โครงการสอน 431-457...

5
1 โครงการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู (Malay Art in Nusantara) 2 (2-0-4) หนวยกิต ภาคเรียนที2 ปการศึกษา 2553 ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร ------------------------------------ ผูสอน นายซาวาวี ปะดาอามีน หองพัก 50330 โทร. (7)3026 E-mail: [email protected] ลักษณะรายวิชา วิชาเลือกเอก-โท หลักสูตรศิลปศาสตรบัณฑิต สาขามลายูศึกษา คําอธิบายรายวิชา ประวัติ วิวัฒนาการ ลักษณะของศิลปะในภูมิภาคมลายู ตลอดจนอิทธิพลของลัทธิความเชื่อที่มีตอศิลปะ วัตถุประสงคการสอน 1. เพื่อใหนักศึกษามีความรูเกี่ยวกับประวัติวิวัฒนาการของศิลปะในภูมิภาคมลายู 2. เพื่อใหนักศึกษามีความรูเกี่ยวกับลักษณะตางๆของศิลปะที่ปรากฏในภูมิภาค มลายูโดยเนนศิลปะมลายู 3. เพื่อใหนักศึกษามีความรูเกี่ยวกับอิทธิพลของลัทธิความเชื่อตางๆที่มีตอศิลปะ มลายู 4. เพื่อใหนักศึกษาสามารถวิเคราะหเปรียบเทียบกับศิลปะที่ปรากฏในทองถิ่นของตนได 5. เพื่อเปนสื่ออันนําไปสูความเขาใจและยอมรับในความสวยงามของความหลากหลาย กระบวนการเรียนการสอน 1. บรรยายเนื้อหา

description

โครงการสอน 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู เทอม 2 ปี 2553 แผนกวิชามลายูศึกษา คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ ม. สงขลานครินทร์ ปัตตานี

Transcript of โครงการสอน 431-457...

Page 1: โครงการสอน 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู เทอม 2 ปี 2553

1

โครงการสอน (Course Syllabus) รายวิชา 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู (Malay Art in Nusantara)

2 (2-0-4) หนวยกิต ภาคเรียนที่ 2 ปการศึกษา 2553

ภาควิชาภาษาตะวันออก คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวทิยาลัยสงขลานครินทร ------------------------------------

ผูสอน นายซาวาว ี ปะดาอามีน หองพัก 50330 โทร. (7)3026 E-mail: [email protected] ลกัษณะรายวชิา วิชาเลือกเอก-โท หลักสูตรศลิปศาสตรบัณฑติ สาขามลายูศึกษา คําอธิบายรายวชิา ประวัติ วิวัฒนาการ ลักษณะของศิลปะในภูมิภาคมลายู ตลอดจนอิทธพิลของลัทธิความเชื่อท่ีมีตอศิลปะ วตัถุประสงคการสอน 1. เพ่ือใหนักศกึษามีความรูเกี่ยวกับประวตัิวิวัฒนาการของศิลปะในภมูิภาคมลาย ู2. เพ่ือใหนักศกึษามีความรูเกี่ยวกับลักษณะตางๆของศลิปะที่ปรากฏในภูมภิาค มลายโูดยเนนศิลปะมลาย ู3. เพ่ือใหนักศกึษามีความรูเกี่ยวกับอิทธิพลของลัทธิความเชื่อตางๆที่มตีอศิลปะ มลาย ู4. เพ่ือใหนักศกึษาสามารถวิเคราะหเปรียบเทียบกับศลิปะที่ปรากฏในทองถิ่นของตนได 5. เพ่ือเปนส่ืออันนําไปสูความเขาใจและยอมรับในความสวยงามของความหลากหลาย กระบวนการเรียนการสอน 1. บรรยายเนื้อหา

Page 2: โครงการสอน 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู เทอม 2 ปี 2553

2

2. แบงกลุมศึกษา คนควา ลงภาคสนามและเสนอรายงาน 3. อภิปราย แลกเปลีย่นความคิดเห็นกับนักศึกษา เนื้อหาวิชาและกิจกรรมการสอน สัปดาหท่ี เนื้อหาวิชา กจิกรรมการเรยีนการสอน 1 อภิปรายสังเขปรายวิชาและขอตกลงตาง ๆ

ความหมายของศิลปะ การแบงประเภทและสาขาของศิลปะ

- บรรยาย / ซักถาม - ทําแบบทดสอบกอนเรียน

2 ศิลปะมลายแูละการแบงประเภทของศิลปะมลายู

- บรรยาย / ซักถาม - มอบหมายงาน

3 ศิลปะกับสังคม - seni rupa กบัสังคมมลาย ู - seni persembahan กับสังคมมลาย ู - ศิลปะและความสงบสุขของสังคม

- บรรยาย / ซักถาม - อภิปรายหัวขอ “ศิลปะและความสงบสุขของสังคม” - สื่อ power point

4 - 5 ประวัตวิิวัฒนาการของศลิปะมลาย ู - ยุคปาลโีอลตีิคและเมโสลตีิก - ยุคนโีอลีติค - ยุคโลหะ - ยุครัฐมลายโูบราณ - ยุคอิสลาม - ยุคอาณานิคม - ยุคปจจุบนั

- บรรยาย - ซักถาม / อภปิราย - ภาพประกอบจากเอกสารประกอบการสอนและ power point

6 - 7 ทฤษฎีเกี่ยวกับ seni rupa Melayu อิทธิพลของลทัธิความเชื่อทีม่ีตอศิลปะมลาย ูศิลปะมลายกูบัพิธีกรรม

- บรรยาย / ซักถาม - อภิปราย “ศิลปะตอไปนีร้ับอิทธิพลจากความเชื่อใด” - ภาพประกอบจากเอกสารประกอบการสอนและ power point

8 แหลงบันดาลใจของศิลปะมลาย ู - บรรยาย

Page 3: โครงการสอน 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู เทอม 2 ปี 2553

3

คุณคาและความงามของศิลปะมลาย ูหนาที่ของศิลปะมลาย ู

- ซักถาม / อภปิราย - ภาพประกอบจากเอกสารประกอบการสอน - power point

9 จิตรกรรมมลาย ู - seni lukis - seni khat

- บรรยาย / ซักถาม - ภาพประกอบ / ฝกปฏิบัติ seni khat Melayu - power point

10 สถาปตยกรรมและประติมากรรมมลาย ูงานประยกุตศลิป (ศลิปหัตถกรรม)

- บรรยาย / ซักถาม - ภาพประกอบและชมวดีีโอ - power point

11 - 12 ทฤษฎีเกี่ยวกับศิลปะการแสดงมลายู (seni persembahan Melayu) ศิลปะการแสดง / นาฏศลิปมลาย:ู การละคร ดนตรี การฟอนรํา การละเลนพ้ืนบาน ศลิปะปองกันตัว และการแสดงอืน่ๆ

- บรรยาย / ซักถาม - ภาพประกอบจากเอกสารประกอบการสอน - ชมวีดโีอ - power point

13 ศิลปะมลายแูละศิลปะไทย ศิลปะมลาย:ู ปจจุบันและอนาคต

บรรยาย / ซักถาม - power point

14 - 15 นักศึกษานําเสนอรายงานกลุม (ศิลปะมลายูและศิลปะทองถิ่น) สรุป

- นักศึกษานําเสนอรายงาน - บรรยายสรุป / ซักถามปญหา

เอกสารประกอบการสอน ภาษาไทย เขต รัตนจรณะ. 2537. เรือนไทยมุสลิมในจังหวัดชายแดนภาคใต. กรุงเทพฯ: อัมรินทรพริ้นติ้ง แอนด พับลีชช่ิง. ชะลดู นิ่มเสมอ. 2542. องคประกอบของศิลปะ. กรุงเทพฯ: ไทยวัฒนาพาณิช. ปญญา เทพสิงห. 2548. ศิลปะเอเชีย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณมหาวิทยาลยั.

Page 4: โครงการสอน 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู เทอม 2 ปี 2553

4

วิบูลย ลี้สุวรรณ. 2546. ศิลปะชาวบาน. กรงุเทพฯ: สํานักพิมพอมรนิทร. วิทย พณิคันเงนิ. 2547. ศิลปะทรรศน. กรุงเทพฯ: เมธีทิปส. สุภัทรดส ดิสกุล, หมอมเจา. ทองอารยธรรม. กรุงเทพฯ: สํานักพิมพธุรกิจกาวหนา. ภาษาตางประเทศ Amat Juhari. 1990. Kepercayaan Orang Melayu Berhubungan dengan Pertanian. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. Mohd. Koharuddin Mohd. Balwi. 2005. Peradaban Melayu. Johor: Universiti Teknologi Malaysia. Mohd. Taib Osman. 1998. Bunga Rampai: Aspects of Malay Culture. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. ________________. 2001. Tamadun Islam dan Tamadun Asia. Kuala Lumpur: Penerbit Universiti Malaya. Rahmah Bujang. 2003. Istilah Kesenian Melayu. Kuala Lumpur: Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya. Rahmah Bujang dan Nor Azlin Hamidon. 2004. Kesenian Melayu. Kuala Lumpur: Akademi Pengajian Melayu, Universiti Malaya. S.H. NASR. 1989. Falsafah Kesusasteraan dan Seni halus. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. ________. 1995. Glosari Budaya Malaysia: Seni Anyam. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. ________. 1995. Glosari Budaya Malaysia: Seni Bina Tradisional Negeri Sabah. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. ________. 1995. Glosari Budaya Malaysia: Corak dan Motif. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka. ________. 1995. Glosari Budaya Malaysia: Seni Ukir. Kuala Lumpur: Dewan Bahasa dan Pustaka.

Page 5: โครงการสอน 431-457 ศิลปกรรมในภูมิภาคมลายู เทอม 2 ปี 2553

5

การวัดและประเมินผล 1. สอบยอย / รายงาน 30% 2. การมาเรียนและการมสีวนรวมในชัน้เรยีน 10% 3. สอบกลางภาค 25% 4. สอบปลายภาค 35% วธิกีารตดัเกรด ตัดเกรดแบบอิงเกณฑ

เกรด เกณฑรอยละ A 80-100

B+ 75-79 B 70-74

C+ 65-69 C 60-64

D+ 55-59 D 50-54 E 0-49

หมายเหตุ: คะแนนตามเกณฑนี้อาจเปลี่ยนไดบางเล็กนอยตามดลุพินจิของผูสอน ขอตกลงระหวางผูเรียนกับผูสอน 1. ตองมีเวลาเรียนไมต่ํากวา 80 % จึงจะมีสิทธิสอบปลายภาค 2. งานที่สงหลังวนักําหนดจะไดรับการตรวจ แตจะมีการหักคะแนน 20 % 3. ทุจริตในการสอบปรับตก 4. แตงเครื่องแบบนักศึกษาใหเรียบรอยทุกครัง้ที่เขาชั้นเรยีน 5. ปดเสียงโทรศัพทมือถือทุกครั้งที่เขาชั้นเรยีน 6. ขาดสอบยอย หากไปขอสอบภายหลังจะถกูหักคะแนน 20 %