บทที่ 13

7
บทที13 ภาษามือหมวด สถานที่ สถานที่สาคัญสถานที่ท่องเที่ยว สถานที่ต่างๆ ที่ต้องใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันมีหลายส่วน ได้แก่ สถานที่ สถานที่สาคัญใน ประเทศ ตลอดจนที่ท่องเที่ยว ซึ่งแต่ละคาจาเป็นต้องใช้ในการสนทนากับบุคคลที่มีความบกพร่อง ทางการได้ยินเนื่องจากในสถานที่ต่างๆ ไม่มีสื่อหรือสัญลักษณ์ในการให้ความรู้กับบุคคลที่มีความ บกพร่องทางการได้ยิน จึงต้องใช้ภาษามือในการสื่อสารเพื่อให้เกิดความเข้าใจ 1. ภาษามือหมวดสถานทีสถานที่ต่างๆ มีความน่าสนใจและมีความสาคัญในการดาเนินชีวิต บุคคลที่มีความ บกพร่องทางการได้ยิน มีความยุ่งยากเมื่อไปที่สถานที่ต่างๆ เนื่องจากไม่สามารถติดต่อสื่อสาร และมี การประดิษฐ์ภาษามือคาศัพท์สถานที่ไว้สาหรับการศึกษาและการสนทนาดังจะยกตัวอย่างดังนีสถานทีคว่ำมือและวำงลง ตำมภำพ ในชีวิตประจาวันมีสถานที่ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับตัวเรามากมายเริ่มตั้งแต่บ้าน โรงเรียน ตลาด วัด ฯลฯ ซึ่งคาศัพท์เหล่านี้สามารถทาภาษามือได้ง่ายๆ ดังภาพ บ้าน โรงเรียน

Transcript of บทที่ 13

Page 1: บทที่ 13

บทท่ี 13 ภาษามือหมวด สถานที่ สถานที่ส าคัญสถานที่ท่องเที่ยว

สถานทีต่่างๆ ที่ต้องใช้ประโยชน์ในชีวิตประจ าวันมีหลายส่วน ได้แก่ สถานที ่สถานที่ส าคัญในประเทศ ตลอดจนที่ท่องเที่ยว ซึ่งแต่ละค าจ าเป็นต้องใช้ในการสนทนากับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเนื่องจากในสถานที่ต่างๆ ไม่มีสื่อหรือสัญลักษณ์ในการให้ความรู้กับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน จึงต้องใช้ภาษามือในการสื่อสารเพ่ือให้เกิดความเข้าใจ

1. ภาษามือหมวดสถานที่ สถานที่ต่างๆ มีความน่าสนใจและมีความส าคัญในการด าเนินชีวิต บุคคลที่มีความ

บกพร่องทางการได้ยิน มีความยุ่งยากเมื่อไปที่สถานที่ต่างๆ เนื่องจากไม่สามารถติดต่อสื่อสาร และมีการประดิษฐ์ภาษามือค าศัพท์สถานที่ไว้ส าหรับการศึกษาและการสนทนาดังจะยกตัวอย่างดังนี้

สถานที่

คว ่ำมือและวำงลง ตำมภำพ

ในชีวิตประจ าวันมีสถานที่ที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับตัวเรามากมายเริ่มตั้งแต่บ้าน โรงเรียน ตลาด วัด ฯลฯ ซึ่งค าศัพท์เหล่านี้สามารถท าภาษามือได้ง่ายๆ ดังภาพ

บ้าน โรงเรียน

Page 2: บทที่ 13

105

มือขยุมวำงที แก้ม ตำมภำพ แบมือข้ำงหนึ งระดับหน้ำอก มืออีกข้ำงหนึ งทับ ขยับเหมือนตบมือ

ตลาด

ท่ำท่ำมือ ต และแบมือสองข้ำงขยับไปด้ำนหน้ำสลับไปมำ ตำมภำพ

วัด แตะมือโดยให้ปลำยนิ้วชิดกัน และพนมมือ

นอกจากนี้ยังมีสถานที่ที่ใช้ส าหรับการขนส่ง การเดินทางไปในที่ต่างๆ ได้แก่ สถานีขนส่ง สนามบิน สถานีรถไฟ ซึ่งสามารถท าภาษามือได้ตามภาพดังนี้

สถานีขนส่ง

ท่ำท่ำมือ รถบัส และท่ำท่ำมือ สถำนที

สนามบิน ท่ำท่ำมือ เครื องบินและท่ำท่ำมือสถำนที

สถานีรถไฟ

ท่ำท่ำมือ รถไฟ และท่ำท่ำมือ สถำนที

สถานที่ที่เกี่ยวข้องกับการด าเนินชีวิตประจ าวัน ได้แก่ สถานศึกษา โรงพยาบาล ที่ท าการ

ไปรษณีย์ เพื่อการติดต่อสื่อสาร และสถานที่ที่เกี่ยวข้องกับเหตุการณ์วิกฤต เช่น สถานีต ารวจ ค าศัพท์ต่างๆ เหล่านี้ต่างก็มีภาษามือเพ่ือการสื่อสารกับบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเช่นกัน ดังภาพต่อไปนี้

Page 3: บทที่ 13

106

มหาวิทยาลัย ท่ำท่ำมือ ม และวนที ฝ่ำมืออีกด้ำนหนึ ง

โรงพยาบาล ท่ำท่ำมือ เลขสอง แล้วกำกบำทที แขน และท่ำท่ำมือ

สถำนที

ที่ท าการไปรษณีย์

ท่ำท่ำมือ จดหมำย และท่ำท่ำมือ สถำนที

สถานีต ารวจ ท่ำท่ำมือ ต่ำรวจ และท่ำท่ำมือ สถำนที

2. ภาษามือหมวดสถานที่ส าคัญ สถานที่ส าคัญเมื่อน ามาประดิษฐ์เป็นภาษามือสามารถท าได้โดยน าลักษณะส าคัญของ

สถานที่นั้นๆ มาท าเป็นภาษามือ เช่น สนามหลวง เมื่อคิดถึงสนามหลวงว่ามีลักษณะเด่นอย่างไร ก็จะต้องนึกถึงการเล่นว่าว ภาษามือค านี้จึงมีลักษณะดึงเชือกของว่าวโดยก ามือที่ข้างหูและกระตุกเชือกดึงลง ดังภาพต่อไปนี้

สถานที่ส าคัญ

ท่ำท่ำมือ สถำนที และท่ำท่ำมือ สำ่คัญ

Page 4: บทที่ 13

107

วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว)

พนมมือระดับหน้ำอกและท่ำท่ำมอืดึงเชือกข้ำงศีรษะ

สนามหลวง ก่ำมือที ข้ำงหูและกระตุกเชือกดึงลง

สถานีรถไฟหัวล าโพง

ท่ำท่ำมือครึ งวงกลม ท่ำท่ำมือรถไฟและสถำนที ตำมลำ่ดับ

อนุสาวรีย์เท้าสุรนารี ท่ำท่ำมือผู้หญิงแล้วก่ำมือลำกลงมำข้ำงขำ

3. ภาษามือหมวดสถานที่ท่องเที่ยว

ภาษามือหมวดสถานที่ท่องเที่ยวมีท่ามือที่มีความสัมพันธ์กับลักษณะของสถานที่ หรือตัวอักษรในชื่อสถานทีส าคัญนั้นๆ โดยท าให้การท าภาษามือไม่ยาก เช่น ตลาดนัดจตุจักรจะใช้ตัว จ.สองตัว ดังภาพ

สถานที่ท่องเที่ยว

ท่ำท่ำมือ สถำนที หลำยๆ ครั้ง และท่ำท่ำมือ เลขหนึ งพร้อมกับยกขึ้นมำหมุน

Page 5: บทที่ 13

108

ตลาดนัดจตุจักร ท่ำท่ำมือ จ ทั้งสองข้ำง

ตลาดน้ าด าเนินสะดวก ท่ำท่ำมือ ร รูดที ฝ่ำมือ และท่ำท่ำมือเรือและตลำด

เยาวราช

แบมือระดับหน้ำอกและขยับ ดอยสุเทพ

ขยุมมือ และท่ำมือเลขสองเลื อนมอืลงมำตำมภำพ

4. การสนทนาในหมวดสถานที่ สถานที่ส าคัญและสถานที่ท่องเที่ยว

ก : คุณจะไปไหน ข : ฉันจะไปดอยสุเทพ

Page 6: บทที่ 13

109

ก : อ๋อ จังหวัดเชียงใหม่ ข : ใช่

ก : โชคดี ข : คะ

สรุป ภาษามือหมวดสถานที แบ่งเป็น 3 ส่วนได้แก่ หมวดสถานที่ สถานที่ส าคัญและสถานที่ท่องเที่ยว โดยท่ามือจะบ่งบอกถึงลักษณะความเป็นมาตัวอักษรตัวหน้าของสถานที่นั้น โดยสามารถน าไปใช้ได้ในชีวิตประจ าวันต่อไป

แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาท าภาษามือตามค าศัพท์ที่ก าหนดให้

1.1 สถานที่ 1.2 บ้าน 1.3 วัด 1.4 มหาวิทยาลัย 1.5 ธนาคาร

2. ให้นักศึกษาจับคู่และฝึกการสนทนาภาษามือ

Page 7: บทที่ 13

110

เอกสารอ้างอิง กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 4. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 6. กรุงเทพฯ : ส านักพิมพ์บพิธการพิมพ์.