˘ˇ ˆ ˆ˙ ˝ . . 2555 % ! 1 + ! ,ˆbme.eng.swu.ac.th/assets/files/BME_SWU_curiculum_2555.pdf ·...

131
1 หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ชือสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะ วิศวกรรมศาสตร์ หมวดที 1 ข้อมูลทัวไป 1. ชือหลักสูตร ภาษาไทย: หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ภาษาอังกฤษ: Bachelor of Engineering Program in Biomedical Engineering 2. ชือปริญญาและสาขาวิชา ชื อเต็ม (ไทย): วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมชีวการแพทย์) ชื อย่อ (ไทย): วศ.บ. (วิศวกรรมชีวการแพทย์) ชื อเต็ม (อังกฤษ): Bachelor of Engineering (Biomedical Engineering) ชื อย่อ (อังกฤษ): B.Eng. (Biomedical Engineering) 3. วิชาเอก/กลุ ่มวิชา - 4. จํานวนหน่วยกิตทีเรียนตลอดหลักสูตร หน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตรไม่ตํ ากว่า 146 หน่วยกิต 5. รูปแบบของหลักสูตร 5.1 รูปแบบ เป็นหลักสูตรระดับปริญญาตรี หลักสูตร 4 ปี 5.2 ภาษาทีใช้ การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ เอกสารประกอบการสอน และตํารา เป็นทั งตําราภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ

Transcript of ˘ˇ ˆ ˆ˙ ˝ . . 2555 % ! 1 + ! ,ˆbme.eng.swu.ac.th/assets/files/BME_SWU_curiculum_2555.pdf ·...

  • 1

    หลกัสูตรวิศวกรรมศาสตรบณัฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย ์หลกัสูตรปรบัปรุง พ.ศ. 2555

    ชื!อสถาบนัอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ คณะ วิศวกรรมศาสตร์

    หมวดที! 1 ขอ้มูลทั !วไป 1. ชื!อหลกัสูตร

    ภาษาไทย: หลักสตูรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ ภาษาองักฤษ: Bachelor of Engineering Program in Biomedical Engineering

    2. ชื!อปริญญาและสาขาวิชา ชื5อเตม็ (ไทย): วิศวกรรมศาสตรบัณฑติ (วิศวกรรมชีวการแพทย์) ชื5อย่อ (ไทย): วศ.บ. (วิศวกรรมชีวการแพทย์) ชื5อเตม็ (อังกฤษ): Bachelor of Engineering (Biomedical Engineering)

    ชื5อย่อ (อังกฤษ): B.Eng. (Biomedical Engineering)

    3. วิชาเอก/กลุ่มวิชา -

    4. จํานวนหน่วยกิตที!เรียนตลอดหลกัสูตร หน่วยกติรวมตลอดหลักสตูรไม่ตํ5ากว่า 146 หน่วยกติ 5. รูปแบบของหลกัสูตร

    5.1 รูปแบบ เป็นหลักสตูรระดับปริญญาตรี หลักสตูร 4 ปี

    5.2 ภาษาที!ใช ้การจัดการเรียนการสอนเป็นภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ เอกสารประกอบการสอนและตาํรา เป็นทัFงตาํราภาษาไทยหรือภาษาต่างประเทศ

  • 2

    5.3 การรบัเขา้ศึกษา รับนิสิตไทย และนิสิตชาวต่างชาติที5สามารถฟัง พูด อ่าน เขียนและเข้าใจภาษาไทยเป็น

    อย่างด ีหรือให้เป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 หมวดที5 3 (ภาคผนวก ก) 5.4 ความร่วมมือกบัสถาบนัอื!น เป็นหลักสตูรเฉพาะของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ที5จัดการเรียนการสอนโดยตรง 5.5 การใหป้ริญญาแก่ผูสํ้าเร็จการศึกษา ให้ปริญญาเพียงสาขาเดียว

    6. สถานภาพของหลกัสูตรและการพิจารณาอนุมติัเห็นชอบหลกัสูตร เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2555 ปรับปรุงจากหลักสตูรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศกรรมชีวการแพทย์ พ.ศ. 2551 เปิดสอนในภาคการศึกษาที5 1 ของปีการศึกษา 2555 ได้รับอนุมัติ/เหน็ชอบหลักสูตรจากคณะกรรมการการศึกษาระดับปริญญาตรี ในการประชุมครัFงที5 9/2554 วันที5 22 เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. 2554

    ได้รับอนุมัติ/เหน็ชอบหลักสตูรจากสภาวิชาการ ในการประชุมครัFงที5 1/2555 วันที5 13 เดือน มกราคม พ.ศ. 2555 ได้รับอนุมัติ/เหน็ชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยในการประชุมครัFงที5 4/2555 เมื5อวันที5 30 เดือน มีนาคม พ.ศ. 2555

    7. ความพรอ้มในการเผยแพร่หลกัสูตรที!มีคุณภาพและมาตรฐาน

    หลักสตูรมีความพร้อมในการเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี หลักสตูรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติ สาขาวิชาวิศกรรมชีวการแพทย์ ในปีการศึกษา 2557

    8. อาชีพที!ประกอบไดห้ลงัสําเร็จการศึกษา วิศวกรชีวการแพทย์สามารถประกอบอาชีพได้หลายลักษณะทัFงในภาครัฐและภาคเอกชน ดังต่อไปนีF

    1. วิศวกรชีวการแพทย์ หรือวิศวกรอีเล็กทรอนิคส์ โดยสามารถออกแบบ อุปกรณ์และเครื5องมือทางการแพทย์ อุปกรณ์ควบคุมการทาํงานทางไฟฟ้า อีเล็กทรอนิคส์ ซ่อมบาํรุงเครื5องมือ อุปกรณ์และระบบสารสนเทศในโรงพยาบาล และหน่วยงานต่างๆ ได้

    2. นักวิจัยทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ และสาขาอื5นๆ ที5 เกี5ยวข้องกับ ไฟฟ้า และ อีเล็กทรอนิคส์ คอมพิวเตอร์ สําหรับหน่วยงานของรัฐเช่น สวทช กระทรวงสาธารณสุข หรือสถาบันวิจัยทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์ต่างๆ

    3. วิศวกร เพื5อผลิต ขาย ซ่อมบาํรุง ติดตัFง และวิจัยและพัฒนาในบริษัทเอกชนที5ผลิตและจาํหน่ายอุปกรณ์การแพทย์ รวมถึงงานพัฒนาด้านสารสนเทศ นักพัฒนาโปรแกรมด้านซอฟต์แวร์ทาง การแพทย์หรืองานด้านเทคโนโลยีสารสนเทศที5เกี5ยวข้อง

  • 3

    9. ชื!อ นามสกุล เลขบตัรประจําตวัประชาชน ตําแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผูร้บัผดิชอบหลกัสูตร

    ลาํดับที5

    รายชื5อคณาจารย์

    คุณวุฒิการศึกษา ตรี-โท-เอก(สาขาวิชา) ปีที5จบ

    สถาบันที5สาํเรจ็การศึกษา

    เลขประจาํตัวประชาชน

    1 ดร. วงศ์วิทย์ เสนะวงศ์ B.Eng(Biomedical Engineering) 2537 M.Sc.(Engineering and Physical Science in Medicine) 2539 Ph.D.(Biomedical Engineering) 2545

    University of Kent

    Imperial Collage London,UK Imperial Collage London, UK

    xxxxxxxxxxxxx

    2 ดร. ฑฆีพันธุ ์เจริญพงษ์ วศ.บ.(อเีลก็ทรอนิคส)์ 2542 วศ.ม.(ไฟฟ้าและสารสนเทศ) 2548 Ph.D.( System Design Engineering) 2552

    สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี University of Fukui, Japan

    xxxxxxxxxxxxx

    3 อาจารย์ธรีะศักดิp จันทร์วิเมลือง

    วศ.บ. (วิศวกรรมไฟฟ้า) 2543 วศ.ม.(อีเลก็ทรอนิคส ์ชีวการแพทย์) 2550

    มหาวิทยาลัย ขอนแก่น สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

    xxxxxxxxxxxxx

  • 4

    10. สถานที!จัดการเรียนการสอน คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 11. สถานการณภ์ายนอกหรือการพฒันาที!จําเป็นตอ้งนาํมาพิจารณาในการวางแผนหลกัสูตร 11.1 สถานการณห์รือการพฒันาทางเศรษฐกิจ

    การพัฒนาและความก้าวหน้าทางด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มีความสาํคัญเป็นอย่างยิ5งต่อการพัฒนาทางเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ5งการเปลี5ยนแปลงอย่างรวดเร็วของเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมทําให้เกิดการพัฒนาและขยายตัวของภาคการผลิตอย่างรวดเร็วและต่อเนื5 อง ทัFงในระดับอุตสาหกรรมและธุรกิจขนาดกลางและย่อมซึ5งต้องการวิศวกรที5มีความรู้ทัFงด้านทฤษฏแีละปฏิบัติที5สามารถทาํงานได้ สามารถพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทัFงภายในประเทศและต่างประเทศ การพัฒนาทางเศรษฐกจิสามารถทาํได้จากการเร่งพัฒนาความรู้ การถ่ายทอดความรู้ และการปรับใช้เทคโนโลยีจากภายนอกเพื5อเพิ5มประสทิธภิาพภาคการผลิต และบริการภายในประเทศ ซึ5งการพัฒนาขีดความสามารถทางการแข่งขันทุกระดับได้ถูกกาํหนดไว้อย่างชัดเจนในทิศทางหรือยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติฉบับที5 11 (พ.ศ. 2555-2559) สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ เป็นศาสตร์ที5เกี5ยวข้องกับวิทยาการ ทางด้านวิทยาศาสตร์การแพทย์และเทคโนโลยีสุขภาพ เป็นสาขาหนึ5งที5มีความสาํคัญต่อการรักษาพยาบาล และการดูแลสุขภาพโดยรวมของประชาชนในประเทศซึ5งมีความจาํเป็นมากขึFนทุกขณะ โดยเฉพาะอย่างยิ5งในประเทศไทยที5ยังขาดวิศวกรผู้รับผิดชอบโดยตรงในการออกแบบ พัฒนา และปรับปรุง วัสดุ และอุปกรณ์ทางการแพทย์ ที5ใช้ในสถานพยาบาลทัFงขนาดใหญ่ ขนาดกลาง และขนาดเลก็ ซึ5งในปัจจุบันวัสดุและอุปกรณ์ทางการแพทย์เหล่านีFยังต้องพึ5งพาการนาํเข้าจากต่างประเทศเป็นส่วนใหญ่ทาํให้เกิดการสูญเสียเงินตราต่างประเทศเป็นจาํนวนมาก จึงต้องมีการพัฒนาองค์ความรู้ทางด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ โดยการบูรณาการความรู้ด้านวิศวกรรมหลายๆสาขา เพื5อผลิตบัณฑิตที5มีคุณภาพรู้เท่าทันการพัฒนาเทคโนโลยีทางด้านการแพทย์ สามารถพัฒนาเทคโนโลยีให้เกดิการพึ5งพาตนเองได้ และสามารถแข่งขันทางการค้าในตลาดโลกได้ 11.2 สถานการณห์รือการพฒันาทางสงัคมและวฒันธรรม สบืเนื5องจากการขยายตัวอย่างต่อเนื5องของภาคการบริการทางด้านการแพทย์ และความต้องการพึ5งพาเทคโนโลยีตนเอง ก่อให้เกิดการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม ซึ5งความสาํคัญของการพัฒนาเทคโนโลยีนัFน ส่งผลต่อการเพิ5มประสิทธิภาพการบริการ การพึ5งพาเทคโนโลยีตนเองที5เป็นรูปธรรม การบริหารจัดการทรัพยากรทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ การเพิ5มโอกาสการแข่งขันทางการค้า และการส่งเสริมกระบวนการเรียนรู้ สิ5งเหล่านีF ล้วนมีผลต่อการมีคุณภาพชีวิตที5ดีขึFน และเพื5อสร้างความมั5นคงและหลักประกันทางด้านสุขภาพให้กับประชากร การเปลี5ยนแปลงดังกล่าวต้องมีความเข้าใจอย่างลึกซึF งในผลกระทบต่อสังคมและวัฒนธรรม รวมถึงการมีคุณธรรม จริยธรรม จะช่วยการเปลี5ยนแปลงการพัฒนาประเทศในรูปแบบที5เหมาะสมกบัวิถีสงัคมไทย

  • 5

    12. ผลกระทบจาก ขอ้ 11.1 และ 11.2 ต่อการพฒันาหลกัสูตรและความเกี!ยวขอ้งกบัพนัธกิจของสถาบนั

    12.1 การพฒันาหลกัสูตร การพัฒนาและเสริมสร้างองค์ความรู้ เทคโนโลยีและวิทยาศาสตร์โดยเฉพาะทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ จําเป็นต้องมีการเรียนการสอนที5มีกระบวนการวิจัยเป็นกระบวนการศึกษานํา ซึ5งหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิตสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ นีF ได้ถูกพัฒนาขึFนเพื5อตอบสนองต่อความต้องการในการผลิตบุคลากรที5มีความรู้ความชํานาญทางสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ เพื5อรองรับการพัฒนาเทคโนโลยีของประเทศ เป็นการสร้างศักยภาพให้ประเทศสามารถพึ5งพาตนเองทางเทคโนโลยีโดยเน้นการสร้างองค์ความรู้ใหม่เทคโนโลยีทางด้านกระบวนการผลิต การปรับปรุงคุณภาพ การควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ เศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม และสามารถประยุกต์หรือบูรณาการเทคโนโลยีด้านวิศวกรรมชีวการแพทย์ได้อย่างหลากหลาย อาท ิด้านชีวกลศาสตร์ ด้านวัสดุชีวภาพ ด้านภาพทางชีวภาพและการแพทย์ ด้านชีวสารสนเทศ ด้านอุปกรณ์ตรวจวัดทางชีวภาพ ด้านอุปกรณ์ชีวการแพทย์ และด้านชีววิทยาศาสตร์ เป็นต้น ทัFงนีF เพื5อให้มีการใช้ทรัพยากรและวัตถุดิบที5มีอยู่อย่างประสิทธิภาพ สามารถเพิ5มศักยภาพในการแข่งขันด้านการผลิตเพื5อส่งออกและทดแทนการนําเข้า รวมทัFงส่งเสริมให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที5ดีทัFงทางสังคม วัฒนธรรม และสวัสดิภาพสิ5งแวดล้อม โดยหลักสตูรวิศวกรรมศาสตรบัณฑติสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์นีF สามารถสร้างวิศวกรหรือนักวิจัยที5มีความรู้และความสามารถในการทาํงานวิจัยที5มีคุณภาพ เป็นการยกระดับการศึกษาของชาติ เพื5อให้สามารถผลิตบุคลากร นักวิชาการอย่างมีคุณภาพได้เอง และยังช่วยส่งเสริมให้การเรียนการสอนของภาควิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ มีความเข้มแขง็ด้านการพัฒนางานวิจัยและวิชาการ ตามมาตรฐานสากล สามารถชีF นาํ และกาํหนดทิศทางความก้าวหน้าทางด้านเทคโนโลยีสาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ในระดับ ประเทศ และสอดคล้องต่อแนวทางการพัฒนาประเทศอย่างยั5งยืน 12.2 ความเกี!ยวขอ้งกบัพนัธกิจของสถาบนั

    หลักสตูรวิศวกรรมศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ เป็นหลักสูตรที5มุ่งเน้นด้านทกัษะการปฏิบัติและการสร้างนวัตกรรมที5มีคุณภาพ ทัFงนีF เป็นไปตามพันธกิจของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ในการจัดการศึกษาวิชาชีพระดับอุดมศึกษาบนพืF นฐานวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีอย่างมีคุณภาพ และสร้างงานวิจัยและนวัตกรรม รวมถึงการถ่ายทอดเทคโนโลยีเพื5อเพิ5มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ รวมทัFงสอดคล้องกับปรัชญาและยุทธศาสตร์ของมหาวิทยาลัยฯ ที5มุ่งเน้นการพัฒนากาํลังคนด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี นอกจากนีF หลักสูตรยังมีการส่งเสริมความสาํคัญของคุณธรรม จริยธรรมทัFงนีF เพื5อให้บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย์ตระหนักถึงความรับผิดชอบต่อสงัคมและสิ5งแวดล้อม รวมถึงการทาํนุบาํรุงศาสนา ศิลปวัฒนธรรม

  • 6

    13. ความสมัพนัธก์บัหลกัสูตรอื!นที!เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื!นของสถาบนั 13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชา ในหลกัสูตรที!เปิดสอน โดยคณะ/ภาควิชา/หลกัสูตรอื!น 13.1.1 หมวดวิชาศึกษาทั !วไป

    รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั5 วไป ได้แก่ ก ลุ่มวิชาสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์ กลุ่มวิชาภาษา กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์ กลุ่มวิชาพลศึกษาหรือนันทนาการ และกลุ่มวิชาบูรณาการ เปิดสอนโดยคณะศิลปศาสตร์ คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีสาํหรับกลุ่มวิชาบูรณาการ มีการจัดการเรียนโดยคณะต่างๆ ที5เกี5ยวข้องในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 13.1.2 หมวดวิชาเฉพาะ

    รายวิชาในหมวดวิชาเฉพาะ ได้แก่ กลุ่มวิชาพืF นฐานวิชาชีพ กลุ่มวิชาชีพบังคับ กลุ่มวิชาชีพเลือก และกลุ่มวิชาเสริมสร้างประสบการณ์ในวิชาชีพดําเนินการสอนโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ 13.1.3 หมวดวิชาเลือกเสรี

    รายวิชาในหมวดวิชาเลือกเสรี เปิดสอนโดยคณะวิศวกรรมศาสตร์ และหรือคณะต่างๆ ภายในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

    13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชา ในหลกัสูตรนีB ที!เปิดสอนใหภ้าควิชา/หลกัสูตรอื!นมาเรียน

    ไ ไม่มี

    13.3 การบริหารจดัการ ดาํเนินการโดยคณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยมีการกาํหนดอาจารย์ผู้รับผิดชอบ

    หลักสตูรของภาควิชา ซึ5งรับหน้าที5ประสานงานกบัอาจารย์ผู้แทนจากภาควิชาอื5น หรือหลักสูตรหรือคณะอื5นที5เกี5ยวข้อง เพื5อบริหารจัดการการเรียนการสอนให้มีผลมาตรฐานการเรียนรู้เป็นไปตามที5ระบุในหลักสูตร รวมทัFงกาํหนดให้อาจารย์ผู้สอนจัดทาํรายละเอียดของวิชา (มคอ. 3) และรายงานผลการดาํเนินการของรายวิชา (มคอ. 7) เพื5อเป็นมาตรฐานในการติดตามและประเมินคุณภาพการเรียนการสอน

  • 7

    หมวดที! 2 ขอ้มูลเฉพาะของหลกัสูตร 1. ปรชัญา ความสําคญั และวตัถุประสงคข์องหลกัสูตร

    1.1 ปรชัญา ผลิตบัณฑิตที5มีความรู้ความสามารถ ทัFงด้านทฤษฎีและปฏิบัติ เพื5อบูรณาการความรู้สู่งานวิจัยและสร้างสรรค์นวัตกรรมทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ ประกอบกับมีคุณธรรมและจริยธรรม เพื5อตอบสนองตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน 1.2 ความสําคญั

    การพัฒนาประเทศตามแผนพัฒนาเศรษฐกจิและสังคมแห่งชาติฉบับที5 11 (พ.ศ. 2555-2559) ได้ระบุถึงการเร่งพัฒนาความรู้ การถ่ายทอดความรู้ และการปรับใช้เทคโนโลยีจากภายนอกเพื5อเพิ5มประสิทธภิาพภาคการผลิต ให้มีการพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันทัFงภายในประเทศและต่างประเทศ การผลิตวิศวกรชีวการแพทย์ที5มีความรู้ทัFงด้านทฤษฏแีละปฏบัิติ มีคุณธรรมและจริยธรรมใน การประกอบวิชาชีพวิศวกรรมนัFน เป็นปัจจัยสาํคัญต่อการพัฒนาเศรษฐกจิของประเทศชาติ ทาํให้สามารถพึ5งพาตนเอง และเพิ5มขีดความสามารถการแข่งขันในระดับโลกได้

    1.3 วตัถุประสงค ์ เพื5อผลิตบัณฑติให้มีคุณลักษณะดังต่อไปนีF 1.3.1 ให้มีคุณธรรมจริยธรรม มีสัมมาคารวะ รู้จักกาลเทศะ ทาํหน้าที5เป็นพลเมืองดี

    รับผิดชอบต่อตนเอง สังคมวิชาชีพ และปฏิบัติตนภายใต้จรรยาบรรณวิชาชีพด้วยความซื5อสัตย์สุจริต และเสยีสละ

    1.3.2 มีความรู้ในศาสตร์ที5เกี5ยวข้องทัFงภาคทฤษฎีและปฏิบัติ สามารถประยุกต์ใช้ศาสตร์ดังกล่าวอย่างเหมาะสมเพื5อการประกอบวิชาชีพของตนและการศึกษาต่อในระดับสงูขึFนไปได้

    1.3.3 มีความใฝ่รู้ในองค์ความรู้และเทคโนโลยีที5มีการเปลี5ยนแปลงพัฒนาอย่างต่อเนื5อง สามารถพัฒนาองค์ความรู้ที5ตนมีอยู่ให้สงูขึFนไปเพื5อพัฒนาตนเอง พัฒนางาน พัฒนาสังคมและประเทศชาติ และให้คิดเป็น ทาํเป็น มีความคิดริเริ5มสร้างสรรค์สามารถเลือกวิธีแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม

    1.3.4 มีมนุษยสัมพันธ์และมีความสามารถในการทาํงานร่วมกับผู้อื5น มีทกัษะในด้านการทาํงานเป็นหมู่คณะ สามารถบริหารจัดการการทาํงานได้อย่างเหมาะสมและเป็นผู้มีทัศนคติที5ดีในการทาํงาน

    1.3.5 มีความสามารถในการติดต่อสื5อสารและใช้ภาษาไทยภาษาต่าง-ประเทศและศัพทท์างเทคนิคในการติดต่อสื5อสาร รวมถึงการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศได้เป็นอย่างด ี

    1.3.6 มีทั ก ษะท า ง ด้ า นปฏิ บั ติ ใ น ง า น วิ ช า ชี พ เ ฉพ า ะ แล ะ ส าม า ร ถนํ า ไ ป บูรณาการเพื5อประกอบอาชีพทางด้านวิศวกรรม

  • 8

    2. แผนพฒันาปรบัปรุง

    แผนการพฒันา/เปลี!ยนแปลง กลยุทธ ์ หลกัฐาน/ตวับ่งชีB 1. ป รับป รุ งห ลักสูตร ใ ห้ มีมาตรฐานตามที5 สกอ.กําหนด และตรงตามความต้องการของตลาดแรงงาน

    - พัฒนาหลักสูตรตามกรอบม า ต ร ฐ า น คุ ณ วุ ฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (TQF) - ติ ด ต า ม ป ร ะ เ มิ น ก า ร ใ ช้หลักสตูรอย่างสมํ5าเสมอ

    - เอกสารกระบวนการที5เ กี5 ย ว ข้ อ ง กั บ ก า ร ป รั บหลักสตูร - รายงานผลการติดตามและประเมินหลักสตูร

    2 . ตรวจสอบและป รับป รุ งหลักสตูรให้มีคุณภาพตามเกณฑ์มาตรฐานและข้อบัง คับของวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์

    - จั ดห ลั ก สู ต ร ใ ห้ มี ร า ย วิ ช าสอดคล้องกับมาตรฐานวิชาชีพ ตามเกณฑ์ของวิชาชีพวิศวกรรมชีวการแพทย์ - ปรับปรุงหลักสูตรให้ทันสมัยโดย มีกา ร พิจ ารณาป รับป รุ งหลักสตูรทุกๆ 5 ปี

    - ห ลั ก สู ต ร เ ป็ น ไ ป ต า มม า ต ร ฐ า น แ ล ะ เ ก ณ ฑ์ข้อบังคับของสภาวิศวกร - หลักสูตรที5 เกี5ยวข้องผ่านการรับรองจากสภาวิศวกร

    3. พัฒนาศักยภาพของบุคลากรผู้สอน

    - สนับสนุนบุคลากรด้านการเรียนการสอนเพื5 อให้เกิดความเข้มแข็งด้านวิชาการ อาทิ การอบรม การปฏิบัติงานร่วมกับสถานประกอบการและการศึกษาต่อ

    - อ า จ า ร ย์ ผู้ สอนป ร ะจํ าหลักสูตรทุกคนได้ รับการสนับสนุนในการเข้ารับการอบรมหรือพัฒนาตนเอง/คุณวุฒิอาจารย์ที5เพิ5มขึFน

  • 9

    หมวดที! 3 ระบบการจดัการศึกษา การดําเนนิการ และโครงสรา้งของหลกัสูตร

    1. ระบบการจัดการศึกษา 1.1 ระบบ

    ระบบการศึกษาเป็นแบบทวิภาค คือ ปีการศึกษาหนึ5งแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษา ปกติ หนึ5งภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สปัดาห์ และเป็นไปตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาปริญญาตรี พ.ศ. 2548

    1.2 การจดัการศึกษาภาคฤดูรอ้น ทัFงนีF ขึFนอยู่กบัการพิจารณาของคณะกรรมการประจาํหลักสตูร

    1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค ให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 หมวดที5 7 (ภาคผนวก ก)

    2. การดําเนินการหลกัสูตร

    2.1 วนั-เวลาในการดําเนินการเรียนการสอน ภาคการศึกษาที5 1 เดือน มิถุนายน – กนัยายน ภาคการศึกษาที5 2 เดือน พฤศจิกายน – กุมภาพันธ ์

    2.2 คุณสมบติัของผูเ้ขา้ศึกษา � ผู้เข้าเป็นนิสติต้องเป็นผู้สาํเรจ็การศึกษาระดับชัFนมัธยมปลายหรือเทยีบเทา่ � มีคุณสมบัติเพิ5มเติมตามข้อบังคับของมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒว่าด้วยการศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 หมวดที5 3 (ภาคผนวก ก) และ/หรือประกาศมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ และ/หรือโดยความเหน็ชอบของคณะกรรมการประจาํหลักสตูร

    2.3 ปัญหาของนสิิตแรกเขา้ เนื5องจากการปรับตัวจากการเรียนในระดับมัธยมศึกษา มาเข้าเรียนและเป็นการเรียนในระดับอุดมศึกษา มีรูปแบบที5แตกต่างไปจากเดิม เนืF อหารายวิชามีความเข้มข้นมากขึFน โดยเฉพาะรายวิชาชีพซึ5งต้องอาศัยรายวิชาพืF นฐานทางด้านวิศวกรรมศาสตร์ อาทิ รายวิชาคณิตศาสตร์วิศวกรรม รายวิชาฟิสิกส์และรายวิชาภาษาอังกฤษ ซึ5 งเป็นส่วนสนับสนุนในการเรียนการสอนเข้าสู่ เกณฑ์มาตรฐานสากล แต่จากประสบการณ์ในหลักสูตรที5ใช้ประกอบการเรียนการสอน ก่อนจะมีหลักสูตรปรับปรุงฉบับนีF พบว่า รายวิชาพืF นฐานต่างๆ เหล่านีF นิสิตมีความรู้ที5ไม่เพียงพอต่อการมาต่อยอดในระดบัอุดมศึกษา ทาํให้เกดิปัญหา ในระหว่างการเรียนการสอนภาคปกตขิองผู้เรียน

  • 10

    2.4 กลยุทธใ์นการดําเนินการเพื!อแกไ้ขปัญหา/ขอ้จํากดัของนสิิตในขอ้ 1. จัดให้มีการปฐมนิเทศนิสิตใหม่ แนะนําการวางเป้าหมายชีวิต เทคนิคการเรียนในมหาวิทยาลัยฯ และการแบ่งเวลาในการเรียนและการทาํกจิกรรม 2. มอบหมายหน้าที5อาจารย์ที5ปรึกษาให้แก่อาจารย์ทุกคน ทาํหน้าที5สอดส่องดูแล ตักเตือน ให้คาํปรึกษาแนะนาํ และการติดตามการเรียนของนิสติชัFนปีที5 1 ที5อยู่ในความดูแลจากอาจารย์ผู้สอน ดังนัFนนิสติทุกคนจะมีอาจารย์ที5ปรึกษาซึ5งสามารถเข้าพบเพื5อขอคาํแนะนาํได้ 3. จัดสอนเสริมในรายวิชาพืFนฐานดังกล่าว 4. จัดกิจกรรมให้กับนิสิตทางด้านวิชาการให้มีความสัมพันธ์ระหว่างรุ่นพี5 และ รุ่นน้องภายใต้การดูแลของอาจารย์ที5ปรึกษา และจัดกจิกรรมสอนเสริมหลักสตูร 2.5 แผนการรบันสิิตและผูสํ้าเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี

    จาํนวนนิสติ จาํนวนนิสติแต่ละปีการศึกษา

    2555 2556 2557 2558 2559 ชัFนปีที5 1 40 40 40 40 40 ชัFนปีที5 2 - 40 40 40 40 ชัFนปีที5 3 - - 40 40 40 ชัFนปีที5 4 - - - 40 40 รวม 40 80 120 160 160

    คาดว่าจะสาํเรจ็การศึกษา - - - 40 40

    2.6 งบประมาณตามแผน 2.6.1 งบประมาณรายรบั

    รายละเอียดรายรบั ปีงบประมาณ

    2555 2556 2557 2558 2559 ค่าบาํรุงการศึกษา 8,000,000 16,000,000 24,000,000 32,000,000 32,000,000

    รวมรายรบั 8,000,000 16,000,000 24,000,000 32,000,000 32,000,000

  • 11

    2.6.2 งบประมาณรายจ่าย ก. งบดําเนินการ

    หมวดเงิน ปีงบประมาณ

    2555 2556 2557 2558 2559 1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร 3,448,865 3,621,308 3,802,374 3,992,492 5,988,742 2. ค่าใช้จ่ายดาํเนินงาน (ไม่รวม3)

    4,473,665 4,697,348 4,932,216 5,178,826 5,437,768

    3. ทุนการศึกษา 30,000 30,000 30,000 30,000 30,000 4. ทุนพัฒนาอาจารย์ 100,000 100,000 100,000 100,000 100,000 5. รายจ่ายระดับมหาวิทยาลัยฯ

    (รวม ก) 8,052,530 8,448,656 8,864,589 9,301,319 11,556,510

    ข. งบลงทุน

    หมวดเงิน ปีงบประมาณ

    2555 2556 2557 2558 2559 ค่าครุภัณฑ ์ 726,618 762,948 801,096 1,207,817 1,268,208

    (รวม ข) 726,618 762,948 801,096 1,207,817 1,268,208 รวม (ก) + (ข) 8,679,148 9,111,605 9,565,685 10,409,136 12,724,718

    จาํนวนนิสติ 200 200 200 200 200 ค่าใช้จ่ายต่อหัวนิสติ 43,396 45,558 47,828 52,046 63,624

    2.7 ระบบการศึกษา � แบบชัFนเรียนให้เป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วย

    การศึกษาระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2548 หมวดที5 1 (ภาคผนวก ก) � แบบทางไกลผ่านสื5อสิ5งพิมพ์เป็นหลัก � แบบทางไกลผ่านสื5อแพร่ภาพและเสยีงเป็นสื5อหลัก � แบบทางไกลทางอเิลก็ทรอนิกสเ์ป็นสื5อหลัก (E-learning) � แบบทางไกลทางอนิเทอร์เนต็ � อื5นๆ (ระบุ)

    2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขา้มมหาวิทยาลยั (ถา้มี) นิสติที5เคยศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาอื5นมาก่อน เมื5อเข้าศึกษาในหลักสตูรนีF สามารถ

    เทยีบโอนหน่วยกติได้ ตามระเบียบมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ว่าด้วยการเทยีบโอนผลการเรียน พ.ศ. 2548 หมวดที5 7 (ภาคผนวก ก)

  • 12

    3. หลกัสูตรและอาจารยผู์ส้อน 1.1 หลกัสูตร

    3.1.1 จํานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลกัสูตร 146 หน่วยกิต 1.1.2 โครงสรา้งหลกัสูตร

    รายละเอียด แผนการศึกษา/จํานวนหน่วยกิต

    แผนการศึกษาที! 1

    แผนสหกิจศึกษา

    ก.หมวดวิชาศึกษาทั !วไป 30 30 1. กลุ่มวิชาภาษา 1.1 ภาษาไทย 1.2 ภาษาต่างประเทศ

    9 3 6

    9 3 6

    2. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยี

    6 6

    3. กลุ่มวิชาศิลปศาสตร์ 15 15 ข.หมวดวิชาเฉพาะ 110 110 1. กลุ่มวิชาพืFนฐานทางวิทยาศาสตร์ และคณิตศาสตร์

    18 18

    2. กลุ่มวิชาพืFนฐานทางวิศวกรรมศาสตร์

    23 23

    3. กลุ่มวิชาเอกบังคับ 69 69 ค.หมวดวิชาเลือกเสรี 6 6

    รวมหน่วยกิตตลอดหลกัสูตร

    146 146

  • 13

    3.1.3 รายวิชา ก. หมวดวิชาศึกษาทั !วไป 30 หน่วยกิต 1. กลุ่มวิชาภาษา

    กาํหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิตดังนีF 1.1 ภาษาไทย กาํหนดให้เลือกเรียน ไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกติ

    มศว111 ภาษาไทยเพื5อการสื5อสาร 3(2-2-5)

    SWU111 Thai for Communication มศว112 วรรณกรรมไทยปริทรรศน์ 3(2-2-5)

    SWU112 Thai Literary Review

    1.2 ภาษาต่างประเทศกาํหนดให้เลือกเรียนไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติ จากรายวิชาต่อไปนีF มศว121 ภาษาองักฤษเพื5อประสทิธภิาพการสื5อสาร 1 3(2-2-5) SWU121 English for Effective Communication I มศว122 ภาษาองักฤษเพื5อประสทิธภิาพการสื5อสาร 2 3(2-2-5) SWU122 English for Effective Communication II มศว123 ภาษาองักฤษเพื5อการสื5อสารนานาชาติ 1 3(2-2-5) SWU123 English for International Communication I มศว124 ภาษาองักฤษเพื5อการสื5อสารนานาชาติ 2 3(2-2-5) SWU124 English for International Communication II มศว131 ภาษาฝรั5งเศสเพื5อการสื5อสาร 1 3(2-2-5) SWU131 French for Communication I มศว132 ภาษาฝรั5งเศสเพื5อการสื5อสาร 2 3(2-2-5) SWU132 French for Communication II มศว133 ภาษาเยอรมันเพื5อการสื5อสาร 1 3(2-2-5) SWU133 German for Communication I มศว134 ภาษาเยอรมันเพื5อการสื5อสาร 2 3(2-2-5) SWU134 German for Communication II มศว135 ภาษาจีนเพื5อการสื5อสาร 1 3(2-2-5) SWU135 Chinese for Communication I มศว136 ภาษาจีนเพื5อการสื5อสาร 2 3(2-2-5) SWU136 Chinese for Communication II มศว137 ภาษาญี5ปุ่นเพื5อการสื5อสาร 1 3(2-2-5) SWU137 Japanese for Communication I

  • 14

    มศว138 ภาษาญี5ปุ่นเพื5อการสื5อสาร 2 3(2-2-5) SWU138 Japanese for Communication II

    2. กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร ์คณิตศาสตร ์และเทคโนโลย ีกาํหนดให้เลือกเรียน ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติจากรายวิชาต่อไปนีF

    มศว141 ทกัษะการรู้สารสนเทศ 3(2-2-5) SWU141 Information Literacy Skills มศว142 วิทยาศาสตร์เพื5อการพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ5งแวดล้อม 3(2-2-5) SWU142 Science for Life Quality Development and Environment มศว143 พลังงานทางเลือก 3(2-2-5) SWU143 Alternative Energy มศว144 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจาํวัน 3(2-2-5) SWU144 Mathematics in Daily Life มศว145 สขุภาวะและวิถีชีวิตเชิงสร้างสรรค์ 3(2-2-5) SWU145 Wellness and Healthy Lifestyle มศว341 วิทยาศาสตร์ฟิสกิส ์กฎของธรรมชาต ิพลังงาน และจิต 3(2-2-5) SWU341 Physical Science, Laws of Nature, Energy and Spirit

    3. กลุ่มวิชาศิลปศาสตร ์

    กาํหนดให้เรียนไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกติดังนีF 3.1 วิชาบงัคบั กาํหนดให้เรียน 9 หน่วยกติดังนีF

    มศว151 การศึกษาทั5วไปเพื5อพัฒนามนุษย์ 3(2-2-5) SWU151 General Education for Human Development มศว251 มนุษย์กบัสังคม 3(2-2-5) SWU251 Man and Society มศว252 สนุทรียศาสตร์เพื5อชีวิต 3(2-2-5) SWU252 Aesthetics for Life

    3.2 วิชาเลือก กาํหนดให้เลือกเรียน ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกติจากรายวิชาต่อไปนีF มศว351 การพัฒนาบุคลิกภาพ 3(2-2-5) SWU351 Personality Development มศว352 ปรัชญาและกระบวนการคิด 3(2-2-5) SWU352 Philosophy and Thinking Process มศว353 มนุษย์กบัการใช้เหตุผลและจริยธรรม 3(2-2-5) SWU353 Man, Reasoning and Ethics

  • 15

    มศว354 มนุษย์กบัสนัติภาพ 3(2-2-5) SWU354 Man and Peace มศว355 พุทธธรรม 3(2-2-5) SWU355 Buddhism มศว356 วรรณกรรมและพลังทางปัญญา 3(2-2-5) SWU356 Literature for Intellectual Powers มศว357 ศิลปะและความคิดสร้างสรรค์ 3(2-2-5) SWU357 Art and Creativity มศว358 ดนตรีและจิตวิญญาณมนุษย์ 3(2-2-5) SWU358 Music and Human Spirit มศว361 ประวัติศาสตร์และพลังขับเคลื5อนสงัคม 3(2-2-5) SWU361 History and Effects on Society มศว362 มนุษย์กบัอารยธรรม 3(2-2-5) SWU362 Man and Civilization มศว363 มนุษย์กบัการเมือง การปกครอง และกฎหมาย 3(2-2-5) SWU363 Man and Politics, Government and Law มศว364 เศรษฐกจิในกระแสโลกาภิวัฒน์ 3(2-2-5) SWU364 Economy in Globalization มศว365 หลักการจัดการสมัยใหม่ 3(2-2-5) SWU365 Principles of Modern Management มศว366 จิตวิทยาสงัคม 3(2-2-5) SWU366 Social Psychology มศว367 กฎหมายทั5วไป 3(2-2-5) SWU367 Legal Studies มศว371 ความคิดสร้างสรรค์กบันวัตกรรม และเทคโนโลยี 3(2-2-5) SWU371 Creativity, Innovation and Technology มศว372 ภมิูปัญญาท้องถิ5น 3(2-2-5) SWU372 Local Wisdom มศว373 ภมิูลักษณ์ชุมชน 3(2-2-5) SWU373 Man and Community มศว374 สมัมาชีพเพื5อชุมชน 3(2-2-5) SWU374 Ethical Careers for Community มศว375 ธรรมาภิบาลในการบริหารจัดการชุมชน 3(2-2-5) SWU375 Good Governance in Community Management

  • 16

    ข. หมวดวิชาเฉพาะ 114 หน่วยกิต 1. กลุ่มวิชาพืB นฐานทางวิทยาศาสตรแ์ละคณิตศาสตร ์กาํหนดให้เรียน 18 หน่วยกิต ดังนีF

    คม103 เคมีทั5วไป 3(3-0-6) CH103 General Chemistry คม193 ปฏบัิติการเคมีทั5วไป 1(0-3-0) CH193 General Chemistry Laboratory คณ114 คณิตศาสตร์ทั5วไป 4(4-0-8) MA114 General Mathematics ฟส101 ฟิสกิสเ์บืFองต้น 1 3(3-0-6) PY101 Introductory Physics I ฟส181 ปฏบัิติการฟิสกิสเ์บืFองต้น 1 1(0-3-0) PY181 Introductory Physics Laboratory I วศฟ111 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6) EE111 Mathematics for Engineering I วศฟ211 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 2 3(3-0-6) EE211 Mathematics for Engineering II

    2. กลุ่มพืB นฐานทางวิศวกรรมศาสตร ์กาํหนดให้เรียน 23 หน่วยกิต ดังนีF

    วศก108 ปฏบัิติการวิศวกรรมพืFนฐาน 2(1-3-2) ME108 Basic Engineering Practices วศก109 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-4) ME109 Engineering Drawing วศ201 ภาษาองักฤษเฉพาะทาง 1 3(3-0-6) EG201 English for Specific Purposes I วศ202 ภาษาองักฤษเฉพาะทาง 2 3(3-0-6) EG202 English for Specific Purposes II วศก212 กลศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6) ME212 Engineering Mechanics I วศอ222 วัสดุวิศวกรรม 3(3-0-6) INE222 Engineering Materials วศช231 มาตรวิทยาและเครื5องมือวัดทางไฟฟ้า 3(3-0-6) BME231 Metrology and Electrical Instrumentations วศช240 การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ 3(2-3-4) BME240 Software Design and Development

  • 17

    3. กลุ่มวิชาเอกบงัคบั กาํหนดให้เรียน 60 หน่วยกติ สาํหรับแผนการศึกษาที5 1 และ 63 หน่วยกติ สาํหรับแผนสหกจิศึกษา ดังนีF

    3.1 กลุ่มวิชาเอกบงัคบัพืB นฐานวิศวกรรมชีวการแพทย ์กาํหนดให้เรียนสาํหรับแผนการศึกษาที5 1 และแผนสหกจิศึกษา จาํนวน 56 หน่วยกติ ดังนีF

    วศช200 ระบบร่างกายมนุษย์สาํหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 3 (3-0-6) BME200 Human Body System for Biomedical EngineeringI วศช201 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 1 (0-3-0) BME201 Biomedical Engineering Laboratory I วศช202 ระบบร่างกายมนุษย์สาํหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 3 (3-0-6) BME202 Human Body System for Biomedical EngineeringII วศช232 พืFนฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3 (2-3-5) BME232 Introduction to Digital Circuit and Logic วศช233 วิศวกรรมไฟฟ้าและอเิลก็ทรอนิกส ์ 3 (3-0-6) BME233 Electrical and Electronics Engineerig วศช281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3 (3-0-6) BME281 Principle of Biomedical Engineering วศช300 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 1 (0-3-0) BME300 Biomedical Engineering Laboratory II วศช301 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3 1 (0-3-0) BME301 Biomedical Engineering Laboratory III วศช302 ชีววิทยาของเซลล์และโมเลกุล 3 (3-0-6) BME302 Cell and Molecular Biology วศช310 วัสดุชีวภาพ 3 (3-0-6) BME310 Biomaterials วศช311 กลศาสตร์ชีวภาพ 3 (3-0-6) BME311 Biomechanics วศช312 เทอร์โมฟลูอดิส ์ 3 (3-0-6) BME312 Thermofluids วศช330 สญัญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3 (3-0-6) BME330 Signal and Control Systems in Biomedical Engineering

    วศช331 อเีลก็ทรอนิคสชี์วภาพ 3 (3-0-6) BME331 Bioelectronics วศช332 อุปกรณ์ชีวการแพทย์ 3 (3-0-6) BME332 Biomedical Instrumentations

  • 18

    วศช333 ไมโครโปรเซสเซอร์และการอนิเตอร์เฟส 3 (2-3-5) BME333 Microprocessor and Interfacing วศช370 สถิติสาํหรับวิศวกรชีวการแพทย์ 3 (3-0-6) BME370 Statistics for Biomedical Engineering วศช371 วิธวิีทยาการวิจัยทางวิศวกรรม 2 (2-0-4) BME371 Research Methodology in Engineering วศช380 ฟิสกิสชี์วภาพ 3 (3-0-6) BME380 Biophysics วศช440 การออกแบบระบบผู้เชี5ยวชาญทางการแพทย์ 3 (3-0-6) BME440 Medical Expert Systems Design วศช460 วิศวกรรมโรงพยาบาล 3 (3-0-6) BME460 Hospital Engineering

    3.2 กลุ่มวิชาเอกบงัคบัประเมิน กาํหนดให้เรียน 4 หน่วยกติ สาํหรับแผนการศึกษาที5 1 และ 7 หน่วยกติ สาํหรับแผนสหกจิศึกษา ดังนีF

    3.2.1 สําหรบันสิิตแผนการศึกษาที! 1 ทุกกลุ่มวิชา วศช490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 1 (0-3-0) BME490 Biomedical Engineering Research Project I วศช491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 3 (0-9-0) BME491 Biomedical Engineering Research Project II

    3.2.2 สําหรบันสิิตแผนสหกิจศึกษา ทุกกลุ่มวิชา

    วศช489 BME489

    การเตรียมความพร้อมสหกจิศึกษา Pre Co-operative Education

    1 (0-3-0)

    วศช499 สหกจิศึกษา 6 (0-18-0) BME499 Co-operative Education

    4. กลุ่มวิชาเอกเลือก กาํหนดให้เลือกเรียน ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกติสาํหรับแผนการศึกษาที5 1 และ

    6 หน่วยกิต สาํหรับแผนสหกจิศึกษา จากรายวิชาต่อไปนีF 4.1 กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวภาพ (Bioengineering)

    วศช410 ฟิสกิสก์ารสร้างภาพทางการแพทย์ 3 (3-0-6) BME410 Physics of Medical Image วศช411 การเข้ากนัได้ทางชีววิทยา 3 (3-0-6) BME411 Biocompatibility

  • 19

    วศช412 วิศวกรรมฟืF นฟูสภาพ 3 (3-0-6) BME412 Rehabitation Engineering วศช413 กลศาสตร์ของระบบไหลเวียนโลหิต 3 (3-0-6) BME413 Cardiovascular Mechanics วศช414 กลศาสตร์ของระบบหายใจ 3 (3-0-6) BME414 Respiratory Mechanics วศช415 กลศาสตร์ของกล้ามเนืFอและกระดูก 3 (3-0-6) BME415 Musculoskeletal Mechanics วศช416 อวัยวะเทยีม 3 (3-0-6) BME416 Artificial Organ วศช450 พืFนฐานทางวิศวกรรมกล้ามเนืFอ 3 (3-0-6) BME450 Fundamental of Tissue Engineering วศช451 แบบจาํลองทางชีววิทยา 3 (3-0-6) BME451 Biological System Modeling วศช452 การวิเคราะห์โดยใช้วิธทีางไฟไนต์อลีีเมนต์ 3 (3-0-6) BME452 Finite Element Analysis วศช492 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวภาพ 3 (3-0-6) BME492 Special Topics in Bioengineering

    4.2 กลุ่มวิชาเวชสารสนเทศศาสตร ์(Medical Informatics)

    วศช420 การประมวลสญัญาณและภาพทางการแพทย์ 3 (3-0-6) BME420 Medical Signal and Image Processing วศช421 การวิเคราะห์สญัญาณชีวการแพทย์ 3 (3-0-6) BME421 Biomedical Signal Analysis วศช421 การสร้างแบบจาํลองอย่างรวดเรว็ 3 (3-0-6) BME422 Rapid Prototype วศช423 การจดจาํรูปแบบ 3 (3-0-6) BME423 Pattern Recognition วศช441 การวางแผนผ่าตัดโดยความช่วยเหลือจากคอมพิวเตอร์ 3 (3-0-6) BME441 Computer-Aids Sergery Planning วศช442 ปัญญาประดิษฐ์ 3 (3-0-6) BME442 Artificial Intelligence วศช443 ทฤษฎีระบบพัซซี 3 (3-0-6) BME443 Fuzzy System Theory

  • 20

    วศช444 ระบบประสาทเทยีม 3 (3-0-6) BME444 Artificial Neural Systems วศช445 ความฉลาดทางชีววิทยา 3 (3-0-6) BME445 Biological Intelligence วศช446 ชีวสารสนเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) BME446 Bioinformatics วศช447 การออกแบบระบบสารสนเทศสาํหรับโรงพยาบาล 3 (3-0-6) BME447 Information System Design for Hospital วศช448 ระบบสนับสนุนการตัดสนิใจทางการแพทย์ 3 (3-0-6) BME448 Medical Decision Support Systems วศช493 หัวข้อพิเศษทางเวชสารสนเทศศาสตร์ 3 (3-0-6) BME493 Special Topics in Medical Informatics

    4.3 กลุ่มวิชาอุปกรณท์างการแพทย ์(Medical Instrumentations)

    วศช431 อุปกรณ์ทางการแพทย์และการตรวจวัดสภาพทางสรีรวิทยา 3 (3-0-6) BME431 Medical Instruments and Physiological Monitoring วศช432 อเีลก็ทรอนิคสท์างแสงและอุปกรณ์เลเซอร์ 3 (3-0-6) BME432 Optical Electronics and Laser Device วศช433 หุ่นยนต์ทางการแพทย์ 3 (3-0-6) BME433 Medical Robotics วศช434 การออกแบบระบบฝังตัว 3 (3-0-6) BME434 Embedded Systems Design วศช435 อุปกรณ์รับรู้ทางชีวการแพทย์ 3 (3-0-6) BME435 Biomedical Sensors วศช494 หัวข้อพิเศษทางอุปกรณ์การแพทย์ 3 (3-0-6) BME494 Special Topics in Medical Instrumentations

    4.4 กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวการแพทยอื์!นๆ (Others Topic in Biomedical ) วศช495 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 3 (3-0-6) BME495 Special Topics in Biomedical Engineering 1 วศช496 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 3 (3-0-6) BME496 Special Topics in Biomedical Engineering 2 วศช497 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3 3 (3-0-6) BME497 Special Topics in Biomedical Engineering 3

  • 21

    วศช498 หัวข้อพิเศษทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 4 3 (3-0-6) BME498 Special Topics in Biomedical Engineering 4

    ค. หมวดวิชาเลือกเสรี 6 หน่วยกิต ให้นิสติเลือกเรียนจากรายวิชาใดๆ ที5เปิดสอนในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ แต่ต้องไม่ซํFากบัวิชาในแผนการศึกษา และต้องไม่เป็นรายวิชาที5กาํหนดให้เรียนโดยไม่นับหน่วยกิตหรือนิสติอาจเลือกเรียนรายวิชาอื5นๆ ที5เปิดสอนในมหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ ความหมายของรหสัวิชา การกาํหนดรหัสรายวิชา นาํหน้าด้วยกลุ่มตัวอกัษร 2-3 ตัว ตามด้วยกลุ่มตัวเลข 3 ตัว ซึ5งจาํแนกตามแผนภมิูต่อไปนีF

    XXX XXX

    ความหมายกลุ่มตัวอกัษร มศว หรือ SWU หมายถึง รายวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั5วไป คม หรือ CH หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาเคมีพืFนฐาน คณ หรือ MA หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์พืFนฐาน ฟส หรือ PY หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิชาฟิสกิสพื์Fนฐาน วศ หรือ EG หมายถึง รายวิชาในกลุ่มพืFนฐานวิศวกรรม วศช หรือ BME หมายถึง รายวิชาในกลุ่มวิศวกรรมชีวการแพทย์

    วศก หรือ ME หมายถึง รายวิชาในสาขาวิศวกรรมเครื5องกล วศฟ หรือ EE หมายถึง รายวิชาในสาขาวิศวกรรมไฟฟ้า วศอ หรือ INE หมายถึง รายวิชาในสาขาวิศวกรรมอุตสาหการ

    ความหมายกลุ่มตัวเลข เลขหลักร้อย หมายถึง ชัFนปี เลขหลักสบิ หมายถึง กลุ่มวิชา เลขหลักหน่วย หมายถึง ลาํดับวิชาในกลุ่มวิชานัFน

    กลุ่มตัวอกัษร

    กลุ่มตัวเลข

  • 22

    ความหมายเลขหลักสบิ 0 หมายถึง กลุ่มวิชาพืFนฐานทั5วไปทางวิศกรรมชีวการแพทย์ 1 หมายถึง กลุ่มวิชาวัสดุและกลศาสตร์ชีวภาพ

    2 หมายถึง กลุ่มวิชาสญัญาณและระบบ 3 หมายถึง กลุ่มวิชาอเีลก็ทรอนิคสแ์ละอุปกรณ์ชีวการแพทย์ 4 หมายถึง กลุ่มวิชาเวชสารสนเทศศาสตร์ 5 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมชีวภาพ 6 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมคลีนิก 7 หมายถึง กลุ่มวิชาวิจัย และสมัมนา 8 หมายถึง กลุ่มวิชาบูรณาการความรู้จากหลายกลุ่มวิชา

    9 หมายถึง กลุ่มวิชาโครงงาน หัวข้อพิเศษ และสหกจิศึกษา ความหมายของเลขรหสัการจดัชั !วโมงเรียน เลขรหัสการจัดชั5วโมงเรียนมีรายละเอยีดตามแผนภมิูต่อไปนีF X ( X - X - X )

    ชั5วโมงการศึกษานอกเวลา

    ชั5วโมงเรียนทฤษฎี

    ชั5วโมงเรียนปฎิบัติ

    จาํนวนหน่วยกติ

  • 23

    3.1.4 แผนการศึกษา สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย ์แผนการศึกษาที! 1

    ปีการศึกษาที! 1

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว111 ภาษาไทยเพื5อการสื5อสาร 3(2-2-5) มศว121 ภาษาองักฤษเพื5อประสทิธภิาพการสื5อสาร 1 3(2-2-5) มศว145 สขุภาวะและวิถีชีวิตเชิงสร้างสรรค์ 3(2-2-5) คณ114 คณิตศาสตร์ทั5วไป 4(4-0-8) ฟส101 ฟิสกิสเ์บืFองต้น1 3(3-0-6) ฟส181 ปฏบัิติการฟิสกิสเ์บืFองต้น 1 1(0-3-0) วศก109 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-4)

    รวม 20

    ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว122 ภาษาองักฤษเพื5อประสทิธภิาพการสื5อสาร 2 3(2-2-5) มศว141 ทกัษะการรู้สารสนเทศ 3(2-2-5) คม103 เคมีทั5วไป 3(3-0-6) คม193 ปฏบัิติการเคมีทั5วไป 1(0-3-0) มศว151 การศึกษาทั5วไปเพื5อพัฒนามนุษย์ 3(2-2-5) วศฟ111 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6) วศก212 กลศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6)

    รวม 19

  • 24

    ปีการศึกษาที! 2

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว251 มนุษย์กบัสังคม 3(2-2-5) วศฟ211 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 2 3(3-0-6) วศ201 ภาษาองักฤษเฉพาะทาง 1 3(3-0-6) วศอ222 วัสดุวิศวกรรม 3(3-0-6) วศช233 วิศวกรรมไฟฟ้าและอเีลก็ทรอนิคส ์ 3(3-0-6) วศช200 ระบบร่างกายมนุษย์สาํหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 3(3-0-6) วศช240 การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ 3(2-3-4)

    รวม 21

    ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว252 สนุทรียศาสตร์เพื5อชีวิต 3(2-2-5) วศ202 ภาษาองักฤษเฉพาะทาง 2 3(3-0-6) วศก108 ปฎิบัติการวิศวกรรมพืFนฐาน 2(1-3-2) วศช201 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 1(0-3-0) วศช202 ระบบร่างกายมนุษย์สาํหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 3(3-0-6) วศช231 มาตรวิทยาและเครื5องมือวัดทางไฟฟ้า 3(3-0-6) วศช232 พืFนฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3(2-3-5) วศช281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3(3-0-6)

    รวม 21

  • 25

    ปีการศึกษาที! 3

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศวxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3(2-2-5) วศช302 ชีววิทยาของเซลล์และโมเลกุล 3(3-0-6) วศช312 เทอร์โมฟลูอดิส ์ 3(3-0-6) วศช333 ไมโครโปรเซสเซอร์และการอนิเตอร์เฟส 3(2-3-5) วศช380 ฟิสกิสชี์วภาพ 3(3-0-6) วศช300 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 1(0-3-0) วศช331 อเีลก็ทรอนิคสชี์วภาพ 3(3-0-6) วศช370 สถิติสาํหรับวิศวกรชีวการแพทย์ 3(3-0-6)

    รวม 22

    ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศวxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3(2-2-5) วศช301 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3 1(0-3-0) วศช310 วัสดุชีวภาพ 3(3-0-6) วศช311 กลศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) วศช330 สญัญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3(3-0-6) วศช332 อุปกรณ์ชีวการแพทย์ 3(3-0-6) วศช371 วิธวิีทยาวิจัยสาํหรับงานวิศวกรรม 2(2-0-4)

    รวม 18

  • 26

    ปีการศึกษาที! 4

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    วศช440 การออกแบบระบบผู้เชี5ยวชาญทางการแพทย์ 3(3-0-6) วศช460 วิศวกรรมโรงพยาบาล 3(3-0-6) วศช490 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 1(0-3-0) วศชxxx วิชาเอกเลือก 3(3-0-6) xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(3-0-6)

    รวม 13

    ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    วศช491 โครงงานวิจัยวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 3(0-9-0) วศชxxx วิชาเอกเลือก 3(3-0-6) วศชxxx วิชาเอกเลือก 3(3-0-6) xxxxxx วิชาเลือกเสรี 3(3-0-6)

    รวม 12

  • 27

    สาขาวิชาวิศวกรรมชีวการแพทย ์แผนสหกิจศึกษา ปีการศึกษาที! 1

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา

    ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว111 ภาษาไทยเพื5อการสื5อสาร 3(2-2-5) มศว121 ภาษาองักฤษเพื5อประสทิธภิาพการสื5อสาร 1 3(2-2-5) มศว145 สขุภาวะและวิถีชีวิตเชิงสร้างสรรค์ 3(2-2-5) คณ114 คณิตศาสตร์ทั5วไป 4(4-0-8) ฟส101 ฟิสกิสเ์บืFองต้น1 3(3-0-6) ฟส181 ปฏบัิติการฟิสกิสเ์บืFองต้น 1 1(0-3-0) วศก109 เขียนแบบวิศวกรรม 3(2-3-4)

    รวม 20

    ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา

    ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว122 ภาษาองักฤษเพื5อประสทิธภิาพการสื5อสาร 2 3(2-2-5) มศว141 ทกัษะการรู้สารสนเทศ 3(2-2-5) คม103 เคมีทั5วไป 3(3-0-6) คม193 ปฏบัิติการเคมีทั5วไป 1(0-3-0) มศว151 การศึกษาทั5วไปเพื5อพัฒนามนุษย์ 3(2-2-5) วศฟ111 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6) วศก212 กลศาสตร์วิศวกรรม 1 3(3-0-6)

    รวม 19

  • 28

    ปีการศึกษาที! 2

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา

    ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว251 มนุษย์กบัสังคม 3(2-2-5) วศฟ211 คณิตศาสตร์วิศวกรรม 2 3(3-0-6) วศ201 ภาษาองักฤษเฉพาะทาง 1 3(3-0-6) วศอ222 วัสดุวิศวกรรม 3(3-0-6) วศช233 วิศวกรรมไฟฟ้าและอเีลก็ทรอนิคส ์ 3(3-0-6) วศช200 ระบบร่างกายมนุษย์สาํหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 3(3-0-6) วศช240 การออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์ 3(2-3-4)

    รวม 21

    ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา

    ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศว252 สนุทรียศาสตร์เพื5อชีวิต 3(2-2-5) วศ202 ภาษาองักฤษเฉพาะทาง 2 3(3-0-6) วศก108 ปฎิบัติการวิศวกรรมพืFนฐาน 2(1-3-2) วศช201 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 1 1(0-3-0) วศช202 ระบบร่างกายมนุษย์สาํหรับวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 3(3-0-6) วศช231 มาตรวิทยาและเครื5องมือวัดทางไฟฟ้า 3(3-0-6) วศช232 พืFนฐานวงจรดิจิตอลและวงจรตรรก 3(2-3-5) วศช281 หลักการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3(3-0-6)

    รวม 21

  • 29

    ปีการศึกษาที! 3

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศวxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3(2-2-5) วศช302 ชีววิทยาของเซลล์และโมเลกุล 3(3-0-6) วศช312 เทอร์โมฟลูอดิส ์ 3(3-0-6) วศช333 ไมโครโปรเซสเซอร์และการอนิเตอร์เฟส 3(2-3-4) วศช380 ฟิสกิสชี์วภาพ 3(3-0-6) วศช300 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 2 1(0-3-0) วศช331 อเีลก็ทรอนิคสชี์วภาพ 3(3-0-6) วศช370 สถิติสาํหรับวิศวกรชีวการแพทย์ 3(3-0-6)

    รวม 22 ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    มศวxxx xxxxxxxxxxxxxxxxxxxxxx 3(2-2-5) วศช310 วัสดุชีวภาพ 3(3-0-6) วศช311 กลศาสตร์ชีวภาพ 3(3-0-6) วศช330 สญัญาณและระบบควบคุมทางวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3(3-0-6) วศช332 อุปกรณ์ชีวการแพทย์ 3(3-0-6) วศช371 วิธวิีทยาวิจัยสาํหรับงานวิศวกรรม 3(3-0-4) วศช489 การเตรียมความพร้อมสหกจิศึกษา 1(0-3-0) วศช301 ปฎิบัติการวิศวกรรมชีวการแพทย์ 3 1(0-3-0) วศชxxx วิชาเอกเลือก 3(3-0-6) รวม 22

  • 30

    ปีการศึกษาที! 4

    ภาคการศึกษาที! 1

    รหสัวิชา ชื!อวิชา หน่วยกิต

    วศช499 สหกจิศึกษา 6(0-18-0) รวม 6

    ภาคการศึกษาที! 2

    รหสัวิชา

    ชื!อวิชา หน่วยกิต

    วศช440 การออกแบบระบบผู้เชี5ยวชาญทางการแพทย์ 3(3-0-6) วศช460 วิศวกรรมโรงพยาบาล 3(3-0-6) วศช xxx วิชาเอกเลือก 3(3-0-6) xxx xxx วิชาเลือกเสรี 3(3-0-6) xxx xxx วิชาเลือกเสรี 3(3-0-6)

    รวม 15

    3.1.5 คําอธิบายรายวิชา

    ก. หมวดวิชาศึกษาทั !วไป มศว111 ภาษาไทยเพื5อการสื5อสาร 3(2-2-5) SWU111 Thai for Communication ศึกษาองค์ประกอบการสื5อสารและกลวิธีการใช้ภาษาเพื5 อการสื5อสาร การเขียนพรรณนาความ สรุปความ ย่อความ ขยายความ และการสงัเคราะห์ความคิดเพื5อการสื5อสาร ฝึกปฏบัิติการใช้ภาษาเพื5อสื5อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที5หลากหลาย

  • 31

    มศว112 วรรณกรรมไทยปริทรรศน์ 3(2-2-5) SWU112 Thai Literary Review ศึกษากระบวนการคิด การถ่ายทอดความรู้ ภมิูปัญญา คุณค่าของภาษาและความเป็นไทยในงานวรรณกรรม ทัFงนีF โดยเลือกศึกษาจากวรรณกรรมในอดีต ร่วมสมัย ร้อยแก้วหรือร้อยกรอง ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที5หลากหลาย

    มศว121 ภาษาองักฤษเพื5อประสทิธภิาพการสื5อสาร 1 3(2-2-5) SWU121 English for Effective Communication I พัฒนาทักษะทางด้านภาษาเพื5อการสื5อสารในยุคโลกาภิวัตน์ โดยเรียนรู้ เข้าใจ และฝึกทักษะภาษาด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน และคาํศัพท์ในชีวิตประจําวัน ด้วยกระบวนการเรียนรู้ที5หลากหลายทัFงในและนอกห้องเรียน ส่งเสริมการเรียนรู้แบบพึ5งพาตน นําภาษาอังกฤษไปใช้ในการสื5อสารในสถานการณ์ต่างๆ และเป็นพืFนฐานในการพัฒนากา�