องมาจากการถอยรนของธารน้ําแข็งแถบขั้วโลกใน ยุคควาเตอรนารี เมื่อประมาณ 0.01 ลานปที่ผานมา โดยสรุปเปนหลักอางอิงคือ น้ําในเขตรอนสมัยดังกลาวมีอุณหภูมิต่ํากวาปจจุบันจึงทําใหปะการังไมสามารถดํารงชีวิตอยูได ประกอบกับหินโสโครก และเกาะทั้งหลายในสมัยกอนยุคน้ําแข็งจะลดระดับความสูงลงมาจนเทากับระดับน้ําทะเล อันเนื่องมาจากกระบวนการกษัยการ ดังนั้นที่ราบลาดทวีปจึงเปนฐานสําคัญในการจับเกาะของปะการังเพื่อการเจริญเติบโตและสรางหินปะการังขึ้นมาตอมาเมื่อระดับน้ําทะเลสูงขึ้นการละลายของธารน้ําแข็งทั้งในทะเลสาบและบนภาคพื้นทวีปพรอมๆ กันกับการเจริญเติบโตของปะการัง จึงทําใหพืดหินปะการังเพิ่มระดับความสูงขึ้นมาเทากับระดับน้ําทะเลที่เพิ่มขึ้นตลอดเวลา ในที่สุดการพัฒนาพืดหินปะการังจะถึงสภาวะสูงสุดดังที่พบเห็นอยูในปจจุบัน (Leong, 1983)

Page 20: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

188

อยางไรก็ตามจากทั้งสองทฤษฎีที่กลาวมาแลว ประกอบกับหลักฐานตางๆ ที่นักวิทยาศาสตรไดศึกษาเพิ่มเติม โดยการขุดเจาะลงไปในชั้นหินปูนที่ปรากฏอยูในพืดหินปะการัง พบวาการอธิบายตามหลักทฤษฎีของ R.A. Daly ที่อธิบายถึงการเปลี่ยนแปลงของระดับน้ําทะเล และตอมาเกิดกษัยการขึ้นกับเกาะที่เปนฐานของพืดหินปะการังนั้นพบวาเปนส่ิงที่เชื่อถือได ทั้งนี้เพราะการเจาะลงไปถึงฐานลางสุดของพืดหินปะการังจะพบหินบะซอลตที่เปนหินแข็งรองรับอยู แสดงใหเห็นวาเปลือกโลกบริเวณดังกลาวมีการทรุดตัวลงจริงตามหลักทฤษฏีของ Charles Darwin ที่อางไว ดังนั้นทั้งสองทฤษฎีจึงมีเหตุผลและน้ําหนักสนับสนุนเพียงพอถึงกระบวนการเกิดพืดหินปะการังไดเปนอยางดี 9.2 สภาพภูมิศาสตรที่เหมาะสมกับการเกิดปะการัง จากการศึกษาของนักวิทยาศาสตรพบวาพืดหินปะการังเกิดจากปะการังที่เปนสัตวน้ําเค็มขนาดเล็กหรือสาหรายบางชนิดที่สามารถสรางหินปูนขึ้นมาได หินปูนที่สะสมอยูตามพืดหินปะการังนี้จะเปนโครงรางของปะการังหรือสาหรายบางชนิดที่ตายแลวนั่นเอง โดยสวนมากเรามักพบการกระจายตัวของพืดหินปะการังตามบริเวณตางๆ มีปจจัยหลายประการที่เขามาเกี่ยวของ โดยเรามักพบพืดหินปะการังบริเวณเขต อบอุนในมหาสมุทร นอกจากนั้นเราพบวาความแตกตางของอุณหภูมิน้ําในมหาสมุทรระหวางชายฝงตะวันตกและชายฝงตะวันออกมีผลตอการกอตัวของพืดหินปะการัง โดยพบวาเรามักพบพืดหินปะการังบริเวณชายฝงตะวันออกมากกวา คือ บริเวณ 0 - 160 องศาตะวันออก เนื่องจากสภาพความเหมาะสมของอุณหภูมิน้ําทะเลที่อุนกวาชายฝงตะวันตก โดยเรามักพบแนวพืดหินปะการังบริเวณละติจูดที่ 30 องศาเหนือ ถึง 30 องศาใต ที่ระดับความลึก 10 - 55 เมตร ความเค็มของน้ําทะเลคิดเปนรอยละ 27 - 40 ณ อุณหภูมิ 18 - 29 องศาเซลเซียส นอกจากนั้นสภาพน้ําจะตองใสปราศจากตะกอนดวย

รูปที่ 16 แสดงแนวการกระจายตัวของพืดหินปะการัง ที่มา : Tom L. Mcknight , 1990.

Page 21: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

189

จากปจจัยดังกลาวเราจึงสามารถสรุปเงื่อนไขภายใตสภาพภูมิศาสตรที่เหมาะสําหรับการเกิดพืดหิน ปะการังประกอบดวย ความใสของน้ําทะเล อุณหภูมิของน้ําทะเลควรอยูระหวาง 18 – 29 องศาเซลเซียส ซึ่งมักอยูในเขตรอน หรือมีขอยกเวนสําหรับบริเวณที่มีกระแสน้ําอุนไหลผาน และระดับความลึกที่เหมาะสมคือไมเกิน 55 เมตร เนื่องจากการสังเคราะหแสงและการอยูรอดของสาหราย นอกจากนั้นบริเวณชายฝงจะตองไมรุนแรงมาก เนื่องจากมีผลตอปริมาณออกซิเจนและความใสสะอาดของน้ํา และควรมีปริมาณจุลินทรียขนาดเล็กเพียงพอที่จะเปนอาหารของปะการังดวย 9.3 ชนิดของพืดหินปะการัง โดยทั่วไปแลวพืดหินปะการังจะมีลักษณะแบนราบ มีความสูงราว 1 ใน 3 ของพิสัยน้ําขึ้นลง เราจึงสามารถเห็นแนวปะการังโผลขึ้นมาในชวงน้ําลง แตในชวงน้ําขึ้นจะจมอยูใตน้ํา เราสามารถแบงชนิดของพืดหินปะการังไดดังนี้ 9.3.1 แนวหินปะการังชายฝง (Reef) โดยมากมักพบบริเวณหัวแหลม หนาผาชัน มักพบบริเวณที่มีน้ําใสสะอาด มีความเค็มไมมากนัก และมีปริมาณออกซิเจนเพียงพอ ขนาดของหินปะการังประเภทนี้มีขนาดกวาง 0.4 - 2.5 กิโลเมตร 9.3.2 เทือกหินปะการังใกลฝงทะเล (Barrier) เปนแนวหินปะการังที่ทอดตัวอยูหางจากชายฝงออกไป โดยจะทําใหเกิดทะเลสาบน้ําเค็มระหวางแนวชายฝงกับแนวหินปะการัง ขนาดของทะเลสาบน้ําเค็มมีความกวางโดยประมาณ 2.5 - 16 กิโลเมตร หรืออาจมากกวานี้ สวนความกวางมีประมาณ 8 - 90 เมตร ตามแนวเทือกหินปะการังจะมีชองทางน้ําไหลผานเขาออกได บางครั้งอาจเกิดตะกอนเปนดินดอนสามเหลี่ยมตามทางน้ําไหลผานเขาออก ซึ่งตะกอนดังกลาวมาจากการสลายตัวของหินปะการังนั่นเอง รูปที่ 17 แสดงแนวเทือกหินปะการังใกล

ชายฝงทะเล รัฐ North Carolina ประเทศ สหรัฐอเมริกา

ที่มา : Carla W. Montgomery , 1990.

Page 22: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

190

9.3.3 หมูเกาะหินปะการัง (Atoll) จะมีแนวปะการังที่มีลักษณะเปนรูปวงแหวนลอมรอบทะเลสาบน้ําเค็ม (Lagoon) ภายในทะเลสาบน้ําเค็มไมปรากฏเปนพื้นแผนดินโผลขึ้นมาเลย ตามปกติแลวหมูเกาะหินปะการังมีลักษณะคลายเทือกหินปะการัง (Barrier) ในหมูเกาะปะการังบางสวนอาจเกิดขึ้นจากการกระทําของคลื่นและลมทําใหแนวปะการังทรุดตัวลงต่ําลง และมีการสรางแนวหินปะการังขึ้นมาเสริมสรางเพื่อเชื่อมแนวการทรุดตัวเหลานี้เขาดวยกัน

รูปที่ 18 แสดงภาพถายดาวเทียมลักษณะหมูเกาะหินปะการังบริเวณ หมูเกาะ Maldive มหาสมุทรอินเดีย

ที่มา : Tom L. Mcknight , 1990. 10. มนุษยกับลักษณะภูมิประเทศชายฝงทะเล จากการศึกษาทําใหเราทราบวาแหลงน้ําในทะเลและมหาสมุทรมีมากถึงรอยละ 70 แตเนื่องจากเปนแหลงน้ําเค็ม จึงมีคุณคาตอมนุษยในดานการเปนแหลงประมง แหลงพักผอนนันทนาการของมนุษย ตลอดจนจากอิทธิพลของแรงเหวี่ยงของโลก จากลม และความแตกตางทางดานอุณหภูมิ สงผลตอกระแสน้ําในมหาสมุทร โดยสงผลกระทบโดยตรงตอสภาพภูมิอากาศของโลก เรามักพบวาชายฝงทะเลที่มีกระแสน้ําอุนไหลผานมักจะมีฝนตกชุก ในทางตรงกันขาม กระแสน้ําเย็นจะสงผลใหสภาพภูมิอากาศบริเวณที่กระแสน้ําไหลผานแหงแลง อันเนื่องมากจากกระแสน้ําอุนมีสวนเรงใหอัตราการระเหยของน้ําสูง จึงเกิดเปนหยาดน้ําฟาขึ้น นอกจากนั้นบริเวณที่กระแสน้ําอุนและกระแสน้ําเย็นมาพบกันจะเกิดสภาพของ “ทะเลสาหราย” (Sargasso Sea) นับวาเปนแหลงอาหารที่อุดมสมบูรณของสัตวน้ํา เชน ทางตอนเหนือของประเทศญี่ปุน เปนตน นอกจากนั้นกระแสน้ําจากคลื่นยังสงผลตอสภาพชายฝง เชน การทําลาย การทับถม และมีอิทธิพลตอการคมนาคมดวยเชนกัน นอกจากนั้นทะเลและมหาสมุทรยังเปนแหลงแรธาตุที่สําคัญ เชน แคลเซียมซัลเฟต โพแทสเซียมซัลเฟต แมกนีเซียม และทองคํา เปนตน

Page 23: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

191

ลักษณะภูมิประเทศชายฝงทะเลมีทั้งคุณประโยชนและอุปสรรคดังเชน คุณประโยชนในแงภูมิทัศนที่สวยงามเหมาะสมสําหรับการใชเปนแหลงนันทนาการเพื่อการพักผอนหยอนใจ และเปนสภาพภูมิทัศนที่แปลกตา เชน สะพานหินธรรมชาติ โพรงหินชายฝง เกาะหินโดง เปนตน นอกจากนั้นยังมีคุณประโยชนในแงการเปนทาเรือธรรมชาติ เชน บริเวณทาเรือแหลมฉบัง จังหวัดชลบุรี เปนตน สวนในดานการเปนแหลงทรัพยากรธรรมชาติ ทั้งการใชประโยชนในดานการทําเกษตรกรรม เชน บริเวณที่ราบลุมชายฝงสามารถปรับสภาพใหเหมาะสําหรับการเลี้ยงสัตว และเพาะปลูก เชน กุง ปลา หอย เปนตน เชน บริเวณพื้นที่ปาชายเลนจังหวัดสมุทรปราการ ชลบุรี และฉะเชิงเทรา เปนตน นอกจากนี้พื้นที่ปาพรุน้ําเค็ม หรือปาชายเลนยังเปนที่อาศัยเพาะพันธุของสัตวน้ําไดเปนอยางดี เปนแหลงอนุบาลสัตวออนตามธรรมชาติกอนที่จะเจริญเติบโตเปนสัตวทะเลเพื่อเปนสัตวน้ําสําหรับกิจการประมงตอไป สําหรับอุปสรรคและปญหาจากลักษณะภูมิประเทศชายฝง สามารถแยกพิจารณาไดดังนี้ ในดานการเปนอุปสรรคตอการคมนาคมขนสงทางน้ํา เชน การตกทับถมของตะกอนกลายเปนสันดอน เชน สันดอนปากแมน้ําเจาพระยา ซึ่งตองเปนภาระในการขุดลอก นอกจากนั้นในบริเวณพื้นที่ชายฝงทะเลที่มีหนาผาสูงชัน หรือแนวหินปะการัง ตลอดจนโขดหินตางๆ ที่กระจัดกระจายอยูโดยทั่วไปจะกอใหเกิดอุปสรรคทางดานการประมง หรือการปฏิบัติภาระกิจทางดานกิจกรรมทางน้ําของการปฏิบัติการทางดานการเกษตร นอกจากปญหาและอุปสรรคดังกลาวแลวยังอาจเปนอุปสรรคตอการตั้งถิ่นฐานของประชาชน พื้นที่ไมเหมาะสมสําหรับกิจกรรมการเกษตรกรรม เชน การเพาะปลูก เนื่องจากสภาพความอุดมสมบูรณของดินมีนอย เปนตน

Page 24: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

หนังสืออิเล็กทรอนิกส

ฟสิกส 1(ภาคกลศาสตร( ฟสิกส 1 (ความรอน)

ฟสิกส 2 กลศาสตรเวกเตอร

โลหะวิทยาฟสิกส เอกสารคําสอนฟสิกส 1ฟสิกส 2 (บรรยาย( แกปญหาฟสิกสดวยภาษา c ฟสิกสพิศวง สอนฟสิกสผานทางอินเตอรเน็ต

ทดสอบออนไลน วีดีโอการเรียนการสอน หนาแรกในอดีต แผนใสการเรียนการสอน

เอกสารการสอน PDF กิจกรรมการทดลองทางวิทยาศาสตร

แบบฝกหัดออนไลน สุดยอดสิ่งประดิษฐ

การทดลองเสมือน

บทความพิเศษ ตารางธาตุ)ไทย1) 2 (Eng)

พจนานุกรมฟสิกส ลับสมองกับปญหาฟสิกส

ธรรมชาติมหัศจรรย สูตรพื้นฐานฟสิกส

การทดลองมหัศจรรย ดาราศาสตรราชมงคล

แบบฝกหัดกลาง

แบบฝกหัดโลหะวิทยา แบบทดสอบ

ความรูรอบตัวท่ัวไป อะไรเอย ?

ทดสอบ)เกมเศรษฐี( คดีปริศนา

ขอสอบเอนทรานซ เฉลยกลศาสตรเวกเตอร

คําศัพทประจําสัปดาห ความรูรอบตัว

การประดิษฐแของโลก ผูไดรับโนเบลสาขาฟสิกส

นักวิทยาศาสตรเทศ นักวิทยาศาสตรไทย

ดาราศาสตรพิศวง การทํางานของอุปกรณทางฟสิกส

การทํางานของอุปกรณตางๆ

Page 25: ทะเล มหาสมุทร และลักษณะภูมิประเทศที่เกิดจากคลื่น

การเรียนการสอนฟสิกส 1 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. การวัด 2. เวกเตอร3. การเคลื่อนท่ีแบบหนึ่งมิต ิ 4. การเคลื่อนท่ีบนระนาบ5. กฎการเคลื่อนท่ีของนิวตัน 6. การประยุกตกฎการเคลื่อนท่ีของนิวตัน7. งานและพลังงาน 8. การดลและโมเมนตัม9. การหมุน 10. สมดุลของวัตถุแข็งเกร็ง11. การเคลื่อนท่ีแบบคาบ 12. ความยืดหยุน13. กลศาสตรของไหล 14. ปริมาณความรอน และ กลไกการถายโอนความรอน15. กฎขอท่ีหน่ึงและสองของเทอรโมไดนามิก 16. คุณสมบัติเชิงโมเลกุลของสสาร

17. คลื่น 18.การสั่น และคลื่นเสียง การเรียนการสอนฟสิกส 2 ผานทางอินเตอรเน็ต

1. ไฟฟาสถิต 2. สนามไฟฟา3. ความกวางของสายฟา 4. ตัวเก็บประจุและการตอตัวตานทาน 5. ศักยไฟฟา 6. กระแสไฟฟา 7. สนามแมเหล็ก 8.การเหนี่ยวนํา9. ไฟฟากระแสสลับ 10. ทรานซิสเตอร 11. สนามแมเหล็กไฟฟาและเสาอากาศ 12. แสงและการมองเห็น13. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ 14. กลศาสตรควอนตัม 15. โครงสรางของอะตอม 16. นิวเคลียร

การเรียนการสอนฟสิกสท่ัวไป ผานทางอินเตอรเน็ต

1. จลศาสตร )kinematic) 2. จลพลศาสตร (kinetics) 3. งานและโมเมนตัม 4. ซิมเปลฮารโมนิก คลื่น และเสียง

5. ของไหลกับความรอน 6.ไฟฟาสถิตกับกระแสไฟฟา 7. แมเหล็กไฟฟา 8. คลื่นแมเหล็กไฟฟากับแสง9. ทฤษฎีสัมพัทธภาพ อะตอม และนิวเคลียร

ฟสิกสราชมงคล