บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

45
เทคโนโลยีอวกาศ ครูณรงค์ศักดิพลแก้ว โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม

Transcript of บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

Page 1: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

เทคโนโลยีอวกาศ ครูณรงค์ศักดิ์ พลแก้ว โรงเรียนบรรพตพิสัยพิทยาคม

Page 2: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ประโยชน์ของดาวเทียม

- ดาวเทียมสื่อสาร - ดาวเทียมอุตินิยมวิทยา - ดาวเทียมส ารวจทรัพยากรธรรมชาต ิ

Page 3: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียม สื่อสาร

ดาวเทียมสื่อสาร

Page 4: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ท าหน้าที่เป็นสถานีรับและส่งสัญญาณทั้งทางวิทยุกระจายเสียง วิทยุโทรทัศน์ โทรศัพท์ ข่าวสาร

ระหว่างจุดต่าง ๆ บนโลก

Page 5: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

คือการติดตอ่สื่อสารด้วยดาวเทียม

Page 6: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียมโทรคมนาคม

หมายถึง ดาวเทียม เพื่อการส่งกระจาย หรือการรับเสียง ภาพ เครื่องหมาย

สัญญาณ ข้อเขยีนหรือการท าให้เข้าใจด้วยวิธีการใด ๆ โดยระบบวิทยุสื่อสารหรือระบบคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าอื่น ๆ

Page 7: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

- การใช้ดาวเทียมเพื่อการพูดโทรศัพท์ - หรือการบอกต าแหน่งของผู้พูด โทรศัพท์ว่าขณะนี้อยู่ ณ บริเวณใด - การรับส่งวิทยุโทรทัศน์ข้ามทวีป - การส่งอินเทอร์เน็ตข้ามทวีป

Page 8: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

สถานีภาคพื้นดิน และดาวเทียม

Page 9: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

สถานีภาคพื้นดิน

Page 10: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
Page 11: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

Intelsat_1 Intelsat_3

Page 12: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

Intelsat_6 Intelsat_8

Page 13: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
Page 14: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ประโยชน์ของดาวเทียมสื่อสาร

1.สารสื่อสาร 2.การค้า 3.การทหาร 4.การบริการด้านการปฏิบัติงานอากาศ 5.การบริการอื่น ๆ

Page 15: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
Page 16: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา

ใช้ประโยชน์เพื่อการพยากรณ์อากาศ การรายงานสภาวะอากาศ ปรากฏการณ์ธรรมชาติ ภูมิอากาศ และลมฟ้าอากาศ

การพยากรณ์อากาศนานาชาติ ด้วยระบบดาวเทียม

Page 17: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

1.เพื่อถ่ายภาพชั้นบรรยากาศของโลกเป็นประจ า

2.เพื่อถ่ายภาพต่อเนื่องของบรรยากาศโลก 3.เพื่อท าการหยั่งตรวจอากาศของโลกเป็น

ประจ า

Page 18: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

มีหลักการเดียวกับดาวเทียมสื่อสาร โคจรรอบโลกในแนวขั้วโลกเหนือ- ใต ้

Page 19: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

การถ่ายภาพชั้นบรรยากาศ การหยั่งตรวจอากาศนัน้ อาศัยการท างานของดาวเทียม คือ การสะทอ้นปริมาณแสงสว่างดวงอาทิตย์ และคลื่นความร้อนจากสิ่งต่าง ๆ บนพื้นโลก

Page 20: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียมอุตุนิยมวิทยา GMS – 5 ของประเทศญี่ปุ่น

Page 21: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ภาพจากดาวเทียม NOAA – 2 ของประเทศสหรัฐอเมริกา

Page 22: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ภาพจากดาวเทียม NOAA ของประเทศสหรฐัอเมริกา

Page 23: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ภาพจากดาวเทียม NOAA – 12 ของประเทศสหรฐัอเมริกา

Page 24: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ประโยชน์ของดาวเทียมอุตุนิยมวทิยา

1.ประโยชน์ด้านอุตุนิยมวิทยา - ติดตามลักษณะอากาศตลอดวัน - ใช้ภาพคลื่นความร้อนค านวณ ความเร็วลมชั้นบนในระดับ ความสูงต่าง ๆ

Page 25: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

2. ประโยชน์ด้านอุตุนิยมวิทยา - ใช้หาอุณหภูมิและความชื้นของอากาศ - ใช้ติดตามการเปลี่ยนต าแหน่ง จ านวน และชนิดของเมฆ

Page 26: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

3. ประโยชน์ด้านอื่น ๆ - ด้านการเกษตร - การประมง - สิ่งแวดล้อม - ไฟป่าและอุทกภัย

Page 27: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

พายุโซนร้อน

Page 28: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

การเกิดพายุหมุน

Page 29: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียมส ารวจทรัพยากรธรรมชาติ

ใช้เทคโนโลยีการส ารวจระยะไกลด้วยดาวเทียม ที่เรียกว่า รีโมทเซนซิง

โดยอาศัยพลังงานคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเป็นพาหะในการส่ือสาร

Page 30: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

1.ป่าไม้ 2.การเกษตร 3.การใช้ที่ดิน 4.ธรณีวิทยา 5.อุทกวิทยา

6. สมุทรศาสตร์และการประมง

7. อุบัติภัย 8. การท าแผนที่

Page 31: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียมส ารวจทรัพยากรธรรมชาต ิ ERS – 1 ขององค์การอวกาศแห่งยุโรป

Page 32: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียม LANDSAT 2

Page 33: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียม LANDSAT 7

Page 34: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ภาพจากดาวเทียม LANDSAT

Page 35: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

1. จรวดเชื้อเพลิงแข็ง 2. ถังเชื้อเพลิงภายนอก 3. ยานขนส่งอวกาศ

Page 36: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
Page 37: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

เชื่อเพลิงที่ใช้ในการส่งยานอวกาศเป็นเชื้อเพลิงประเภทใด

- เชื่อเพลิงเหลว (ออกซิเจนเหลวและไฮโดรเจน เหลวซึ่งแยกถังกัน)

Page 38: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
Page 39: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

เทคโนโลยีอวกาศ

เทคโนโลยีอวกาศ คือการ

ส ารวจสิ่งต่างๆที่อยู่นอกโลก

ของเราและส ารวจโลกของเรา

เองด้วย

Page 40: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

การส ารวจดาวเคราะห ์

โครงการของสหรัฐอเมริกา มีดังนี้

1. โครงการไพโอเนียร ์

2. โครงการมารีเนอร์

3. โครงการไวกิง

4. โครงการวอยเอจเยอร์

5. โครงการไพโอเนียร์ - วีนัส

6. โครงการกาลิเลโอ

Page 41: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

นักบินอวกาศ

สุนัขชื่อว่าไลก้า - ขึ้นไปกับยานสปุตนิก 2

ยูริ กาการิน สหภาพโซเวียต- ขึ้นไปกับยานวอสต๊อก 1

นักบินอวกาศคนแรกที่โคจรรอบโลกคือ จอห์น เกลน สหรัฐอเมริกา

นักบินอวกาศหญิงคนแรกของโลกเป็นชาวโซเวียต ชื่อ วาเลนติน่า

เทเรชโกว่า เดินทางไปกับยานวอสต๊อก

นีลอาร์มสตรอง เป็นคนแรกที่ได้เดินบนดวงจันทร์เดนิทางไปกับยาน

อพอลโล 11

Page 42: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ดาวเทียม

ความหมายของดาวเทียม

ดาวเทียมคือห้องทดลองที่บรรจุอุปกรณ์เอาไว้ สง่ขึ้นไปโคจรรอบโลก

มีรูปทรงต่างๆ

ดาวเทียมมีระยะเวลาโคจรรอบโลกแตกต่างกนัขึน้อยู่กับขนาดและระยะห่างของวงโคจร

Page 43: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ

ยานอวกาศ

ความหมายของยานอวกาศ

ยานอวกาศคือยานที่ท าขึ้นเพื่อใช้ส าหรับส ารวจอวกาศ

โดยมีวัตถุประสงค์ของการใช้งานในแต่ละครั้งแตกต่าง

กันไป

Page 44: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ
Page 45: บทที่ 4 เทคโนโลยีอวกาศ