E Book Mastercam Thai

Post on 24-Mar-2015

1.077 views 59 download

Transcript of E Book Mastercam Thai

1

บทที่ 1 บทนํา

1.1 หลักการและเหตุผล ในปจจุบันคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทในชีวิตประจําวันมากขึ้น รวมไปถึงโรงงานอุตสาหกรรม

ไดนําเอาโปรแกรมสําเร็จรูปมาชวยในการออกแบบ Computer Aided Design (CAD) เพ่ือความสะดวก รวดเร็วและแมนยํา ชวยใหความผิดพลาดจากการผลิตนอยลงรวมถึงมีตนทุนในการผลิตต่ําลงแตมีคุณภาพดีขึ้น ทําใหระบบการผลิตมีความยืดหยุนชวยลดเวลาในการผลิต ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งสําหรับนักศึกษา วิศวกรหรือบุคคลที่สนใจ ท่ีทํางานอยูในระบบอุตสาหกรรมที่จะเรียนรูโปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอรเพ่ือใหเกิดความรู ความเขาใจและมีทักษะความชํานาญในการใชโปรแกรม

โปรแกรมเขียนแบบดวยคอมพิวเตอรในปจจุบันมีอยางแพรหลายเก่ียวกับงาน CAD/CAM มีหลากหลายโปรแกรมใหเลือกใชตามความตองการและเหมาะสม หนึ่งในโปรแกรมนั้นคือ Master CAM เปนโปรแกรมที่ใชในวงการอุตสาหกรรม เนื่องจากโปรแกรมมีความสามารถหลายดาน จึงเปนโปรแกรมที่นาศึกษาเปนอยางยิ่งโปรแกรมนี้สามารถออกแบบเปน 3 มิติและการ Simulation การคํานวณความเร็วรอบ อัตราปอน ไดภายในตัวโปรแกรมนี้ซึ่งไมตองไปเสียเวลาในการหาโปรแกรมตัวใหม นอกจากนี้ยังสามารถแปรงเปน NC Code สั่งใหเครื่องจักรทํางานตาม NC Code ท่ีทําขึ้นมาซึ่งจะเพ่ิมขีดความสามารถในการผลิต

ดังนั้นจึงจําเปนอยางยิ่งท่ีจะตองศึกษาโปรแกรม Master CAM ในสวนของ Master CAM Mill และ Master CAM Lathe เพ่ือชวยในการผลิตใหมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น

1.2 วัตถุประสงค

1. เพ่ือศึกษาการใชงานโปรแกรม Master CAM 2. ศึกษาขอบขายและคุณสมบัติของ CAM ท่ีใชควบคุมการทํางานของเครื่อง CNC 3. ออก code สําหรับงานกัดและงานกลึงและศึกษาระบบการใชงานของเครื่อง CNC

1.3 ขอบขายของงาน 1. ศึกษาการเขียนแบบดวยโปรแกรม Master CAM ท้ังงานกัดและงานกลึง 2. ออกแบบชิ้นงานทั้งงานกัดและงานกลึง 3. ศึกษาขั้นตอนการทํา CAM ท้ังงานกัดและงานกลึงและออก NC code สําหรับการผลิต 4. ทดลองผลิตชิ้นงานจริงโดยเครื่อง CNC 5. สรุปรายงานขั้นสุดทาย

2

1.4 แผนการดําเนินงาน ตารางที่ 1.1 แผนการดําเนินงาน

เดือน

ลําดับที่

กิจกรรม มิย กค สค กย ตค พย ธค มค

1. ศึกษาการเขียนแบบดวยโปรแกรม Master CAM ท้ังงานกัดและงานกลึง

2. ออกแบบชิ้นงานทั้งงานกัดและงานกลึง

3. ศึกษาขั้นตอนการทํา CAM ท้ังงานกัดและงานกลึงและออก NC code สําหรับการผลิต

4. ทดลองผลิตชิ้นงานจริงโดยเครื่อง CNC

5. สรุปรายงานขั้นสุดทาย

1.5 ผลที่คาดวาจะไดรับ

1. สามารถใชโปรแกรม Master CAM ในการออกคําสั่งและควบคุมการทํางานของ เครื่อง CNC ท้ังเครื่องกัดและเครื่องกลึง

2. ชวยในการออกแบบผลิตภัณฑท่ีซับซอนไดอยางรวดเร็ว 3. ชวยลดขั้นตอนและเวลาในการทํางาน

3

บทที่ 2 เครื่องจักรกลซีเอ็นซี

2.1 วิวัฒนาการของเครื่องจักรกลซีเอ็นซี เครื่องจักรกลในอดีตเปนเครื่องจักรกลแบบงาย ๆ ท่ีตองการชางผูควบคุมที่มีความชํานาญงานควบคุมการผลิตอยางใกลชิด คาความเที่ยงตรงของชิ้นงาน ขึ้นอยูกับความเชี่ยวชาญของชางผูควบคุมเครื่องจักรกลนั้น ๆ เชนในการตัดเฉือนชิ้นงานของเครื่องจักรกลทั่วไป ชางผูควบคุมจะใชมือหมุนเพ่ือเลื่อนคมตัดใหเคลื่อนที่ไป ซึ่งลักษณะเชนนี้ชางผูควบคุมจะตองคอยเฝาดูตําแหนงของคมตัดที่สัมพันธกับเสนรอบรูปบนชิ้นงานที่กําลังตัดเฉือนอยูตลอดเวลาและในการเปลี่ยนแปลงตําแหนงของคมตัดชางผูควบคุมจะตองหมุนมือเพ่ือควบคุมการเคลื่อนที่ของแทนเลื่อน และคอยสังเกตคมตัดคมตัดเพ่ือคอยตรวจสอบตําแหนงของชิ้นงานกับคมตัด เพ่ือใหไดตําแหนงท่ีตองการ นอกเหนือจากการควบคุมตําแหนงของชิ้นงานกับเครื่องมือตัดแลว ชางยังตองควบคุมอัตราปอนซึ่งขึ้นอยูกับชนิดของวัสดุชิ้นงานวัสดุเครื่องมือตัดและตําแหนงของคมตัดอีกดวย ซึ่งตอมาไดมีการพัฒนาเอาระบบควบคุมแบบงาย ๆ เขามาใชกับเครื่องจักรกลแตเปนระบบที่ควบคุมการทํางานของเครื่องมือใหสามารถทํางานไดเฉพาะอยางเทานั้น เม่ือระบบเอ็นซีไดถูกนํามาเผยแพร จึงมีการนําระบบเอ็นซีเขามาใชกับเครื่องจักรกล ทําใหการผลิตชิ้นงานดวยเครื่องเอ็นซีมีความเที่ยงตรงสูง ซึ่งเอ็นซีมาจากคําวา Numerical control หมายถึงการควบคุมเครื่องจักรกลดวยระบบตัวเลขและตัวอักษร หรือจะจํากัดความคําวา เอ็นซี ไดดังนี้ คือ การเคลื่อนตาง ๆ ตลอดจนกระทั่งการทํางานอ่ืน ๆ ของเครื่องจักรกลจะถูกควบคุมโดยรหัสท่ีประกอบดวยตัวเลขตัวอักษรและสัญลักษณอ่ืน ๆ และจะถูกแปลงเปนสัญญาณไฟฟาท่ีจะไปกระตุนมอเตอรหรืออุปกรณอ่ืน ๆ เพ่ือทําใหเครื่องจักรทํางานตามขั้นตอนที่ตองการแตเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงการทํางานของเครื่องเอ็นซีเพ่ือใหเหมาะกับลักษณะของงานที่เปลี่ยนแปลงไปนั้นคอนขางจะยุงยาก ภายหลังคอมพิวเตอรไดเขามามีบทบาทจนเปนที่รูจักกัน จึงไดมีการนําคอมพิวเตอรเขามาใชรวมกับระบบเอ็นซี ซึ่งเปนระบบที่ใชคอมพิวเตอร เปนตัวควบคุมการทํางานของเครื่องจักร เรียกวาระบบ ซีเอ็นซี มาจากคําวา Computerized Numerical control เปนระบบควบคุมเอ็นซีท่ีใชคอมพิวเตอรท่ีมีความสามารถสูงเพ่ิมเขาไปในระบบ ทําใหสามารถจัดการเก็บขอมูลท่ีปอนเขาไปในระบบเอ็นซี และ ประมวลผลขอมูลเพ่ือนําผลลัพธท่ีไดไปควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล ในปจจุบันเครื่องจักรกลเอ็นซี สวนมากจะหมายถึงเครื่องจักรกล ซีเอ็นซี ท้ังนี้เพราะวา ระบบเอ็นซีท่ีไมมีคอมพิวเตอรเปนสวนประกอบมักไมนิยมสรางใชแลว เนื่องจากคอมพิวเตอรมีราคาถูกลง และมีความยืดหยุนพรอมประสิทธิภาพที่สูงกวา

4

2.2 ความแตกตางระหวางเครื่องจักรกลเอ็นซีกับเครื่องจักรกลทั่วไป ความแตกตางในการใชเครื่องจักรกลเอ็นซี เม่ือเปรียบเทียบกับเครื่องจักรกลทั่วไปก็คือ การตัดสินใจในการกําหนดขั้นตอนในการทํางานตาง ๆ จะกระทําเพียงครั้งเดียว กลาวคือจะกระทําในขั้นตอนการวางแผน และสรางโปรแกรม สําหรับควบคุมเครื่องจักรกลเทานั้น ตอจากนั้นโปรแกรมก็จะถูกนําไปใชในการทํางานของเครื่องจักรกลสําหรับการผลิตชิ้นงานที่ตองการ โดยสามารถทําการผลิตงานซ้ํา ๆ กันก่ีครั้งก็ไดตามตองการ นอกจากโปรแกรมการทํางาน ซึ่งเปรียบเสมือนการวางแผนการทํางานที่ไดจัดเตรียมการทํางานทุกขั้นตอน ตลอดจนการปองกันอันตรายที่อาจจะเกิดขึ้นได การผลิตชิ้นงานดวยเครื่องจักรกลเอ็นซียังชวยลดเวลาการทํางานอื่น ๆ ท่ีจําเปน เชน การลดเวลาการตรวจสอบขนาดของชิ้นงาน ลดเวลาในการปรับตําแหนงของชิ้นงาน ลดเวลาในการปรับเปลี่ยนความเร็วรอบในการทํางาน เปนตน 2.3 ความแตกตางระหวางระบบเอ็นซีกับระบบซเีอ็นซี ความแตกตางระหวางระบบเอ็นซีกับระบบซีเอ็นซีก็จะอยูท่ีความสามารถของระบบควบคุมนั่นคือ คอมพิวเตอร เม่ือนําระบบซีเอ็นซีไปควบคุมเครื่องจักรกล ความสามารถในการทํางานตาง ๆ จะเพ่ิมมาดขึ้น เม่ือเปรียบเทียบกับเครื่องจักรกลเอ็นซีดังนี้

1. การแสดงรูปจําลอง (Simulation) การทํางานตามโปรแกรมที่ปอนในระบบจอภาพ 2. ความจุของหนวยความจําเพ่ิมมากขึ้น สามารถเก็บขอมูลโปรแกรมไดมาก 3. การแกไขและลบโปรแกรมสามารถกระทําไดท่ีเครื่องจักรโดยตรง 4. สามารถสงขอมูลไปเก็บไวในหนวยความจําภายนอกได 5. ระบบความปลอดภัยเพ่ิมมากขึ้น 6. มีการชดเชยความผิดพลาดที่เกิดจากการวัดและการสงกําลัง 7. มีโปรแกรมสําเร็จสําหรับการคํานวณคาตาง ๆ เชน ความเร็วรอบ อัตราปอน เปนตน

2.4 ขอดีและขอเสียของเครื่องจักรกลเอ็นซีและซเีอ็นซี 2.4.1 ขอดีของเครื่องจักรกลเอ็นซีและซีเอ็นซี

1. มีความยืดหยุนในการทํางานสูง การเปลี่ยนงานใหมจะแกไขหรือเปลี่ยนแปลงเฉพาะ โปรแกรมเทานั้น

2. ความเที่ยงตรง (Accuracy) จะอยูชวงระดับเดียวกันตลอดชวงความเร็วรอบและอัตราการปอนที่ใชทําการ ผลิต

3. ใชเวลาในการผลิต (Production Time) สั้นกวา 4. สามารถใชผลิตชิ้นงานที่มีรูปทรงซับซอนไดงาย 5. การปรับตั้งเครื่องจักรกระทําไดงาย ใชเวลานอยกวาการผลิตดวยวิธีอ่ืน ๆ 6. หลีกเลี่ยงความจําเปนที่ตองใชชางควบคุมที่มีทักษะและประสบการณสูง 7. ชางควบคุมเครื่องมีเวลาวางจากการควบคุมเครื่อง สามารถที่จะจัดเตรียมงานอื่น ๆ ไว

ลวงหนาได 8. การตรวจสอบคุณภาพไมจําเปนตองกระทําทุกขั้นตอนและทุกชิ้น

2.4.2 ขอเสียของเครื่องจักรกลเอ็นซีและซีเอ็นซี

5

1. ราคาของเครื่องจักรคอนขางสูง 2. การบํารุงรักษามีความซับซอนมาก 3. จําเปนตองใชชางเขียนโปรแกรม (Part Programmer) ท่ีมีทักษะสูงและอบรมมา โดยเฉพาะ 4. ชิ้นสวนหรืออะไหลท่ีใชในการซอมบํารุง ไมสามารถผลิตในประเทศ จําเปนตองสั่ง ซื้อ 5. การซอมบํารุงจะตองใชชางที่มีประสบการณสูงและผานการฝกอบรมมาโดยเฉพาะ 6. ราคาของเครื่องมือตาง ๆ ท่ีใชในกระบวนการตัดเฉือน เชน แกนเพลายึดมีดกัด มีดกลึง แบบใชอินเสิรต (Insert) เปนตนมีราคาสูง 7. พ้ืนที่ติดตั้งเครื่องจักรตองควบคุมระดับอุณหภูมิ ความชื้น และฝุนละออง

2.5 การทาํงานของเครื่องจักรกลเอ็นซ ี ระบบการควบคุมของเครื่องจักรจะรับขอมูลท่ีเปนภาษาที่ระบบควบคุมสามารถเขาใจไดจะตองปอนโปรแกรมเขาไปในระบบควบคุมเครื่องผานแปนพิมพ (Keyboard) เม่ือระบบควบคุมอานขอมูลท่ีปอนเขาไปแลวก็จะนําไปควบคุมใหเครื่องจักรกลทํางานโดยผานการควบคุมไปยังมอเตอร เครื่องจักรเอ็นซีจะมีการเคลื่อนที่ 3 แนวแกนก็จะมีมอเตอรปอน 3 ตัว เม่ือระบบควบคุมอานโปรแกรมแลว ก็จะเปลี่ยนรหัสโปรแกรมนั้นใหเปนสัญญาณทางไฟฟา และสงไปยังภาคขยายสัญญาณของระบบขับ และสงไปยังมอเตอรปอนแนวแกนที่ตองการเคลื่อนที่ความเร็วและระยะทางการเคลื่อนที่ของแทนจะถูกควบคุมโดยระบบวัดขนาด (Measuring System) ซึ่งประกอบดวยสเกลแนวตรง (Linear Scale) มีจํานวนเทากับจํานวนแนวแกน ในการเคลื่อนที่ของเครื่องจักรกลทําหนาท่ีสงสัญญาณไฟฟาท่ีสัมพันธกับระยะทางที่แทนเลื่อนเคลื่อนที่กับไปยังระบบควบคุม ทําใหระบบควบคุมรูวาแทนเลื่อนเคลื่อนที่ไปเปนระยะทางเทาใด เครื่องจักรเอ็นซี (NC milling Machines) เปนเครื่องจักรที่มีขอบขายการทํางานคอนขางกวางสามารถทํางานกัดเชนเดียวกับเครื่องกัดทั่วไป และยังสามารถทํางานอ่ืน ๆ เชน เจาะรู, ทําเกลียว, ควานรู, ไดอีกดวย เครื่องกัดเอ็นซีจะมีแนวแกนการควบคุมตั้งแต 3 แกน 4 แกน 5 แกน หรือมากกวา ดังแสดงในรูปที่ 2.1 และ 2.2

6

รูปที่ 2.1 เครื่องกัด CNC แบบ 3 แกน

รูปที่ 2.2 เครื่องกัด CNC แบบแกนที่เอียงเพลามีดไดและมีโตะงานหมุน 2.6 ระบบควบคุมซเีอ็นซี (CNC Control) ระบบซีเอ็นซี (CNC System) จะมีคอมพิวเตอรประกอบอยูดวย ดังนั้น ชางควบคุมเครื่องไมเพียงแตจะใชโปรแกรมเอ็นซีใหเครื่องจักรทํางานไดเทานั้น แตจะสามารถเขียนและปอนโปรแกรมดวยตัวเองตลอดจนการแกไขโปรแกรมไดหลังจากปอนเขาไปในระบบควบคุมของเครื่องแลว ดังรูปที่ 2.3 เปนไดอะแกรมของการควบคุมระบบ ซีเอ็นซี

รูปที่ 2.3 ระบบซีเอ็นซี 2.7 ชนิดของการควบคุม (Control Modes) ลักษณะการควบคุมการเคลื่อนที่ทําวานของแทนเลื่อนตาง ๆ ในเครื่องจักรกลซีเอ็นซี จะมีการเคลื่อนที่อยู 2 ลักษณะ คือ

7

การเคลื่อนที่ในแนวเสนตรง (Linear interpolation หรือ Straight-line interpolation) การเคลื่อนที่ลักษณะนี้ ระบบซีเอ็นซีจะคํานวณหาตําแหนงของจุดตาง ๆ ท่ีตอกันเปนลูกโซในแนวเสนตรงระหวางตําแหนงของเครื่องมือ 2 ตําแหนง ในขณะเครื่องมือเคลื่อนที่จากจุดหนึ่งไปยังอีกจุดหนึ่ง ระบบควบคุมซีเอ็นซีจะตรวจสอบและแกไขแนวแกนในการเคลื่อนที่ใหถูกตองอยูตลอดเวลาทําใหการเคลื่อนของเครื่องมือไมผิดพลาดหรือคลาดเคลื่อนออกจากจุดตอของเสนตรงมากกวาคาพิกัดความเผื่อของเครื่องท่ีกําหนดไว การเคลื่อนในแนวเสนโคง (Circular interpolation) ระบบควบคุมซีเอ็นซี จะคํานวณหาตําแหนงของจุดตาง ๆ ท่ีตอกันเปนเสนโคงตามขนาดรัศมีท่ีกําหนดระหวางตําแหนงของเครื่องมือท่ีกําหนดไว 2 ตําแหนงระบบควบคุมจะอาศัยจุดเหลานี้ในการตรวจสอบและแกไขแนวการเคลื่อนที่ของเครื่องมือใหถูกตองและอยูภายในพิกัดความเผื่อของเครื่องจักรกลที่กําหนด เคลื่อนที่ปอนออกเปน 2 ชนิด คือ 2.7.1. การควบคุมจุดตอจุด (Point to point control) การควบคุมแบบนี้จะควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือระหวางจุดสองจุดที่โปรแกรมไวในลักษณะการเคลื่อนที่เร็ว (Rapid traverse) โดยที่เครื่องมือจะตองไมสัมผัสชิ้นงาน แนวแกนในการเคลื่อนที่ชิ้นอยูกับชนิดของระบบควบคุม กลาวคือ มอเตอรขับของระบบปอนจะเริ่มทํางานหลาย ๆ แนวแกนพรอมกัน หรือทํางานทีละแนวแกน จนกวาจะเคลื่อนที่ถึงตําแหนงของเครื่องมือท่ีโปรแกรมไว ทําใหไมสามารถควบคุมทางเดินของเครื่องมือ (Tool path) ได การควบคุมแบบจุดตอจุดมักจะใชกับเครื่องเจาะ (Drilling machine) เครื่องเชื่อมจุด (Spot welding) เปนตน ดังรูปที่ 2.4

รูปที่ 2.4 การควบคุมแบบจุด

2.7.2 การควบคุมการตัดเฉือนแนวเสนตรง (Straight-cut controls)

8

การควบคุมชนิดนี้ นอกจากจะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือแบบเคลื่อนที่เร็วไดแลวยังสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือในแนวขนานกับแนวแกนของเครื่องจักรกลตามคาอัตราปอนที่ตองการไดอีกดวย แตจะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ไดครั้งละ 1 แนวแกนเทานั้น การเคลื่อนที่ของเครื่องมือจะถูกควบคุมดวยอัตราการปอนและความยาวในการเคลื่อนที่ ระบบการควบคุมการตัดเฉือนแนวเสนตรงชนิดนี้ จะใชกับเครื่องกัดและเครื่องกลึงแบบงาย ๆ ดังรูปที่ 2.5

รูปที่ 2.5 การควบคุมแบบเสนตรง

2.7.3 การควบคุมตามเสนของรูป (Contouring controls) การควบคุมแบบนี้จะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ทํางานเหมือนดังรูปที่ 2.6 ไดดังนี้ 1. ควบคุมเครื่องมือท่ีเคลื่อนที่ไปยังตําแหนงท่ีตองการแบบเคลื่อนที่เร็วได 2. ควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ขนานกับแนวแกนไปยังตําแหนงท่ีตองการตามคาอัตราการ

ปอน 3. ควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ยังตําแหนงใด ๆ บนชิ้นงานที่กําหนดในแนวเสนตรงและเสน

โคงตามคาอัตราปอนได

9

รูปที่ 2.6 การควบคุมเสนตามขอบ

การควบคุมตามเสนของรูปนี้ ยังสามารถแยกยอยไดอีกเปน 3 ระดับ ซึ่งขึ้นอยูกับความสามารถของ

ระบบควบคุม คือ ความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือได 2 หรือ 3 แกนพรอม ๆ กัน โดยไมคํานึงถึงวาเครื่องจักรกลซีเอ็นซีนั้น ๆ จะมีก่ีแนวแกน จุดสําคัญจะอยูท่ีวาจะสามารถควบคุมแนวแกนปอนใหพรอม ๆ กันก่ีแนวแกน ระบบความสามารถทั้งสามระดับของระบบควบคุม มีรายระเอียดดังนี้ การควบคุมแบบเสนของรูปแบบ 2 แกน (2-D contouring control) ระบบควบคุมจะสามารถควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ระนาบ (plane) ท่ีกําหนดไดเฉพาะ 2 แนวแกนพรอม ๆ กันทําใชสามารถเคลื่อนที่ไดท้ังในแนวเสนตรงและเสนโคง แตจะไมสามารถเปลี่ยนระนาบในการทํางานได ถาเครื่องจักรกลซีเอ็นซีนั้นมี 3 แนวแกน และระบบควบคุมเปนระบบการควบคุมตามเสนของรูป 2 แกนแลว แนวแกนที่ 3 จะถูกควบคุมอิสระจากการ 2 แนวแกนขางตน เชน เครื่องกัด (Milling Machine) จะใชแนวแกนหนึ่งสําหรับการเคลื่อนที่ปอนลึก สวนอีก 2 แนวแกน จะใชสําหรับการเดินกัดตามเสนของรูป ดังแสดงในรูปที่ 2.7

รูปที่ 2.7 การควบคุมตามเสนขอบรูป 2 แกน

10

การควบคุมตามเสนของรูปแบบ 2 แกนครึ่ง (2-D Contouring control) ระบบควบคุมแบบนี้จะควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนที่ใหแนวเสนตรงและเสนโคงบนระนาบใด ๆ ท่ีตองการได แต จะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ไดเพียง 2 แนวแกนพรอมกันเทานั้น ดังแสดงในรูปที่ 2.8

รูปที่ 2.8 การควบคุมตามเสนขอบรูปแบบ 2 แกนครึ่ง

สําหรับเครื่องจักรกลซีเอ็นซีมี 3 แนวแกน คือ X, Y และ Z แนวแกนคูใดคูหนึ่ง คือ Y/Z หรือ X/Z จะสามารถควบคุมใหเคลื่อนที่พรอมกันได นั่นหมายความวา สําหรับเครื่องกัด การเคลื่อนที่ปอนกินลึก (In-feed) สามารถทําในแนวแกนใด ๆ ไดท้ัง 3แนวแกน สวนอีก 2 แนวแกนที่เหลือจะใชสําหรับเดินกัดตามเสนขอบรูป

การควบคุมตามเสนของรูปแบบ 3 แกน ( 3-D Contouring control) ระบบควบคุมจะสามารถควบคุมเครื่องมือใหเคลื่อนในแนวเสนตรงและเสนโคงไดพรอมกันทั้ง 3 แนวแกน เปนลักษณะ 3 มิติได ทิศทางควบคุมดังแสดงในรูปที่ 2.9

รูปที่ 2.9 การควบคุมตามเสนของรูปแบบ 3 แกน

2.8 การควบคุมหนาที่การทํางานของเครื่องจักรกล (Control of machine function)

ระบบควบคุมซีเอ็นซีนอกจากจะสามารถควบคุมการเคลื่อนที่ของเครื่องมือตามรูปทรงเรขาคณิตของชิ้นงานแลว ยังสามารถควบคุมหนาท่ีการทํางานอ่ืน ๆ ท่ีชวยเสริมการทํางานตัดเฉือนของเครื่องจักรกลให

11

เหมาะสมกับสภาวะ การทํางานในขณะนั้นไดอีกดวยดังแสดงในรูปที่ 2.10 จํานวนหนาท่ีการทํางานและวิธีการควบคุมจะไมขึ้นอยูกับตัวเครื่องจักรกลเพียงอยางเดียวแตยังขึ้นอยูกับระบบควบคุม

ตัวอยางหนาท่ีการทํางานตาง ๆ ท่ีจําเปนจะตองโปรแกรมเพื่อชวยในการทํางาน 1. การเริ่มหมุนของเพลางาน ทิศทางการหมุนและเปลี่ยนความเร็วรอบ 2. การกําหนดตําแหนงของเพลางาน 3. การเปดสารหลอเย็น และความดันของสารหลอเย็น 4. การรักษาอัตราปอนใหคงที่ 5. การเปลี่ยนตําแหนงของเครื่องมือ 6. การรักษาความเร็วตัดใหคงที่ 7. การเริ่มทําวานหรือควบคุมการทํางานของอุปกรณชวยงานอื่น ๆ เชน อุปกรณ เปลี่ยนชิ้นงาน

ไดแก โตะเปลี่ยนงาน (pallet shuttle) เปนตน 8. ชุดยันศูนยทายแทน ( Tail- stock) 9. อุปกรณใสและถอดชิ้นงาน (loader and unloader) 10. แทนประคองศูนย (Steady rest) 11. อุปกรณลําเลียงเศษ (chip conveyor) 12. Sorter

รูปที่ 2.10 หนาท่ีการทํางานของเครื่องจักรกล

2.9 องคประกอบของระบบควบคุมซีเอ็นซี (CNC Control system components) ระบบซีเอ็นซีจะประกอบดวยองคประกอบตาง ๆ มากมาย ถาเราพิจารณาถึงสิ่งท่ีเราตองการใหระบบ

สามารถทําได เราจะสามารถแสดงใหเห็นองคประกอบของระบบซีเอ็นซีดวยไดอะแกรมงาย ๆ ในรูปที่ 2.11

12

รูปที่ 2.11 องคประกอบของระบบควบคุม CNC

หัวใจของระบบซีเอ็นซีก็คือ คอมพิวเตอร ซึ่งทําหนาท่ีในการคํานวณทั้งหมดและเชื่อมโยงขอมูลตาง ๆ เขาดวยกันอยางเปนเหตุและผล เนื่องจากระบบซีเอ็นซีเปนองคประกอบที่เชื่อมโยงระหวางชางควบคุมเครื่องกับเครื่องจักรกล จึงจําเปนตองมีชุดอินเตอรเฟส (Inter-face) อยู 2 ชุด ดวยกันคือ อินเตอร

13

2.9.1 ชางควบคุมชุดเฟสสําหรับเครื่อง ซึ่งประกอบดวยแผงควบคุม (Control pane) และขอตอ (connections) ตาง ๆ สําหรับเครื่องอานเทปกระดาษ (magnetic tape unit) หนวยดิสเก็ต (Diskette unit) และเครื่องพิมพ (printer) 2.9.2 ชุดอินเตอรเฟสสําหรับเครื่องจักรกล องคประกอบหลักของชุดอินเตอรเฟสนี้จะประกอบดวย อินเตอรเฟสการควบคุม (Control interface) การควบคุมแนวแกน (axis control) และหนวยจายกําลัง (power supply) รายละเอียดของหมวดการทํางานและวิธีการทํางานของคอมพิวเตอร ตลอดจนชุดอินเตอรเฟสท้ังสอง มีรายละเอียดตาง ๆ ดังนี้ 2.10 แผงควบคุม (Control panel) แผงควบคุมของเครื่องจักรกลซีเอ็นซีซีโดยทั่วไปจะมีลักษณะการออกแบบที่แตกตางกันในสวนที่เก่ียวกับรูปแบบการวางตําแหนงของปุมควบคุมตาง ๆ จํานวนของปุมควบคุม ดังแสดงในรูปที่ 2.13 แตก็จะมีองคประกอบที่ควบคุมการทํางานกวาง ๆ ดังนี้ จอภาพ (Displays) หรือสวนแสดงขอมูล ในสวนนี้จะประกอบดวย จอภาพซีอารที (CRT Screen; Cathode Ray Tube = CRT) ในสวนแสดงขอมูลแบบดิจิตอล digital displays และสัญญาณไฟอ่ืน ๆ เชน สญัญาณไฟแสดงขอผิดพลาด ดังแสดงในรูปที่ 2.12 จอภาพของระบบซีเอ็นซีจะแสดงขอมูลตาง ๆ ดังนี้ โปรแกรม : จอภาพจะแสดงขอมูลของโปรแกรมเอ็นซีท่ีปอนเขาไป ตลอดจนโปรแกรมที่เก็บบันทึกอยูในระบบความจําของเครื่อง เครื่องมือ : แสดงรายการเครื่องมือท่ีตองใชในแตละโปรแกรม ท้ังขนาดและความยาว ตลอดจนคาแกไขใหถูกตอง นอกจากนี้ยังสามารถแสดงอายุการใชงานของเครื่องมือไดอีกดวย ขอมูลเครื่องจักรกล : แสดงพารามิเตอรของเครื่องจักรกล เชน ความเร็วรอบสูงสุดของเพลางาน อัตราปอนสูงสุด เปนตน การตัดเฉือน : แสดงตําแหนงปจจุบันของเครื่องมือ บล็อก (Block) ของโปรแกรมที่ใชขณะนั้น คาอัตราปอน (F) ความเร็วรอบ (S) เปนตน การทํางานอื่น ๆ: แสดงรูปการทํางานของเครื่องมือตามโปรแกรมเอ็นซีท่ีปอนไว (Simulation) เปนตน

14

รูปที่ 2.12 ขอมูลแสดงบนจอภาพ

รูปที่ 2.13 แผงควบคุมระบบซีเอ็นซี

2.11 สวนควบคุมการทาํงานของเครื่องจักร (Control for operating machine) ในสวนนี้จะถูกจดัเตรียมสําหรับการควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลดวยมือ (Manual control) ซึ่งจะมีปุมควบคุมการเคลื่อนที่ของแทนเลื่อนในแนวแกนตาง ๆ มือหมุนเลื่อนแทนเลื่อนเชนเดียวกับเครื่องจักรกลทั่วไป ปุมสวิตซเปด/ปดสารหลอเย็น ปุมปรับความเร็วรอบ/อัตราปอน เปนตน 2.12 สวนควบคุมการโปรแกรม (Control for programming) ในสวนนี้จะใชสาํหรับการปอน แกไข และเก็บบันทึกโปรแกรมและขอมูลอ่ืน ๆ สวนควบคุมการโปรแกรมจะประกอบดวย แปนพิมพ (Key board) ท่ีมีท้ังตัวอักษรและตัวเลข สําหรับพิมพคําสั่งตาง ๆ 2.13 สวิตซเลือกหมวดการทํางาน (Mode selector switch) เพ่ือใหระบบควบคุมสามารถแบงแยกการทํางานไดสะดวก จึงแบงการทํางานของระบบควบคุมออกเปนหมวดการทํางาน (Operating mode) เชน หมวดการทําโปรแกรม หมวดการปอนขอมูล หมวดเครื่องมือ หมวดการทํางานดวยมือ หมวดการทํางานอัตโนมัติ เปนตน การเลือกหมวดการทํางานจะใชสวิตซหมุน (Rotary switch) หรือแถวของปุมควบคุม (Row of buttons) บนแผงควบคุม วิธีนี้ทําใหสามารถเปลี่ยน

15

การทํางานจากหมวดหนึ่งไปยังอีกหมวดหนึ่งไดงาย ในขณะที่งานบนจอภาพหรือสวนแสดงขอมูลแบบดิจิตอล จะแสดงหมวดการทํางานที่ใชอยู ซึ่งอาจเปนสัญญาณไฟ ตําแหนงของสวิตซ หรือตัวอักษรกับตัวเลขก็ได 2.13.1 การใชสวนควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล สวนควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกล จะทําหนาท่ีควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลโดยตรง สวนควบคุมแบบงาย ๆ ไดแก สวิตซปด-เปดตาง ๆ เชน สวิตซปด-เปดสารหลอเย็น สวิตซ-เปดเพลางาน ดังรูปที่ 2.14

รูปที่ 2.14 สวิทชเปด-ปด

นอกจากนี้ ยังมีปุมควบคุมทางการเคลื่อนที่ชองแทนเลื่อนในแกนตาง ๆ สําหรับใชในการปรับตําแหนงของชิ้นงานและเครื่องมือ ซึ่งอาจทําเปนปุมเลื่อนปอน (Feed buttons) หรือคันโยกปอน (Feed joystick) หรือปุมมือหมุนอิเล็กทรอนิกส (Electronic hand wheel) ดังรูปที่ 2.15

รูปที่ 2.15 ปุมเลื่อนแทนเลื่อน

สวนคันโยกเลื่อนปอนจะทํางานเหมือนกับปุมเลื่อนปอน แตแทนที่จะใชวิธีกดปุมใหแทนเลื่อนเคลื่อนที่จะใชวิธีโยกคันโยกไปในทิศทางและแนวแกนที่ตองการแทน

16

อุปกรณควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลซีเอ็นซีโดยมากจะชี้แสดงดวยสัญลักษณกํากับอยู สัญลักษณตาง ๆ เหลานี้จะกําหนดไวเปนมาตรฐาน ซึ่งมักจะอธิบายไวในหนังสือหรือตําราตาง ๆ ตัวอยางสัญลักษณเหลานี้แสดงดังรูปที่ 2.16

รูปที่ 2.16 สัญลักษณอุปกรณควบคุมเครื่องจักรกลซีเอ็นซี

2.13.2 การใชสวนควบคุมสําหรับการโปรแกรม

ในสวนควบคุมสําหรับการใชโปรแกรม จะแยกความแตกตางระหวางแปนพิมพขอมูล เชน คําสั่งโปรแกรม ขอมูลการปรับตั้ง เปนตน กับแปนพิมพท่ีนําเขาสูการทํางานของเครื่องคอมพิวเตอร

ในการปอนขอมูล (Data input) โดยปกติจะใชแปนพิมพตัวอักษรกบัตัวเลขแบบตาง ๆ ดังแสดงในรูปที่ 2.16 ซึ่งสามารถปอนคําสั่งโปรแกรมไดทีละตัวอักษร นอกจากนี้ในระบบควบคุมบางแบบจะมีชุดของแปนพิมพคําสั่งท่ีใชบอย ๆ ในโปรแกรมเอ็นซี ทําใหประหยัดเวลาในการปอนขอมูลลง ดังแสดงในรูปที่ 2.17 2.18 และ 2.19 คําสั่งนี้อาจจะแสดงดวยรหัสคําสั่งนั้นโดยตรง เชน G00, G01 เปนตน หรือแสดงดวยสัญลักษณการเคลื่อนที่ก็ได

17

รูปที่ 2.17 แปนพิมพตัวเลขและตัวอักษร

รูปที่ 2.18 แปนพิมพคําสั่ง

รูปที่ 2.19 แปนพิมพคําสั่งคอมพิวเตอร

แปนพิมพคําสั่งคอมพิวเตอรจะใชสําหรับการปอนขอมูล การเก็บขอมูล การแกไขขอมูล การแสดงรายละเอียดขอมูล ประมวลผลโปรแกรม ตลอดจนการสงขอมูลไปยังอุปกรณภายนอกแปนพิมพเหลานี้อาจจะแสดงดวยคําตาง ๆ ตัวยอ หรือ สัญลักษณ

18

ตัวอยางสัญลักษณท่ีใชสําหรับการควบคุมการใชโปรแกรมแสดงดังรูป 2.20

รูปที่ 2.20 สัญลักษณในการควบคุมโปรแกรม

อุปกรณชวยงานภายนอก โปรแกรมเอ็นซีท่ีปอนเขาไปในระบบควบคุมของเครื่องจนเต็มความจุของระบบความจําแลวจะตองลบขอมูลโปรแกรมนั้นออก มิเชนนั้นจะไมสามารถปอนขอมูลโปรแกรมเอ็นซีใหมเขาไปได หรือระบบความจําของชุดควบคุมที่สามารถเก็บบันทึกโปรแกรมไดเพียงโปรแกรมเดียว เม่ือตองการทํางานใหมท่ีตองใชโปรแกรมใหมตองลบโปรแกรมเกาออก ซึ่งการปอนโปรแกรมในแตละครั้งจะเสียเวลาคอนขางมาก โดยเฉพาะโปรแกรมที่มีความยาวมาก ๆ ดังนั้น จึงมีอุปกรณเก็บขอมูลและสงถาย เชนรูปที่ 2.21 ซึ่งสามารถที่จะเก็บและสงโปรแกรมเอ็นซีเขาเทปแมเหล็ก (Magnetic tape cassettes) แผนดิสเก็ต (diskettes) เปนตน ซึ่งโปรแกรมเอ็นซีท่ีเก็บบันทึกไวในอุปกรณเก็บขอมูลเหลานี้ เราสามารถสั่งพิมพออกมาเพ่ือตรวจสอบ แกไข เพ่ิมเติมขอมูลได ระบบควบคุมเอ็นซีสวนมากจะจัดเตรียมขอตอ (Connection) ไว เพ่ือใหสามารถเชื่อมโยงกับอุปกรณเก็บขอมูลเหลานี้ได ตัวอยางดังรูปที่ 2.22

รูปที่ 2.21 การสงถายขอมูลไปยังอุปกรณเก็บขอมูลแบบตาง ๆ

19

รูปที่ 2.22 ตัวอยาง Port สําหรับตอขอมูลแบบตางๆ

2.14 การทํางานของคอมพิวเตอร ชิ้นสวนภายในคอมพิวเตอรของระบบซีเอ็นซี จะประกอบดวยวงจรอินทิเกรทเซมิคอนดัคเตอร

(Integrated semi-conductor circuits) โดยทั่วไปแลวชิ้นสวนเหลานี่จะหมายถึง ไมโครชิพส (Microchips) หรือ ชิพส (Chips) หรือ ไอซี (ICs) ท่ีมีรูปคลายรูปรางคลายคลึงกับรูปที่ 2.23

รูปที่ 2.23 ตัวอยางไมโครชิพสหรือไอซี

ไมโครชิพสท่ีสําคัญมีอยูดวยกัน 2 ชนิด คือ ไมโครโปรเซสเซอร (Micro-processors) กับสโตเรจ (Storage) สโตเรจจะจัดเตรียมไวสําหรับทําหนาท่ีเก็บขอมูล (Bytes) ท่ีปอนเขาไปในคอมพิวเตอรโดยชางควบคุมเครื่องหรือโดยวิธีการอ่ืน ๆ เชน เทปปรุ เปนตน สวนไมโครโปรเซสเซอรจะทําหนาท่ีเชื่อมโยงหรือจัดการคิดคํานวณขอมูลเหลานี้ ทําใหไดผลลัพธเปนขอมูลใหม ซึ่งอาจเก็บไวในระบบความจําเพ่ือใชในการคํานวณขั้นตอไป หรือสงผลออกมาเปนผลลัพธท่ีตองการได ไมโครโปรเซสเซอรเปนชิ้นสวนที่สามารถนํามาโปรแกรมใหทํางานตามที่ตองการได ดังนั้น จึงสามารถที่จะปรับใหทํางานตาง ๆ กันที่ตองการไดงาย

20

2.14.1 อินเตอรเฟส-การควบคุมแนวแกน-แหลงพลังงาน (Interface-Axis control-Power

supply) เครื่องคอมพิวเตอรสวนบุคคลท่ัวไปที่ประกอบดวยแปนพิมพ (Keyboard) หนวยคํานวณ (Computer) หนวยความจํา (Memory) สามารถนํามาใชแทนระบบซีเอ็นซีสําหรับควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลที่มีหนาท่ีทํางานตาง ๆ ได โดยมีหนวยควบคุม (Control unit) ทําหนาท่ีเชื่อมโยงระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล หนวยควบคุมนี้จะทําหนาท่ีเปลี่ยนขอมูลท่ีคํานวณไดจากคอมพิวเตอรใหเปนคลื่นสัญญาณควบคุม (control pulse) สําหรับการขับปอนแนวแกนตาง ๆ ในระบบซีเอ็นซีหนวยควบคุมนี้จะประกอบดวยอินเตอรเฟสการควบคุม (control interface) การควบคุมแนวแกน (axis control) และแหลงพลังงาน (power supply) รวมกัน ดังแสดงในรูปที่ 2.24

รูปที่ 2.24 การใชคอมพิวเตอรสวนบุคคลเปนระบบซีเอ็นซี

โดยทั่วไปหนวยอินเตอรเฟสจะเปนหนวยที่แยกออกมาจากระบบซีเอ็นซีสามารถทําการโปรแกรมไดอิสระ ซึ่งหมายความวา การเชื่อมโยงกันของหนาท่ีการทํางานตาง ๆ ของเครื่องจักรกลอยางสมเหตุสมผล จะกระทําไดโดยอาศัยคอมพิวเตอร การโปรแกรมหนวยอินเตอรเฟสนี้จะกระทําโดยบริษัทผูผลิตเครื่องจักรกล ซึ่งจะเปนโปรแกรมที่ตายตัว ไมสามารถปรับปรุงหรือแกไขโดยผูใชเครื่องจักรได สําหรับอินเตอรเฟสการควบคุมที่สามารถโปรแกรมไดโดยอิสระ จะมีชื่อเรียกยอ ๆ วา PC Programmable Control) คอมพิวเตอรของระบบซีเอ็นซีไมสามารถที่จะควบคุมการทํางานของเครื่องจักรกลไดโดยตรง จําเปนที่จะตองมีขั้นตอนการเชื่อมโยงสําหรับการเปลี่ยนแปลงคลื่นสัญญาณระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล รูปที่ 2.25 จะแสดงไดอะแกรมการควบคุมระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล

21

รูปที่ 2.25 การเปลี่ยนแปลงเคลื่อนสัญญาณควบคุมระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล

ขั้นตอนการเชื่อมโยงที่จุดตอระหวางคอมพิวเตอรกับเครื่องจักรกล จะประกอบดวยองคประกอบใหญ ๆ คือ อินเตอรเฟสการควบคุมการควบคุมแนวแกน และแหลงพลังงาน

2.14.2 อินเตอรเฟสการควบคุม (Control interface) อินเตอรเฟสการควบคุมนี้จะทําหนาท่ีแปลงคลื่นสัญญาณควบคุมที่สงมาจากระบบซีเอ็นซีใหเปนคลื่นสัญญาณที่เหมาะสมสําหรับเครื่องจักรกล กลาวคือ เงื่อนไขตาง ๆ ของเครื่องจักรกลที่จะไดรับผลกระทบจากสัญญาณควบคุม จะถูกนํามาพิจารณาประกอบดวยตัวอยาง สัญญาณควบคุมใหชุดขับแกน X ทํางานถูกสงมาจากระบบซีเอ็นซี หนวยอินเตอรเฟสการควบคุมก็จะเริ่มทําการตรวจสอบเงื่อนไขตาง ๆ วาเหมาะสมหรือไม เชน

1. ฝาครอบปองกันพ้ืนที่ทํางานปดหรือยัง ? 2. กลไกแมคคานิกสของมือหมุนถูกปลดหรือยัง ? 3. ระบบไฮดรอลิกสเปดทํางานหรือยัง ? เม่ือผลการตรวจสอบเงื่อนไขตาง ๆ เปนที่พอใจแลว ชุดขับแกน X ก็จะสามารถเริ่มทํางานได ซึ่งใน

ขณะเดียวกันการทํางานอื่น ๆ ท่ีสัมพันธก็จะเริ่มพรอม ๆ กันดวย เชน หลอดไฟสัญญาณการเคลื่อนที่ในแนวแกน X ติดสวางขึ้น เปนตน

2.14.3 การควบคุมแนวแกน (axis control) หนวยควบคุมแนวแกนจะมีหนาท่ีชวยใหการทํางานรวมกันของระบบวัดขนาดและระบบขับปอนกับ

คอมพิวเตอรของระบบซีเอ็นซีงายยิ่งขึ้น โดยจะทําการปรับสภาพการทํางานใหสอดคลองสัมพันธกันอยางอิสระ และเปนไปอยางอัตโนมัติ

22

2.14.4 การกําหนดตําแหนงแนวแกน (Axis positioning) หากไมคํานึงถึงองคประกอบพิเศษตาง ๆ ท่ีประกอบกันอยูในระบบซีเอ็นซีและหนาท่ีการทํางานตาง

ๆ ขององคประกอบเหลานี้ท่ีสัมพันธซึ่งกันและกันแลว โครงสรางของระบบซีเอ็นซีโดยทั่วไปจะประกอบดวยชิ้นสวนอิเล็กทรอนิกสจํานวนมาก รวมทั้งวงจรดิจิตอลเบื้องตน เชน วงจร AND วงจร OR และวงจรเปรียบเทียบ (comparison) รวมถึงวงจรควบคุมสําหรับการทํางานอ่ืน ๆ ดวย

เทคโนโลยีการเชื่อมตอของวงจรดิจิตอลท่ีแสดงในที่นี้ แตละวงจรจะประกอบดวย อินพุท (Input) 2 ทาง และเอาทพุท (Output) 1 ทาง ซึ่งในแตละกรณีของวงจรเหลานี้จะสามารถรับตําแหนงของเลขฐานสอง (binary status) ได เปน 1 กับ 0 (หรือปดกับเปด)

ในกรณีท่ีเปนวงจร AND บิท (Bit) ท่ีเอาทพุท C จะอยูในตําแหนงหนึ่ง เม่ือบิทของอินพุทที่ A และB เปนหนึ่งท้ังสองทาง

ในกรณีท่ีเปนวงจร OR บิทที่เอาทพุท C จะเทากับ 1 เม่ือบิทที่อินพุท A และ B อยางนอย 1 ทางเทากับ 1

ในวงจรเปรียบเทียบ (Comparison link) บิทที่เอาทพุท C จะเทากับ 1 เม่ือบิทที่อินพุท A และ B ท้ังสองทางเทากับ 1 หรือ เทากับ 0

การเชื่อมตอของบิทอินพุททั้งสองทางคือ A และ B กับบิทเอาทพุท C ไดแสดงเปนตารางประกอบไวในรูปที่ 2.26, 2.27 และ 2.28 ดวย ตารางนี้จะมีชื่อเรียกวา ตารางที่เปนจริง (truth tables)

รูปที่ 2.26 วงจร AND

23

รูปที่ 2.27 วงจร OR

รูปที่ 2.28 วงจรเปรียบเทียบ

24

2.15 ความรูพื้นฐานเกีย่วกับ CAD/CAM 2.15.1 Computer Aided Design (CAD) Computer Aided Design (CAD) คือ กิจกรรมการออกแบบใด ๆ ท่ีเก่ียวของกับการใชคอมพิวเตอรอยางมีประสิทธิภาพ ในการสราง ปรับปรุง หรือการเขียนแบบของการออกแบบทางวิศวกรรม ความจําเปนที่ตองใชระบบ CAD ชวยในการอกกแบบทางวิศวกรรม

1. เพ่ือปรับปรุงประสิทธิภาพของนักออกแบบคือจะชวยใหการออกแบบผลิตภัณฑพรอมทั้งสวนประกอบตาง ๆ ของผลิตภัณฑนั้น ๆ 2. เพ่ือปรับปรุงคุณภาพของการออกแบบ การใชระบบ CAD สวนของ Hard ware และ Soft ware สามารถใหนักออกแบบวิเคราะหงานทางดานวิศวกรรมไดสมบรูณ และทําไดจํานวนมากขึ้นและมีแบบตาง ๆ ใหเลือก อีกท้ังคุณภาพของงานก็จะดียิ่งขึ้น 3. เพ่ือปรับปรุงคุณภาพของตัวแบบและเอกสารที่ไดจากระบบ CAD จะใหผลที่ดีกวาแบบที่ทําดวยมือ แบบงานดานวิศวกรรมก็มีมาตรฐานทําใหอานไดงาย และจะมีความผิดพลาดนอย 4. เพ่ือใหเปนการสรางฐานขอมูลในการผลิต ในการที่จะออกแบบผลิตภัณฑ เชน รูปรางลักษณะทางเลขาคณิต ขนาดของสวนประกอบ คุณสมบัติชองวัสดุหรือราคาของวัสดุ ซึ่งขอมูลท่ีตองการมีจํานวนมากข้ึน สามารถใช CAD ชวยในการเก็บและคนหาขอมูลเหลานี้

2.15.2 ขบวนการในการออกแบบทางวิศวกรรม

1. คํานึงถึงความตองการที่จําเปน 2. กําหนดปญหา โดยคํานึงถึงลักษณะพิเศษ, หนาท่ี, ราคา, คุณภาพและการปฏิบัติ 3. การสรางความสัมพันธ คือ ความสัมพันธของงานแตละสวน 4. การประเมินผล 5. การนําเสนอที่เก่ียวกับเอกสารของแบบงานโดยแสดงความหมายของแบบ,คุณสมบัติ,รายการ,

สวนประกอบ, และฐานขอมูลในการผลิต 2.16 สวนประกอบที่สําคัญของ CAD

1. Geometric modeling เก่ียวกับการใชคอมพิวเตอรในการพัฒนารูปรางและลักษณะทางคณิตศาสตรของวัตถุ รูปรางลักษณะนี้เรียกวา Model และถูกบันทึกไวในหนวยความจําของคอมพิวเตอร Geometric models จะมีท้ัง Two Dimension และ Three Dimension

2. การวิเคราะหทางวิศวกรรม (Engineering Analysis) เชน การหาคา Stress และ Strain ของวัสดุ, การวิเคราะหการถายเทความรอน, การจําลองทางพลศาสตร

3. การประเมินผลการออกแบบ (Design Evaluation and Review) ประกอบดวยการตรวจสอบ Dimension, การใชจุดอางอิงชวยในการตรวจสอบ, Kinematics routines

4. Automation drafting ท่ีใหความเที่ยงตรงแมนยําและรวดเร็วในการผลติแบบและเอกสาร

2.16.1 สวนประกอบเบื้องตนของ CAD 1. Design Workstation 2. Process

25

3. Secondary storages 4. plotter and/or output devices

2.17 Computer Aided Manufacturing (CAM) Computer Aided Manufacturing (CAM) เปนระบบเทคโนโลยีคอมพิวเตอรท่ีใชในการวางแผนการจัดการ และควบคุมหนาท่ีของขบวนการผลิต ซึ่ง CAM สามารถแยกออกไดเปน 2 สวนคือ

2.18 สวนที่ใชในการวางแผน (Manufacturing Planning)

เก่ียวของกับการใชคอมพิวเตอรในงานดังนี้ 1. การประมาณราคา (Cost estimating)

ในการกะประมาณราคาของราคาผลิตภัณฑใหมจะใชโปรแกรมคอมพิวเตอรหาคาแรงงาน หาอัตราคาโสหุย ตามลําดับของแผนปฏิบัติในแตละสวนของผลิตภัณฑ โปรแกรมคอมพิวเตอรจะรวบรวมราคาในสวนประกอบนี้ Bill วัสดุของสวนวิศวกรรมเพื่อหาราคาของผลิตภัณฑใหม

2. การวางแผนการผลิต (Computer-aided Process Paining {CAPP}) ขบวนการวางแผนจะเกี่ยวของกับการจัดเตรียม route sheets ท่ีแสดงลําดับขั้นตอนการปฏิบัติงาน

และงานที่ตองการผลิตผลิตภัณฑและสวนประกอบของผลติภัณฑ 3. ขอมูลในการ Machinability (Computerized Machinability data System) ปญหาในการ

Operating ของเครื่องจักรที่ตัดโลหะคือ Speed, feed ท่ีควรเลือกใชใหเหมาะกับงานและเครื่องจักร ซึ่ง โปรแกรมคอมพิวเตอรนี้จะแนะนําเงื่อนไขที่ดีในการตัดแตละวัสดุ

4. ใชในการทํางานรวมกับเครื่อง NC (Computer assisted NC Part Programming) 5. พัฒนาเวลามาตรฐานในการทํางาน (Development of Work Standards) 6. ใชในการทํา Line balancing (Computer aided line balancing) คือตําแหนงของแตละงาน

ระหวางสถานีงานบนสายการประกอบที่มีจํานวนมากและมีปญหามาก ถาสายงานประกอบที่มีขนาดไมแตกตางกัน ซึ่งจะใชคอมพิวเตอรหาคําตอบของปญหาได 7. วางแผนผลิตภัณฑและสินคาคงคลัง (Production and Invent Planning) ในสวนของการวางแผนดานผลิตภัณฑ และสินคาคงคลังนี้จะมีหนาท่ีจัดเก็บและรวบรวมรายงานของสินคาคงคลัง รายงาน Stock แบบ อัตโนมัติ Production Scheduling, วางแผนความตองการวัสดุและการวางแผนกําลังการผลิต 2.19 สวนที่ใชในการควบคุม

1. ควบคุมการผลิต (Process Control) 2. ควบคุมคุณภาพ (Quality Control) 3. ควบคุมในระดับการผลิต (Shop floor Control) 4. รายงานการผลิต (Process monitoring)

2.19.1 ความเร็วในการกัด

26

ความหมายของการกดั (Milling Cutter) งานกัดเปนงานที่เกิดขึ้นจากการตัดเฉือนของมีดกัด ของคมตัดตั้งแตหนึ่งคมขึ้นไป ถึงหลาย ๆ คมการเคลื่อนที่ของคมตัด จะเคลื่อนที่หมุนรอบตัวเอง ซึ่งจะอยูในแนวดิ่ง หรือแนวนอนหรือในแนวเอียงมุมแบบตาง ๆ ได ลักษณะของคมตัดจะมีท้ังแบบตายตัว และแบบถอดเปลี่ยนคมได ขณะทําการกัดในกรณีท่ีมีดกัดมีคมกัดหลาย ๆ คม ซึ่งอยูรอบตัวมันเอง ในการหมนุกัด 1 รอบ มีดกัดจะกัดงานเสร็จเฉพาะฟน แลวเคลื่อนที่ฟรีไปชวงหนึ่งจงึหมุนกลับมาที่เดิมอีก จึงจะเริ่มกัดงานใหม การเวนวางเชนนี้จะเปนประโยชนใหกับคมของมีดกัดไดรับการระบายความรอนออกไปไดบาง ซึ่งผิดกับการกลึงงาน คมมีดจะกัดแตะผิวงานอยูตลอดเวลา เพราะฉะนั้นในการกัดชิ้นงาน จําเปนตองใชน้ํามันหลอเย็นมาชวยในการระบายความรอนซึ่งจะชวยใหความรอนที่เกิดจากการเสียดสรีะหวางคมกับชิ้นงานลดลงและไลเศษกัดออกจากผิวงานบริเวณตัดเฉือน ทําใหผิวงานเรียบ องคประกอบสําหรับงานกัด

1. เครื่องจักร 2. เครื่องมือ 3. รูปแบบชิ้นงาน 4. วัสดุชิ้นงาน 5. ความเร็วรอบ 6. อัตราปอน 7. ความเร็วตัด 8. ความลึกกัด 9. การหลอเย็น

ในการกัดชิ้นงานจําเปนที่จะตองทราบขอมูลตาง ๆ ท่ีกลาวมาตัวอยางดังนี้

2.19.2 ความเร็วตัด (Cutting Speed: Cs) หมายถึง ความยาวของเนื้อโลหะท่ีถูกตัดเฉือนผานปลายคมตัด ในระยะเวลา 1 นาที จะมี ความยาวเปนเมตร (เมตร/นาที) ความเร็วตัดของเครื่องกัด CNC จะขึ้นอยูกับ วัสดุแตละชนิด จากนั้นนําไปคิดความเร็วรอบจากสูตร

N =D

Cs1000

N = ความเร็วรอบของมีดกัด Cs = ความเร็วตัด เมตร/นาที D = ขนาดเสนผาศูนยกลางของมีด มิลลิเมตร

2.19.3 ความเร็วรอบ (Spindle Speed)

27

การตั้งคาความเร็วรอบจะคิดคาการสงกําลังตัดออกมาเปนคาความเร็วรอบตอนาที (Revolution per Minute: RPM) โดยคํานึงถึงชนิดของมีดกัด วัสดุมีดกัด ชนิดของวัสดุงาน อัตราการปอนกัด และสารระบายความรอนที่เหมาะสม หาไดจากสูตร

ความเร็วรอบ (RPM) = D

Cs*1000*

π

2.19.4 อัตราการปอนกดั (Feed Rate) อัตราการปอนกัดเปนมิลลิเมตรตอนาที (Feed Rate in Millimeters per Minute) โดยพิจารณาจากชนิดของมีดกัด และคาความเร็วของเพลามีด ดังสูตร อัตราการปอนกัด = อัตราการปอนกัดตอฟน (ม.ม.) x จํานวนฟน x ความเร็วรอบของมีดกัด (RPM)

2.19.5 การปอนกัดลึก (Depth of Cut) การปอนกัดลึกจะพิจารณาจากลักษณะความตองการของผิวงาน และองคประกอบตาง ๆ เชน อัตราการเคลื่อนที่ของงานประสทิธิภาพของเครื่องจักร งานกัดหยาบจะตั้งความลึกมากกวางานกัดละเอียด แตในทางปฏิบัติ มักจะใชความชํานาญของผูออกแบบ และผูปฏิบัติงานเปนหลัก และโดยมากจะเผื่อการกัดละเอียดประมาณ 1 ถึง 2 มิลลิเมตร 2.20 ขั้นตอนการติดตั้งโปรแกรม Mastercam V 9.0 System Requirements

Pentium or comparable processor Windows 98,ME,2000,NT,XP,2003 128 MB RAM 500 MB free hard disk space 16-bit display adapter at 800 x 600 resolution

System Recommended 1.0 GHz or better processor

Windows 98,ME,2000,NT,XP,2003 256 MB RAM 500 MB free hard disk space 32-bit color display adapter at 1024x768 resolution

2.20.1 ขั้นตอนการตดิตั้ง Mastercam V9.0 แสดงดังรูปที่ 2.29-2.39

28

1. เม่ือเริ่มทําการติดตั้ง Mastercam หนาตางแรกท่ีปรากฏ คือ Matercam Setup คลิก Next

รูปที่ 2.29

2. อานขอตกลงของโปรแกรม จากนั้น คลิก Yes เพ่ือดําเนินขั้นตอนตอไป

รูปที่ 2.30 3. พิมพชื่อ User name และ Company name โดยใชชื่ออะไรก็ไดแตไมควรใชเครื่องหมายทาง

คณิตศาสตร คลิก Next เพ่ือดําเนินขั้นตอนตอไป

29

รูปที่ 2.31

4. เลือกหนวยวัดที่จะใชเปนคาเริ่มตน (default) ในที่นี้เลือก ระบบ Metric Unit ซึ่งจะมีหนวยวัดเปน มม. โดยคลิกท่ี metric(mm) แลว คลิก Next>

รูปที่ 2.32 5. เลือก folder ท่ีจะทําการ Install แลวคลิก Next>

30

รูปที่ 2.33

6. เลือกโปรแกรมที่จะติดตั้ง ซึ่งมีสวนของ Design, Mill, Lathe, Wire และเลือกตัวอยางหรือถอดออกโดยคลิกในชองสี่เหลี่ยม แลวคลิก Next>

รูปที่ 2.34 7. เริ่มทําการติดตั้งโปรแกรม

31

รูปที่ 2.35

8. เม่ือ Install เสร็จโปรแกรมจะถามเกี่ยวกับการติดตั้ง Post processor คลิก Yes

รูปที่ 2.36

9. คลิก Next> Next> Next> โปรแกรมเริ่มทําการติดตั้ง เม่ือติดตั้ง Post processor เสร็จจะปรากฏกรอบขางลาง แลวคลิก Finish

32

รูปที่ 2.37 10. เลือกชนิดของ files ท่ีใชรวมกับ Mastercam คลิก Next>

รูปที่ 2.38

33

11. คลิก Finish เพ่ือสิ้นสุดการ Install

รูปที่ 2.39

34

2.21 หลักการใชงานโปรแกรมเบื้องตน Mastercam Interface

รูปที่ 2.40

การสรางรูปสี่เหลี่ยม ในการสรางรูปสี่เหลี่ยม โดยเลือกคําสั่งจาก Main menu (ตามรูปตัวอยาง)

รูปที่ 2.41

35

1. คลิก Create > Rectangle > 2 point

รูปที่ 2.42 สังเกตขอความที่ prompt area ท่ีดานลางของโปรแกรม

รูปที่ 2.43 2. พิมพคา Coordinate จุดแรกดานลางซาย ในที่นี้ X=0 Y=0 กด Enter 4. จากนั้นพิมพคา Coordinate จุดที่ 2 ดานบนขวาของรูปสี่เหลี่ยม ซึ่ง X=50 Y=100 กดEnter ซึ่ง

จะไดงานออกมาดังรูปขางลาง

รูปที่ 2.44

36

2.22 การ SAVE งาน 1. คลิก Main menu เพ่ือกลับออกจากโหมด Sketching

รูปที่ 2.45

2. คลิก File > Save จะปรากฏหนาตาง Save ขึ้นมา

รูปที่ 2.46 3. พิมพชื่อ File ลงไป คลิก Save

รูปที่ 2.47

37

2.23 การเปดไฟล 1. คลิก File ท่ี main menu ดังรูป

รูปที่ 2.48 2. คลิก Get เพ่ือทําการเปดแฟมขอมูลท่ี Save ไว 3. จะปรากฏหนาตาง Open ขึ้นมา เลือกแฟมที่ตองการเปด

รูปที่ 2.49

4. คลิก Open เพ่ือทําการเปดแฟม

2.24 ตัวอยางการใชโปรแกรม Mastercam V9

38

ตัวอยาง T1: D10 mm Drill T2: D5 mm Endmill Stock: พลาสติก 100X100X20 มม.

รูปที่ 2.50

ขั้นตอนการทํางาน 1. เปด โปรแกรม MasterCam 2. คลิก Create > Rectangle เลือก 2 Points

รูปที่ 2.51 พิมพคาจุดที่มุมลางซาย คือ -50,-50 กด Enter

39

พิมพคาจุดที่มุมบนขวา คือ 50,50 กด Enter จะไดรูปสี่เหลี่ยมดังรูป

รูปที่ 2.52

3. สรางรูปวงกลมใหญกลางรูปสี่เหลี่ยม Create > Arc > Circ pt+dia

รูปที่ 2.53 พิมพคา Diameter วงกลม = 80 มม. จากนั้นคลิกท่ีศูนยกลางรูปสี่เหลี่ยม จะได

40

รูปที่ 2.54

4. สรางวงกลมเล็ก Dia. 10 mm ท่ีพิกัด 40,40 / -40,-40/ 40,-40 / -40,40 จะได

รูปที่ 2.55

5. สรางรูปสี่เหลี่ยมใหเปน Solid กอนทําการ Extrude เลือกมุมมอง Isometric โดยคลิกขวา เลือก

Isometric จากนั้นทําการ Extrude โดย คลิก Solids > Extrude

รูปที่ 2.56

41

คลิกท่ีเสนรูปสี่เหลี่ยม คลิก Done เลือก reverse เพ่ือ Extrude ลงดังรูป

รูปที่ 2.57

จากนั้น คลิก Done แลวปอนคาความหนาของชิ้นงาน เทากับ 15 มม. คลิก OK

รูปที่ 2.58

42

รูปที่ 2.59

6. สรางรูปวงกลมใหยุบลง Solid > Extrude คลิกท่ีรูปวงกลมรูปใหญ แตตางตรงที่เปลี่ยนคา Create Body เปนคา Cut Body ดังรูป

รูปที่ 2.60

43

7. รูปสี่เหลี่ยมเล็กก็ทําเชนกัน คือ Solids > Extrude คลิกท่ีรูปวงกลม ท้ัง 4 คลิก Done เลือกทิศทางลง คลิก Done จะปรากฏ Dialog box

รูปที่ 2.61

คลิก Ok จะไดดงัรูป

รูปที่ 2.62

44

ขั้นตอนในการสราง Stock เลือก Tool และเลือก Toolpath 1. คลิก Toolpaths > Operation จะปรากฏ Dialog box ดังรูป จากนั้น คลิกขวา เลือก

toolpath>pocket ดังรูป

รูปที่ 2.63 คลิกท่ีวงกลมรูปใหญ คลิก Done แลวจะปรากฏ Dialog box คลิก ขวา เลือก get tool from library ดังรูป

45

รูปที่ 2.64

รูปที่ 2.65

เลือก tool (flat endmill diameter 5 mm) คลิก Ok

46

ปอนคาความลึกในการกัดชิ้นงาน(Depth-คาระดับความลึกการกัดชิ้นงานของ tool) =-5 คลิก Ok

รูปที่ 2.66

ทําการเจาะรูท้ัง 4 รู 2. คลิก Toolpaths > Operation จะปรากฏ Dialog box ดังรูป จากนั้น คลิกขวา เลือก

toolpath>Drill ดังรูป

รูปที่ 2.67

47

คลิก manual เลือกวงกลมทั้ง 4 รูป คลิก Done ทําการเลือก tool ใช Drill Diameter 10 mm

รูปที่ 2.68

รูปที่ 2.69

48

ดังนั้น จะไดชิ้นงาน ดังรูป

รูปที่ 2.70

หมายเหตุ คาอัตราปอน,ความเร็วรอบ ฯลฯ โปรแกรมจะคํานวณใหกรณีเราเลือกชนิดของวัสดุแลว ขั้นตอนในการทํา NC Code เลือกการทํางานทั้งหมด คลิก select all จากนั้น คลิก Post

รูปที่ 2.71

49

จะปรากฏ Dialog box ดังรูป เลือก Post processor ใหถูกชนิดกับเครื่องจักร คลิก ถูก ท่ีชอง Save NC file คลิก Ok

รูปที่ 2.72 จะได NC Code ดังรูป

รูปที่ 2.73

50

2.25 ตัวอยาง NC CODE File % O0001 (PROGRAM NAME - T003 ) (DATE=DD-MM-YY - 24-08-03 TIME=HH:MM - 00:03 ) N100 G21 N102 G0 G17 G40 G49 G80 G90 / N104 G91 G28 Z0. / N106 G28 X0. Y0. / N108 G92 X0. Y0. Z0. ( 5. FLAT ENDMILL TOOL - 1 DIA. OFF. - 1 LEN. - 1 DIA. - 5. ) N110 T1 M6 N112 G0 G90 X-.086 Y-37.25 S1909 M3 N114 G43 H1 Z50. N116 Z10. N118 G1 Z-10. F1.8 N120 X.086 F190.9 N122 G3 X16.237 Y-33.525 I-.086 J37.25 N124 G1 X-16.237 N126 G2 X-22.35 Y-29.8 I16.237 J33.525 N128 G1 X22.35 N130 G3 X26.602 Y-26.075 I-22.35 J29.8 N132 G1 X-26.602 N134 G2 X-29.8 Y-22.35 I26.602 J26.075 N136 G1 X29.8 N138 G3 X32.259 Y-18.625 I-29.8 J22.35 N140 G1 X-32.259 N142 G2 X-34.14 Y-14.9 I32.259 J18.625 N144 G1 X34.14 N146 G3 X35.534 Y-11.175 I-34.14 J14.9 N148 G1 X-35.534 N150 G2 X-36.497 Y-7.45 I35.534 J11.175 N152 G1 X36.497 N154 G3 X37.063 Y-3.725 I-36.497 J7.45 N156 G1 X-37.063 N158 G2 X-37.25 Y0. I37.063 J3.725 N160 G1 X37.25 N162 G3 X37.063 Y3.725 I-37.25 J0.

51

N164 G1 X-37.063 N166 G2 X-36.497 Y7.45 I37.063 J-3.725 N168 G1 X36.497 N170 G3 X35.534 Y11.175 I-36.497 J-7.45 N172 G1 X-35.534 N174 G2 X-34.14 Y14.9 I35.534 J-11.175 N176 G1 X34.14 N178 G3 X32.259 Y18.625 I-34.14 J-14.9 N180 G1 X-32.259 N182 G2 X-29.8 Y22.35 I32.259 J-18.625 N184 G1 X29.8 N186 G3 X26.602 Y26.075 I-29.8 J-22.35 N188 G1 X-26.602 N190 G2 X-22.35 Y29.8 I26.602 J-26.075 N192 G1 X22.35 N194 G3 X16.237 Y33.525 I-22.35 J-29.8 N196 G1 X-16.237 N198 G2 X-.086 Y37.25 I16.237 J-33.525 N200 G1 X.086 N202 G0 Z50. N204 X37.5 Y0. N206 Z10. N208 G1 Z-10. F1.8 N210 G3 X0. Y37.5 I-37.5 J0. F190.9 N212 X-37.5 Y0. I0. J-37.5 N214 X0. Y-37.5 I37.5 J0. N216 X37.5 Y0. I0. J37.5 N218 G0 Z50. N220 M5 N222 G49 Z50. N224 G91 G28 Z0. N226 G28 X0. Y0. A0. N228 M01 ( 10. DRILL TOOL - 2 DIA. OFF. - 2 LEN. - 2 DIA. - 10. ) N230 T2 M6 N232 G0 G90 X-40. Y-40. S0 M5 N234 G43 H2 Z10. N236 M8

52

N238 G99 G81 Z-23.004 R10. F2.4 N240 Y40. N242 X40. N244 Y-40. N246 G80 N248 M5 N250 G49 Z10. N252 G91 G28 Z0. M9 N254 G28 X0. Y0. A0. N256 M30 %

53

บทที่ 3 การใชคําสั่ง Create

3.1 Point and the Point Submenu

Point : เปนคําสั่งวาดรูปโดยมี (+) เปนเครื่องหมาย โดยที่จุดนั้นสามารถอางอิงไดถึงการสรางรูปนั้นๆ ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Point : Create > Point ซึ่งในคําสั่งยอยของ Point จะมีอยู 10 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Position เปนการสรางจุดโดยที่เลือกจากคําสั่งตางๆดังนี้ - Origin - Point - Center - Last - Endpoint - Relative - Intersec - Quadrant - Midpoint - Sketch

Along ent การสรางจุดจากเสนที่วาดหรือท่ีมีอยูโดยที่ระยะหางระหวางจุดนั้นมี ขนาดระยะทางที่เทากัน

Node pts การเรียกจุดที่ใชสราง parametric spline curve กลับมาใชงาน Cpts NURBS การเรียกจุดควบคุม NURBS Curve หรือ 3D surface กลับมาใชงาน Dynamic การสรางจุดจากเสนที่มีอยูตลอดทั้งเสนโดยที่ใช mouse ในการกําหนดจุด Length การสรางจุดจากเสนที่มีอยูโดยที่กําหนดระยะจากจุดสิ้นสุด Slice การสรางจุดตัดตรงตําแหนงของ Plane Srf project การสรางจุดบนพื้นผิว(surface)โดยที่จุดเหลานั้นตองอยูบนพื้นผิวโดยตรง Grid การสรางจุดที่มีลักษณะเปนตารางเรียงกันเปนแนว(Grid) Boltcircle การสรางจุดที่มีลักษณะวนเปนเกลียวเหมือนเกลียวน็อต

Create > Point > Position

การใชคําสั่ง Position เพ่ือใชในการสรางจุดโดยใชตําแหนงในการสราง (Position) ซึ่งจะมีคําสั่งยอย 10 คําสั่งตางๆดังนี้

Origin - คําสั่งสรางจุดที่จุด Origin (0,0,0) ของหนาจอ Center - คําสั่งสรางจุดโดยจากการเลือกรูปที่ตองมีจุดศูนยกลาง เชน วงกลม,

สวนโคง

54

Endpoint - คําสั่งสรางจุดโดยจาการที่เลือกจากจุดปลายของเสนตรง , สวนโคงและอ่ืนๆ Intersec - คําสั่งสรางจุดจากการเลือกใชจุดตัดกันเชน เสนตรงกับเสนตรง เสนตรงกับ

สวนโคงและอ่ืนๆ Midpoint - คําสั่งสรางจุดที่ก่ึงกลางโดยจากการเลือกเสนที่มีอยูแลว Point - คําสั่งสรางจุดโดยที่เลือกจากจุดที่มีอยู Last - คําสั่งสรางจุดเลือกจากจุกท่ีสรางเปนจุดสุดทาย Relative - การสรางจุดโดยที่ใหใกลเคียงกับระยะทางของจุดที่มีอยู โดยที่คาระยะทางที่

ใสไปตองมีขนาดใกลเคียงกับขนาดจริง Quadrant - การสรางจุดโดยที่แบง1/4 ของวงกลมบนสวนโคงท่ีมีอยู Sketch - คําสั่งสรางจุดโดยที่ใช mouse เลื่อนไปสรางจุดตามตองการ

จากคําสั่งขางตนสามารถแสดงไดดังรูปตอไปนี้

รูปที่ 3.1

55

Create > Point > Along ent Along ent : การสรางจุดจากเสนที่วาดหรือท่ีมีอยูโดยท่ีระยะหางระหวางจุดนั้นมีขนาด

ระยะทางที่เทากัน วิธีปฏิบัติ

1. เลือกเสนตางๆที่มีอยู เชน เสนตรง วงกลม 2. ใช mouse คลิกไปเสนตรงที่ตองการ หนาจอจะขึ้นใหใสจํานวนแลวกด Enter จุดจะขึ้น

ตามที่ตองการ แสดงดังรูปที่ 3.2

รูปที่ 3.2

Create > Point > Node pts

Node pts : การเรียกจุดที่ใชสราง parametric spline curve กลับมาใชงาน ดังรูปที่ 4.5 วิธีปฎิบัติ

สราง parametric spline curve แลวเลือก parametric spline Tips – ถาเลือกเสนที่มาทําผิด หนาจะจะขึ้นวา “ try again “ ตอจากนั้นกดปุม Esc เพ่ือออกจากการเลือกนั้น

รูปที่ 3.3

56

Create > Point > Cpts NURBS Cpts NURBS : การเรียกจุดควบคุม NURBS Curve หรือ 3D surface กลับมาใชงาน วิธีปฏิบัติ

สราง NURBS spline แลวเลือก NURBS Curve หรือ 3D surface Tips – 1.จุดพวกนี้จะเปนจุดที่ควบคุมสวนโคงหรือพ้ืนผิวตางๆ (ดังรูปที่ 3.4 ) 2. ถาเลือกเสนที่จะมาทําผิด หนาจอ หนาจะจะขึ้นวา “ try again “ ตอจากนั้นกดปุม Esc เพ่ือออกจากการเลือกนั้น

รูปที่ 3.4

Create > Point > Dynamic

Dynamic : การสรางจุดจากเสนที่มีอยูตลอดทั้งเสนโดยที่ใช mouse ในการกําหนดจุด (ดังรูปที่ 4.7 ) วิธีปฏิบัติ 1. เลือกเสนตางๆ ท่ีมีอยู เชน เสนตรง วงกลม 2. เลื่อน mouse ไปที่เสนตองการและคลิกท่ีปุมซายของ mouse เพ่ือท่ีจะสรางจุด ( กดปุม Esc เม่ือ

ตองการออกจากคําสั่ง ) Note – คําสั่งนี้สามารถสรางจุดไดมากมายตามที่ตองการทุกตําแหนงตลอดทั้งเสนที่เลือก

รูปที่ 3.5

57

Create > Point > Length Length : การสรางจุดจากเสนที่มีอยูโดยที่กําหนดระยะจากจุดสิ้นสุด ( ดังรูปที่ 4.8 )

วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตางๆ เชน เสนตรง วงกลม 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่ตองการ หนาจอจะขึ้นใหใสระยะหาง โดยที่จะวัดจากจุดสุดทายของ

การสรางเสน แลวกดปุม Enter ( กดปุม Esc เม่ือตองการออกจากคําสั่งนั้น )

รูปที่ 3.6 3.2 Line and Line Submenu Line เปนคําสั่งท่ีใชวาดเสนตางๆบนหนาจอ โดยที่เสนนั้นสามารถที่จะเปนแนวตั้ง , แนวนอน หรือแนวอ่ืนๆสามารถที่จะสรางรูปแบบไดตางๆมากมายดังรูปที่ 3.7

รูปที่ 3.7

ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Line : Create >line ซึ่งในคําสั่งยอยของ Line จะมีอยู 10 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆดังนี้

58

รูปที่ 3.8

Note – สามารถเปลี่ยนรูปแบบและความหมายของเสนไดโดยกดปุม Style/Width จาก MAIN MENU ดังท่ีกลาวไปแลว

Create > Line > Horizontal Horizontal : การสรางเสนตรงในแนวนอน ( ดังรูปที่ 4.13 )

วิธีปฏิบัติ วิธีท่ี1 ใช mouse เลือกตําแหนง P1 จากนั้นเลือกตําแหนง P2 โดยใช mouse คลิกท่ีจุดใดก็ได วิธีท่ี2 1 ใสคาจุด P1 โดยเทียบกับจุด coordinate แลวกด Enter

2 ใสคาจุด P2 โดยเทียบกับจุด coordinate เหมือนกัน แลวกด Enter จากนั้นหนาจอจะขึ้นใหใสคา y โดยเทียบกับ coordinate แลวกด Enter ( กดปุม Esc เม่ือตองการออกจากคําสั่ง )

59

รูปที่ 3.9

Create > Line > Vertical Vertical : การสรางเสนตรงในแนวตั้ง ดังรูป 3.10 วิธีปฏิบัติ

วิธีท่ี1 ใช mouse เลือกตําแหนง P1จากนั้นเลือกตําแหนง P2 โดยใช mouse คลิกท่ีจุดใดก็ได วิธีท่ี2 1. ใสคาจุดP1 โดยเทียบกับจุด coordinate แลวกด Enter

2. ใสคาจุดP2โดยเทียบกับจุด coordinate เหมือนกัน แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคา x โดยเทียบกับ coordinate แลวกด Enter ( กดปุม Esc เม่ือตองการออกจากคําสั่ง )

รูปที่ 3.10

Create > Line > Endpoint

Endpoint : การสรางเสนโดยที่มีจุดสิ้นสุด 2จุด ( ดังรูปที่ 3.11 ) วิธีปฏิบัติ

ใช mouse คลิกไปท่ีจุดใดก็ไดโดยที่ใหจุดแรกเปน P1 และจุดสุดทายเปน P2

60

รูปที่ 3.11

Create > Line > Multi Multi : การสรางเสนตรงโดยที่จุดสุดทายของเสนนั้นจะเปนจุดเริ่มตนของอีกเสนหนึ่งทําไปเรื่อยๆจน

เปนลูกโซ ( ดังรูปที่ 4.16 ) วิธีปฏิบัติ

ใช mouse คลิกไปที่จุดใดก็ไดโดยที่ใหจุดแรกเปนP1 คลิกจุดตอไปเรื่อยๆ เสนจะตอกันเองโดยอัตโนมัติ ( กดปุม Esc หรือกดปุม BACKUP เม่ือตองการออกจากคําสั่ง )

รูปที่ 3.12

61

Create > Line > Polar Polar : การสรางเสนโดยที่เทียบกับจุด coordinate ( ดังรูปที่ 3.13 )

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse เลือกกําหนดจุด P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคามุมที่เทียบกับจุด coordinate แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความยาว แลวกด Enter

รูปที่ 3.13 Create > Line > Tangent Tangent : การสรางเสนตรงใหไปสัมผัสสวนโคงหรือวงกลม ซึ่งมีคําสั่งอยู 3 คําสั่ง ดังนี้ Angle การสรางเสนตรงโดยที่กําหนดมุมและความยาวที่จะไปสัมผัสกับสวนโคง 2 arcs การสรางเสนใหสัมผัสกับสวนโคงท้ัง 2 สวนโคง Point การสรางเสนตรงใหไปสัมผัสสวนโคงหรือเสนตรงไปจนถึงจุดที่กําหนด Create > Line > Polar > Angle

Angle : การสรางเสนตรงโดยที่กําหนดมุมและความยาวที่จะไปสัมผัสกับสวนโคง วิธีปฏิบัติ 1. สรางสวนโคงหรือวงกลมใหคลายกับรูปใดรูปหนึ่ง ( ดังรูปที่ 3.14 ) 2. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคง 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคามุมที่เทียบกับจุด coordinateแลวกดEnter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความยาวของเสน แลวกดEnter 5. ใช mouse คลิกเสนที่ตองการจะเก็บไว ( สวนเสนที่เกินจากสวนโคงจะถูกลบทิ้ง )

62

Note – ในการสรางจะมีสวนของเสนตรงอยู 2 เสน ในวิธีปฏิบัตินี้ จะตองเลือกเก็บไวเพียง 1เสน

รูปที่ 3.14

Create > Line > Angle > Point Point : การสรางเสนตรงใหไปสมัผัสกับสวนโคงหรือเสนโคงไปจนถึงจุดที่กําหนด ( ดังรูปที่ 3.15)

วิธีปฏิบัติ 1. สรางสวนโคง 2. ใช mouse เลือกสวนโคงนั้นใหสวนโคงนั้นเปน P1 3. กําหนดจุดสิ้นสุดโดยใช mouse คลิกโดยใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสความยาวของเสนตรง แลวกด Enter

Note – ระยะทางระหวางจุดที่สัมผัสจนไปถึงจุด P2 จะถูกคํานวณโดยอัตโนมัติ

รูปที่ 3.15

63

Create > Line > Perpendclr Perperdclr : การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากกับเสนตรง , สวนโคง , หรือ NURBS curve โดยมีคําสั่ง 2

คําสั่ง ดังนี้ Point การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากกับเสนตรง , สวนโคงหรือเสนโคงอีกเสน Arc การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากโดยที่เสนตรงตั้งฉากนั้นเปนเสนสัมผัสสวนโคง

Create > Line > Perpendclr > Point

Point : การสรางเสนตรงใหไปตัง้ฉากกับเสนตรง , สวนโคง หรือเสนโคงอีกเสนหนึ่ง (ดังรูปที่ 3.16) วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2. ใช mouse เลือกเสนตรงหรือสวนโคงโดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouseคลิดเลือกจุดใดก็ไดใหเปนจุดสิ้นสุดโดยที่ใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสความยาวของเสนตรง แลวกด Enter

Note – ดังรูป เสนที่สรางนั้นจะไมมีทางที่เสนมาตั้งฉากนั้นจะไปตัดกับเสนตรงหรือเสนโคงท่ีเลือก Mastercam จะคํานวณโดยอัตโนมัติ เพ่ือท่ีจะไมใหเสนที่ไปตัดกับเสนตรงหรือสวนโคง

รูปที่ 3.16

Create > Line > Perpendclr > Arc

Arc : การสรางเสนตรงใหไปตั้งฉากโดยท่ีเสนตรงตั้งฉากนั้นเปนเสนสัมผัสสวนโคง ( ดังรูปที่ 4.22 ) วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงโดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคงแลวเสนสัมผัสจะมาตั้งฉากกับสวนโคงโดยที่ใหสวนโคงนั้นเปนP2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสความยาวของเสนที่ตั้งฉาก แลวกด Enter

64

5. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่ตั้งฉากเสนใดเสนหนึ่งเก็บไว โดยท่ีใหเสนนั้นเปน P3

รูปที่ 3.17

3.3 Arc and the Arc Submenu คําสั่ง Arc เปนคําสั่งใชในการสรางสวนโคงวงกลมและวงกลม ในรูปที่ 4.25 และแสดงสวนโคงวงกลมและวงกลมที่สามารถสรางไดหลายแบบ MASTERCAM จะแบงการสรางสวนโคง วงกลมออกเปน 4 วิธี และวงกลมแบงออกเปน 5 วิธี

รูปที่ 3.18

ใน MASTERCAM สวนโคงและวงกลมสามารถสรางโดยใชคําสั่งไดหลายอยาง โดยเลือกคําสั่ง Create > Arc จาก MAIN MENU จากนั้นก็จะเห็นเมนูยอยของสวนโคง โดยที่รูปรางของสวนโคงนั้น จะเปนไปตามคําสั่งดังตอไปนี้ ซึ่งในคําสั่งยอยของ Arc จะมีอยู 9 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆ ดังนี้

Create > Arc > Polar สรางสวนโคงใชเทียบกับจุด coordinate ในคําสั่ง Polar จะมีอยู 4 คําสั่ง ดังนี้

Create > Arc > Polar > Center pt การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย ( ดังรูปที่ 3.19 )

65

วิธีปฏิบัติ 1. หนาจอจะขึ้นใหใส จุดศูนยกลาง แลวกดEnter 2. หนาจอจะขึ้นใหใส รัศมี แลวกดEnter 3. หนาจอจะขึ้นใหใส มุมเริ่มตน แลวกดEnter 4. หนาจอจะขึ้นใหใส มุมสุดทาย แลวกดEnter

รูปที่ 3.19

Create > Arc > Polar > Sketch การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย โดยที่เลือกมุมตางๆ นั้นมาจากการใช mouse ( ดังรูปที่ 3.20 )

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดศูนยกลาง โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคา รัศมี แลวกด Enter 3. ใช mouse คลิกเลือกตําแหนงโดยที่ใหจุดนั้นเปนP2 และP3 ตามลําดับ

รูปที่ 3.20

66

Create > Arc < Polar > Start pt การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย โดยที่เลือกมุมตางๆ นั้นมาจากการใช keyboard( ดังรูปที่ 3.21 )

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดเริ่มตน โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคา รัศมี แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมเริ่มตน แลวกด Enter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมสุดทาย แลวกด Enter

รูปที่ 3.21

Create > Arc < Polar > Endpoint pt การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดศูนยกลาง , รัศมี , มุมเริ่มตน และมุมสุดทาย โดยที่เลือกมุมตางๆ นั้นมาจากการใช keyboard( ดังรูปที่ 3.22)

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดสุดทายโดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคา รัศมี แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมเริ่มตน แลวกด Enter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคา มุมสุดทาย แลวกด Enter

รูปที่ 3.22

67

Create > Arc > Endpoints Endpoint : การสรางสวนโคงโดยที่กําหนดจุดปลาย 2 จุดและรัศมี โดยท่ัวไปแลวการสรางแบบนี้จะมีสวนโคงใหเลือก 2 เสน จึงทําใหสามารถเปลี่ยนไดตามตองการ

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเพ่ือกําหนดจุดแรก โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. ใช mouse คลิกเพ่ือกําหนดจุดที่2 โดยที่ใหจุดนั้นเปน P2 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter 4. ใช mouse คลิกเพ่ือเลือกสวนโคงท่ีตองการ โดยที่ใหจุดนั้นเปน P3

Tips- ในตัวอยางจะเห็นไดวามีสวนโคงใหเลือกท้ังหมด 4 เสน ในการเลือกสวนโคงท่ีตองการนั้นใช mouse คลิกเลือกจุดจากสวนโคงปด

รูปที่ 3.23

Create > Arc > 3 Points 3 point : การสรางสวนโคงท่ีลากผานจุด 3 จุดที่เลือก โดยที่จุดแรกกับจุดที่ 3เปนจุดปลายของสวนโคง

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเพ่ือกําหนดจุดแรก โดยที่ใหจุดนั้นเปน P1 2. ใช mouse คลิกเพ่ือกําหนดจุดที่2 โดยที่ใหจุดนั้นเปน P2 3. ใช mouse คลิกเพ่ือกําหนดจุดที่3 โดยที่ใหจุดนั้นเปน P3

Note- 3 จุดที่เลือกนั้นอาจไมเหมือนกันทุกเสน

รูปที่ 3.24

68

Create > Arc > Tangent Tangent : การสรางสวนโคงจากการใชเสนสัมผัส 1เสน , 2 เสน , 3 เสน หรือสวนโคง ในคําสั่ง Tangent

รูปที่ 3.25

Create > Arc > Tangent > 1 entity 1 entity : การสรางสวนโคง 180 °โดยใชเสนสัมผัสท่ีเลือกมา 1เสน วิธีปฏิบัติ

1. สรางเสนตรง 1 เสน แลวกําหนดใหเสนตรงเสนนั้นเปนเสนสัมผัสวงกลม โดยที่ใหเปน P1 2. ใชmouse คลิกเลือกจุดที่จะเปนจุดสัมผัส โดยที่ใหเปน P2 3. หนาจดจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter 4. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคงท่ีตองการและกําหนดจุดที่สวนโคงนั้นเปนจุดP3

tips – ในตัวอยางจะเห็นไดวามีสวนโคงใหเลือก 4 เสน จึงตองใช mouse เลือกสวนโคงท่ีตองการ

รูปที่ 3.26

69

Create > Arc > Tangent > 2 entity 2 entity : การสรางสวนโคง 360 ° โดยใชเสนสัมผัสท่ีเลือกมา 2 เสน

วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2เสน 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหมาเปนสัมผัส โดยที่ใหเปนP1 4. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหมาเปนสัมผัส โดยที่ใหเปนP2

Tips – 1. ควรเลือกเสนที่ใกลท่ีสุดใหมาเปนจุดสัมผัส 2. ถาใสคารัศมีมากเกินไป MASTERCAM จะแสดงเสนโคงออกมาหลายเสน จึงตองตัดสินใจเลือกเพียง 1เสน

รูปที่ 3.27

Create > Arc > Tangent > 3 entity

3 entity : การสรางสวนโคง โดยที่ลากผานเสนสัมผัสท้ัง 3 เสน โดยใชเสนสัมผัสท่ีเลือกมา 3 เสน วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 3 เสน 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงหรือสวนโคง โดยที่ใหเปนP1 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงหรือสวนโคง โดยที่ใหเปนP2 4. ใช mouse คลิกเลือกเสนตรงหรือสวนโคง โดยที่ใหเปนP3

Tips – 1. ควรเลือกเสนที่ใกลท่ีสุดใหมาเปนจุดสัมผัส 2. การใชคําสั่งในการเลือกนั้นจะมีผลกับทิศทางของสวนโคง

70

รูปที่ 3.28

Create > ARC > Tangent > Center line Center line : การสรางสวนโคง 360 °โดยที่มีเสนตรง 1 เสนเปนเสนสัมผัสวงกลมและมีเสนตรงอีกเสนลากผานจุดศูนยกลาง

วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรง 2 เสนที่ไมขนานกัน 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหเปนเสนสัมผัสวงกลม โดยท่ีใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่อยูในวงกลมและผานจุดศูนยกลางวงกลม โดยที่ใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมีของวงกลม แลวกด Enter 5. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคงท่ีตองการ โดยท่ีใหเปนP3

Tips- 1. ในตัวอยางจะมี 2 สวนโคงใหเลือก จึงตองตัดสินใจเลือกสวนโคงในขั้นตอนสุดทาย 2. เสนที่สัมผัสและเสนผานจุดศูนยกลางนั้น ตองไมขนานกัน

รูปที่ 3.29

71

Create > Arc > Tangent > Point Point : การสรางสวนโคงโดยที่มีเสนสัมผัสและสวนโคงนั้นผานจุดที่เลือก

วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหรือสวนโคง 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใหเปนเสนสัมผัสวงกลม โดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกกําหนดจุดที่จะใหเสนโคงผานจุดนั้น โดยที่ใหเปน P2 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมีแลวกด Enter 5. ใช mouse คลิกเลือกสวนโคง โดยกําหนดจุดบนสวนโคงท่ีตองการ โดยท่ีใหเปนP3

Tips – 1. ควรเลือกเสนที่ใกลท่ีสุดใหมาเปนจุดสัมผัส 2. ถามีสวนโคงใหเลือกมากกวา 1 เสนใหใช mouse เลือกบนจุดที่สวนโคงท่ีตองการ

รูปที่ 3.30

Create > Arc > Circ 2 pts Circ 2 pts : การสรางวงกลมโดยกําหนดจุด2 จุด โดยที่จุดนั้นอยูบนเสนรอบวง

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรก โดยที่ใหเปน P1 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่2 โดยที่ใหเปน P2

รูปที่ 3.31

72

Create > Arc > Circ 3 pts Circ 3 pts : การสรางวงกลมโดยกําหนดจุด3 จุด แลวจุด 3 จุดนั้นจะอยูบนเสนรอบวงโดยที่ 3 จุดนั้นไมอยูในแนวเสนตรงเดียวกัน

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรก โดยที่ใหเปน P1 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่2 โดยที่ใหเปน P2 3. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่3 โดยที่ใหเปน P3

รูปที่ 3.32

Create > Arc > Circ pt+rad

Circ pt+rad : การสรางวงกลมโดยกําหนดจุดศูนยกลางและรัศมี วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกกําหนดจุดศูนยกลาง โดยที่ใหเปนP1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter

รูปที่ 3.33

73

Create > Arc > Circ pt+dia Circ pt+dia : การสรางวงกลมโดยที่กําหนดจุดศูนยกลางและเสนผานศูนยกลาง

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกกําหนดจุดศูนยกลาง โดยที่ใหเปนP1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคาเสนผานศูนยกลาง แลวกด Enter

รูปที่ 3.34

Create > Arc > Circ pt+edge Circ pt+edge : การสรางวงกลมโดยที่กําหนดจุดศูนยกลางและจุดที่อยูบนเสนรอบวง

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกกําหนดจุดศูนยกลาง โดยที่ใหเปน P1 2. ใช mouse คลิกกําหนดจุดซึ่งจะเปนจุดบนเสนรอบวงโดยที่ใหเปน P2

รูปที่ 3.35

74

3.4 Fillet and the Fillet Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Fillet: Create > Fillet ซึ่งในคําสั่งยอยของ Fillet จะมีอยู 4 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆ ดังนี้ การสราง Fillet ระหวางเสนตรง 2 เสน วิธีปฏิบัติ

1. สรางเสนตรง 2 เสน เลือก 2. เปลี่ยนคา Fillet ( รัศมี , มุม , และคําสั่งลบมุม ) ตามตองการ 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนแรก โดยที่ใหเปน P1 4. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่2 โดยที่ใหเปน P2

รูปที่ 3.36

คําสั่งท่ีสราง Fillet หลายๆมุมจากเสนที่ยาวตอกันเรื่อยๆพรอมกันในคราวเดียว วิธีปฏิบัติ

1. สรางเสนตรงที่ตอกันไปเรื่อยๆโดยใชคําสั่ง Create > Line > Multi 2. เลือกและเปลี่ยนคา Fillet ( รัศมี , มุม , และคําสั่งลบมุม ) ตามตองการ 3. เลือกคําสั่ง Chain ใช mouse คลิกเลือกเสนที่จะใชคําสั่ง Chain โดยที่ใหเปนP1 4. เลือกคําสั่ง Done

รูปที่ 3.37

75

3.5 Spline and the Spline Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Spline: Create > Spline ในการสรางเสนโคงจะมีเสนโคงอยู 2 แบบ คือ Parametric spline ( Type P ) และ NURBS spline ( Type N ) NURBS ยอมาจาก Non-Uniform Retional B-Spline curveหรือ surface โดยทั่วไป NURBS จะเปนเสนโคงท่ีมีความราบเรียบสม่ําเสมอ และงายตอการแกไข โดยท่ีกดไปที่จุดตางๆ แลวควบคุม เปนเครื่องมือท่ีมีประโยชนมากมาย ในการสรางเสนโคงและพ้ืนผิวตางๆ สําหรับอุตสาหกรรม ซึ่งในคําสั่งยอยของ Spline จะมีอยู 4 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆดังนี้ คําสั่ง Ends เปนคําสั่งท่ีเปลี่ยนความชันของเสนโคงท่ีจุดเริ่มตนและจุดสุดทาย ถาไมใสคาอะไรเลยใหใสคาตัว N

Create > Spline > Manual การสราง Spline โดยตองกําหนดจุดควบคุมเสน Spline เอง

วิธีปฏิบัติ ใช mouse คลิกเลือกจุดตางๆท่ีจะเปนเสนโคง โดยใหเปน P1,P2,P3 ตามลําดับ กดปุม BACKUP หรือกดปุม Esc เพ่ือท่ีจะเสร็จสิ้นจาการเลือกจุดและจะสรางเสนโคงตอไป

รูปที่ 3.38

Create > Spline > Automatic สรางเสน Spline โดยตองกําหนดจุดควบคุมเสน Spline โดยอัตโนมัติ โดยท่ีเลือกจุดแรก จุดที่สองและจุดสุดทายของเสนโคง ระบบจะดําเนินการสรางเสน Spline โดยอัตโนมัติ จากจุดที่มีเลือกมากมาย ภายในขอบเขตที่กวางๆ

1. สามารถเลือกคําสั่งในการสรางจุดแรก จุดที่สองและจุดสุดทายไดจากคําสั่ง Create > Point command

2. ถาใชคําสั่ง Create > Spline > Manual ระบบจะไมทํางานตามตองการ

76

วิธีปฏิบัติ 1. สรางจุดหลายจุดดังรูปที่ 4.55 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรก โดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกจุดที่ 2 โดยที่ใหเปน P2 4. ใช mouse คลิกเลือกจุดสุดทายโดยที่ใหเปน P3

รูปที่ 3.39

เม่ือตองการเปลี่ยนแปลงรูปรางของเสนโคงใหละเอียดขึ้น ก็จะตองสรางจุดมากๆ ในบริเวณที่ตองการจะทําใหทิศทางของเสนโคงละเอียดมากขึ้น ดังรูปที่ 3.40

รูปที่ 3.40

การเปรียบเทียบระหวาง NURBS และ parametric spline curve หลังจากที่สรางจุดจากจุดที่เหมือนกันดังรูปที่ 3.41 หมายเหตุจะแตกตางที่จุดเริ่มตนและที่จุดสิ้นสุด

77

รูปที่ 3.41

Create > Spline > Curve

คําสั่งสรางเสน Spline จากเสนที่มีอยูแลว สามารถสรางเสนโคงจากเสนที่มีอยูแลวหรือมาจาการรวมกันของเสนโคงตางๆ ( การรวมกันสวนโคง เสนตรงหรือเสนโคง ) ถาตองการสรางเสนโคงจากเสนที่มีอยูอยางเดียว ใหคลิกคําสั่ง single ถาตองการสรางจากหลายเสนที่มีอยูมาเชื่อมตอกันใหคลิกท่ีคําสั่ง Chain

Create > Spline > Curve > Chain คําสั่งสรางเสน Spline จากเสนที่มีอยูหลายเสน ซึ่งเสนเหลานั้นมาตอเรียงกัน

วิธีปฏิบัติ 1. สรางเสนตรงหลายเสนใหตอกันดังรูปที่ 4.58 โดยที่ใชคําสั่ง Create > Line > Multi > Sketch 2. ใช mouse คลิกเลือกจุดแรกที่จะเริ่มตนของการสรางเสนโคง โดยท่ีใหเปน P1 3. เลือกคําสั่ง Done > Do it เลือกท่ีเสนตรงแรกที่สราง จากนั้นก็เปลี่ยนเปน NURBS curve

รูปที่ 3.42

78

Create > Spline > Curve > Chain > Single คําสั่งสรางเสน Spline จากเสนที่มีอยูเพียงเสนเดียวไมวาจะเปนสวนโคงหรือเสนตรง

วิธีปฏิบัติ 1. สรางสวนโคงหรือเสนตรง ดังรูปที่ 3.43 2. ใช mouse คลิกจุดที่จะใหเปนเสนโคง โดยที่ใหเปนP1 3. เลือกคําสั่ง Done > Do it ( สวนโคงหรือเสนตรงเสนแรกก็จะถูกเปลี่ยนเปน NURBS )

รูปที่ 3.43

Surface คําจํากัดความของ surface ท่ีสามรถอธิบายงายๆก็คือ พ้ืนผิวของรูปราง 3 มิติท่ีมีลักษณะเปนแผน

คลายกับแผนกระดาษ โดย surface จะมีขอบเขตที่เรียกวา wire frame ซึ่งทําหนาท่ีเปนโครงใหกับ surface ใหลองนึกวา วาว ท่ีตองมีโครงกอนที่จะเอากระดาษมาแปะทับไปตามโครง ซึ่งก็คือ wire frame กระดาษก็คือ surface นั่นเอง ในที่นี้จะอธิบายชนิดของ surface ท่ีผูใชสามารถสรางสรรคโปรแกรม Mastercam พรอมทั้งแสดงตัวอยางประกอบในแตละชนิดของ surface

ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Surface : Create > Surface

Loft คําสั่งสราง surface จาก chain หรือ curve อยางนอย 2 เสนหรือมากกวานั้น ซึ่งโปรแกรมจะคํานวณการผสมผสานใหเกิดความราบเรียบ ( smooth ) ของ surface ขอแตกตางระหวาง Loft กับ Ruled จะแตกตางกันที่รูปรางของ surface ท่ีไดโดยใหสังเกตจาก ดังรูปที่ 3.44 และ 3.45

79

รูปที่ 3.44

รูปที่ 3.45

Coons คําสั่งสราง surface โดยใชเสน curve 4 เสนเปนขอบเขตในการสราง surface ดังรูป 3.46 และ 3.47

80

รูปที่ 3.46

รูปที่ 3.47

81

รูปที่ 3.48

Ruled คําสั่งสราง surfaceจาก chain หรือ curve อยางนอย 2 เสนหรือมากกวานั้น ซึ่งโปรแกรมจะคํานวณ

การผสมผสาน surface ดังรูป 3.49 และ 3.50

รูปที่ 3.49

82

รูปที่ 3.50

Revolved

คําสั่งสราง surfaceโดยใช chain หรือ contour หมุนรอบแกน ดังรูป 3.51 และ 3.52

รูปที่ 3.51

83

รูปที่ 3.52

Sweep

คําสั่งสราง surfaceโดยให chain กวาดจาก chain หนึ่งไปยังอีก chain หนึ่งหรืออีกหลายๆ chain chain เหลานี้เรียกวา “ across contours ”โดยการกวาด จะกวาดไปตามรางที่เรียกวา “along contuors” ผูใชสามารถกําหนดจํานวน across curve และ along curve ไดอยางนอยอยางละหนึ่งเสน ดังรูป 3.53 และ 3.54

รูปที่ 3.53

84

รูปที่ 3.54

Draft

คําสั่งสรางsurfaceโดยใช chain หรือ contour ยึดเปน surface คลายทอ โดยตองกําหนดความยาวของ sueface และยังสามารถกําหนดมุม surface ใหเอียงเปนมุมเอียงไดอีก ดังรูป 3.55 และ 3.56

รูปที่ 3.55

85

รูปที่ 3.56

Fillet

คําสั่ง Fillet ใหกับ surface การใช Fillet surface สามารถสรางไดท้ังพ้ืนราบ ( plane ) กับ surface ,ระหวาง curve กับ surface , หรือระหวาง surface กับ surface ก็ได ดังรูป 3.57

รูปที่ 3.57

86

Offset เปนคําสั่ง offset surfaceจาก surface เริ่มตน ตามระยะ offset ท่ีตองการ ดังรูป 3.58

รูปที่ 3.58

Trim / extend คําสั่งตกแตง surface โดยการขลิบ ( Trim ) หรือยืดขยาย ( extend ) ดังรูป 3.59

รูปที่ 3.59

87

2 surf blnd คําสั่งสราง surface ระหวาง 2 surfaceท่ีแยกออกจากกันใหมารวมกัน ดังรูป 3.60

รูปที่ 3.60

3 surf blnd

คําสั่งสราง surface ระหวาง 3 surfaceท่ีแยกออกจากกันใหมารวมกัน ดังรูป 3.61

รูปที่ 3.61

88

fillet blnd คําสั่ง fillet ใหกับ surface 3 surface ท่ีมาตัดกัน ดังรูป 3.62

รูปที่ 3.62

3.7 Rectangle and the Rectangle Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Rectangle: Create > Rectangle ซึ่งในคําสั่งยอยของ Rectangleจะมีอยู 3 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Create > Rectangle > 1 points

การสรางรูปสี่เหลี่ยม โดยใชเพียง 1 จุด เปนมุมของรูปสี่เหลี่ยม โดยอางอิงจากความกวางและความยาวที่กําหนดเอง

วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกมุมลางซาย ซึ่งจะเปนมุมของรูปสี่เหลี่ยม โดยที่ใหเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความกวาง แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความสูง แลวกด Enter

Tips- ความกวางและความสูงสามารถเปนคาลบได ถาท้ัง 2 คานั้นเปนคาลบแลว จุดที่เลือกในตอนแรกจะกลับมาเปนมุมบนขวาของรูปสี่เหลี่ยม

89

รูปที่ 3.63

Create > Rectangle > 2 points

การสรางรูปสี่เหลี่ยม โดยใช 2 จุด กําหนดมุมของรูปสี่เหลี่ยม วิธีปฏิบัติ 1. ใช mouse คลิกเลือกมุมลางซาย โดยที่ใหเปนP1 2. ใช mouse คลิกเลือกมุมบนขวา โดยที่ใหเปนP2

Tips- ขั้นตอนในการเลือกมุมนั้นไมสําคัญมาก ในตัวอยางสามารถเลือกมุมบนขวากอน หรือมุมลางซายกอนก็ได

รูปที่ 3.64

90

3.8 Chamfer and the Chamfer Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Chamfer : Create > Next menu > Chamfer เปนคําสั่งการลบมุม Chamfer ระหวางเสนตรง 2 เสนที่ไมขนานกัน โดยที่กําหนดระยะทางทั้ง 2 ซึ่งคําสั่งนี้จะอยูภายในคําสั่ง Chamfer จนถึงการเปลี่ยนขนาดระยะทางที่ลบมุม

โดยทั่วไปแลวระยะทางทั้ง 2 สามารถเปลี่ยนได โดยที่ระยะทางแรกจะถูกกําหนดใหเปน P1 และระยะทางที่2 จะถูกกําหนดใหเปน P2

รูปที่ 3.65

Tips- 1. คําสั่ง Chamfer นัน้จะมีลักษณะคําสั่งเหมือนกับคําสั่ง fillet 2. ในการเปลี่ยนระยะทางนั้น โดยการกดปุม D บน keyboard หรือคลิกไปท่ีเสนที่ 1 และเสนที่ 2 ท่ีจะลบมุมแลวใสคาท่ีตอการลงไป Note- ระบบจะเตรียมพรอมสําหรับขอมูลหรือคาตางๆท่ีจะใสลงไปในบริเวณ Prompt Area วิธีปฏิบัติ

1. สรางรูปสี่เหลี่ยม 2. ใช mouse คลิกเลือกเสนแรก ท่ีจะทําการลบมุม โดยที่ใหเปน P1 3. ใช mouse คลิกเลือกเสนที่2 ท่ีจะทําการลบมุม โดยที่ใหเปน P2

91

รูปที่ 3.66

3.9 Letters and the Letter Submenu

ใน Mastercam จะมีอยู 2 วิธี ท่ีจะใชในการสรางแบบตัวหนังสือ - วิธีท่ี1 คือเขาไปในคําสั่ง Letters ซึ่งในวิธีนี้สามารถนําแบบตัวหนังสือจาก Windowsมาใชในการ

สรางตัวหนังสือ - วิธีท่ี2 คือใชคําสั่ง Note ในคําสั่งหลัก Drafting

วิธีท่ี1 ใชคําสั่ง Letters ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Letters : Create > Next > Letters

ซึ่งในคําสั่งยอยของ Letters จะมีอยู 3 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Create > Next > Letters > True Type

การสรางแบบตัวหนังสือท่ีมาจากตัวหนังสือแบบมาตรฐาน โดยการยอยกลับไปดูขอมูลใน Windows ซึ่งจะแนะนําเก่ียวกับรูปแบบของตัวหนังสือ

วิธีปฏิบัติ หลังจากที่เลือกคําสั่งนั้นแลว Mastercam จะแสดง dialog box ตัวหนังสือมาตรฐานใน Windows

92

รูปที่ 3.67

1. เลือกแบบตัวหนังสือ , รูปรางของตัวหนังสือและขนาดของตัวหนังสือแลวกด OK 2. หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ แลวพิมพคําวา Mastercam 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความสูงของตัวหนังสือ แลวกดEnter 4. หนาจอจะขึ้นใหใสคา ระยะหางระหวางตัวหนังสือ แลวกด Enter

การเลือกทิศทางของตัวหนังสือ โดยจะมีอยู 4 คําสั่ง ดังนี้ For horizontal and vertical letters : ใช mouse คลิกกําหนดจุดเริ่มตนของตัวหนังสือ For top and botton arc letters : 1. ใช mouse คลิกกําหนดจุดศูนยกลางของสวนโคง โดยที่ใหเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมีของสวนโคง แลวกด Enter

Create > Next menu > Letters > Drafting การสรางแบบตัวหนังสือโดยใชแบบตัวหนังสือท่ีลอกมาจาก Mastercamในปจจบัุน

วิธีปฏิบัติ 1. หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ พิมพวา Mastercam 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคาความสูงของตัวหนังสือ แลวกด Enter 3. ใช mouse คลิกกําหนดจุดเริ่มตนของตัวหนังสือ

93

รูปที่ 3.68

Create > Next menu > Letters > File

การสรางตัวหนังสือโดยใชแบบตัวหนังสือจาก Mastercam v8 หรือเขาไปเลือกแบบตัวหนังสือในC:\MCAM8\COMMON\FONTS\ ซึ่งจะมีคําสั่งเลือกตัวหนังสืออยู 5 คําสั่งดังนี้

รูปที่ 3.69

วิธีปฏิบัติ 1. เขาไปในคําสั่งตามแบบตัวหนังสือท่ีตองการ 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคา ความสูงของตัวหนังสือ แลวกด Enter 3. หนาจอจะขึ้นใหใสคา ระยะหางระหวางตัวหนังสือ แลวกด Enter 4. หนาจอจะถามวา ตองการตัวหนังสือแบบสวนโคงไหม (Y/N)

ถาเลือก YES ตัวหนังสือก็จะเปนสวนโคง ถาเลือก NO ตัวหนังสือก็จะเปนเสนตรง

94

For arc letters 1. ใช mouse คลิกกําหนดจุดศูนยกลางของสวนโคง โดยที่ใหเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหใสคารัศมี แลวกด Enter 3. เลือกแบบตัวหนังสือ จะเลือกแบบ Top หรือ Bottom 4. หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ พิมพคําวา ARC LETTERS

รูปที่ 3.70

For line letters 1. ใช mouse คลิกกําหนดจุดเริ่มตนของตัวหนังสือ โดยที่ใหเปน P1 2. หนาจอจะขึ้นใหพิมพตัวหนังสือ พิมพคําวาLine LETTERS วิธีท่ี2 ใชคําสั่ง Note และ Modify

ในวิธีนี้สามารถสรางตัวหนังสือใหเปนแถวโดยใชคําสั่ง Note ในคําสั่ง Drafting วิธีปฏิบัติ 1. สรางตัวหนังสือใหเปนแถวโดยใชคําสั่ง Note ในคําสั่ง Drafting 2. หนาจอจะมี dialog box ปรากฏขึ้นดังรูป 4.96 ใหเลือกคุณสมบัติของตัวหนังสือตามตองการโดย

ท่ีเขาไปตรง Properties 3. ใช mouse คลิกเลือกจุดเริ่มตนของตัวหนังสือตามตองการ 4. กดปุม Esc หรือ BACKUP เพ่ือออกจากคําสั่ง

95

3.10 Ellipse and Ellipse Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Ellipse: Create > Next menu > Ellipse ซึ่งในคําสั่งยอยของ Ellipse จะมีอยู 6 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆ ดังนี้

Mastercamจะแสดงรูปวงรีหลังจากที่กําหนดจุดศูนยกลางแลว Tips- 1. Mastercamจะแสดงขอมูลตางๆเก่ียวกับวงรีในบริเวณ Prompt Area 2. มุมตางๆท้ังหมดจะวัดในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

รูปที่ 3.71

3.11 Polygon and Polygon Submenu ขั้นตอนการเขาสูคําสั่ง Polygon: Create > Next > Polygon ซึ่งคําสั่งยอยของ Polygon จะมีอยู 6 คําสั่ง ซึ่งจะสรุปเก่ียวกับคําสั่งตางๆดังนี้ Tips- 1. Mastercamจะแสดงขอมูลตางๆเก่ียวกับ Polygonบริเวณ Prompt Area 2. มุมเริ่มตนจะวัดในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา

รูปที่ 3.72

96

3.12 ตัวอยางการใชคําสั่ง Create และ Modify การสรางชิ้นงานตามรูป

รูปที่ 3.73

1. สราง Circle

รูปที่ 3.74

- เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+dia - พิมพ 6.0 กด Enter - พิมพ 0,0 เพ่ือใหเปนจุดศูนยกลาง แลว Enter

- คลิก ท่ี tool bar เพ่ือทําการขยายเต็มจอ - จากนั้น ทําวงกลม Dia 4.75” ทําเชนเดียวกับวงกลม Dia 6”

97

รูปที่ 3.75 - เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+rad - พิมพคารัศมีเทากับ 1.775” - คลิกท่ีจุดศูนยกลางรวมกลมวงกลมทั้งสอง - จากนั้นทําวงกลมรัศมี 1.101” - เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+dia ขึ้นมาอีกครั้ง - พิมพ 0.38 กด Enter - พิมพคาพิกัดเทากับ 0,1.483 และคา 0,-1.483 จะไดดังรูปขางลาง

รูปที่ 3.76

98

2. สราง Horizontal Lines โดยการ Offset

รูปที่ 3.77

- เลือก Create > Line > Horizontal - คลิกพิกัดที่จุดศูนยกลางวงกลม - ลากเสนตรงออกมานอกวงกลม คลิก 1 ครั้ง โดยใหพิกัด y=0

รูปที่ 3.76

- กด Enter - เลือก Create > Line > Parallel

รูปที่ 3.78

99

- เลือกเสนในแนวนอน ดังรูป

รูปที่ 3.79

- เลือกทิศทางในการ offset (บนเสน)พิมพคา ระยะหางจากเสนอางอิงเทากับ 0.375 “ - จากนั้น คลิกเสนอางอิงอีกครั้ง เลือกทิศทางในการ offset (บนลาง)พิมพคา ระยะหางจากเสนอางอิง

เทากับ 0.375 “ - สรางวงกลมอีกครั้ง โดย Dia = 0.75” โดยคลิกท่ีจุดตัดระหวางเสนตรงกับวงกลมวงที่ 3 ดังรูป -

รูปที่ 3.80 3. การ Trim 1 Entity - ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > 1 entity

100

รูปที่ 3.81

- คลิกท่ีเสน P1 กับคลิกท่ีวงกลมที่จุด P2 จากนั้น คลิกท่ีเสน P3 กับคลิกท่ีวงกลมที่จุด P4 ดังรูป -

รูปที่ 3.82.

จากนั้นทําการ Trim ตอ - คลิกท่ีจุด P5 กับเสนวงกลมที่จุด P9 และ คลิกท่ีจุด P6 กับเสนวงกลมที่จุด P3

จากนั้นทําการ Trim ตอ - คลิกท่ีจุด P9 กับเสนวงกลมที่จุด P5 และ คลิกท่ีจุด P3 กับเสนวงกลมที่จุด P6

จากนั้นทําการ Trim ตอ - คลิกท่ีจุด P7 กับเสนวงกลมที่จุด P5 และ คลิกท่ีจุด P8 กับเสนวงกลมที่จุด P6

จะไดดังรูปขางลาง

101

รูปที่ 3.83

4. การใชคําสั่ง Rotate

รูปที่ 3.84 ไปที่ Main Menu เลือก Xform > Rotate > Chain

- คลิกเสนที่เราตองการ Rotate ตอจากนั้นคลิก Done - เลือก Point ท่ีจะใหเปนจุดหมุน ในที่นี้เลือกจุดศูนยกลางวงกลม จะมีกรอบขึ้นมาดังนี้

102

รูปที่ 3.85

- เลือก Copy จากนั้นพิมพคา 7 ในชอง Number of steps และเลือกมุม 45 (ไดจาก 360/7) จะไดดังรูปขางลาง

รูปที่ 3.86

ขั้นตอนตอไป สรางวงกลมรัศมี = 1.438” และลากเสนตรงเอียง 45 องศา จากนั้นสรางวงกลม diameter = 0.674” ท่ีเสนตรงตัดกับวงกลมรัศมี = 1.438” จะไดดังรูป

103

รูปที่ 3.87

5. การ Trim 3 Entity

รูปที่ 3.88

ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > 3 entities จากรูป

รูปที่ 3.89

104

- คลิก ท่ีจุด P1, P5 และ P3 จากนั้น คลิก ท่ีจุด P1, P6 และ P4 สวนที่ยังไมออกหรือออกไมหมดให

ใช หรือ ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > 1 entity จะไดดังรูปขางลาง

รูปที่ 3.90

6. การ Mirror รอง Slot

รูปที่ 3.90

ไปที่ Main Menu เลือก Xform > Mirror > Chain - คลิกเสนที่เราตองการ Miror ตอจากนั้นคลิก Done - เลือกแกน Y ใหเปนจุดหมุน จะมีกรอบขึ้นมาดังนี้ เลือก Copy แลวคลิก OK

105

รูปที่ 3.92

จะไดรูปที่ไดจากการ Mirror ดังรูป

รูปที่ 3.93 7. การใชคําสั่ง Divide

รูปที่ 3.94

106

ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Trim > Divide

รูปที่ 3.95

- คลิกท่ี P1,P2,P3 ใหทําท้ังหมด ซึ่งจะไดดังรูป

รูปที่ 3.96 8. การใชคําสั่ง Fillet

รูปที่ 3.97

107

- ไปที่ Main Menu เลือก Modify > Fillet > Radius - พิมพคารัศมีโคง ซึ่งเทากับ 0.25” จะไดดังรูป

รูปที่ 3.98 การสรางช้ินงานตามรูป 3.99

รูปที่ 3.99

108

1. สราง Circle

รูปที่ 3.100

- เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+rad - ท่ี Prompt area พิมพคารัศมีเทากับ 3 กด Enter - พิมพ -3,0 เพ่ือใหเปนจุดศูนยกลาง แลว Enter

- คลิก ท่ี tool bar เพ่ือทําการขยายเต็มจอ - จากนั้น ทําวงกลมรัศมี 3” ท่ีพิกัด 3,0 - และทําวงกลมรัศมี 1.5” ท่ีพิกัด 0,6

รูปที่ 3.101

109

2. การสราง Tangent line

รูปที่ 3.102

- เลือก Main Menu > Create > Line > Tangent > 2 arcs - คลิกท่ีวงกลมใหเชื่อมกัน การ trim รูปวงกลม และการสรางเสน Vertical Line ในการ trim รูปวงกลมใชเลือก Modify > Trim > 1 Entity จากนั้นลากเสนตรงแนวดิ่งจะไดดังรูป

รูปที่ 3.103

110

3. การ offset

รูปที่ 3.104

ไปที่ Main Menu เลือก Xform > Offset จะปรากฏ กรอบขางลาง

รูปที่ 3.105

- เลือก Copy - Number of steps =1 - Offset distance =0.75 คลิก OK แลวคลิกเสนที่ 1 เลือกทิศซายและขวาในการ offset สวนเสน

2,3,4,5,6 เลือกดานในกรอบรูป

111

รูปที่ 3.106 จะไดรูปดังรูป

รูปที่ 3.107

การ Fillet ไปที่ Main Menu เลือก Create > Fillet หรือ Modify > Fillet เลือก รัศมีเทากับ 0.75 โดคลิกท่ี

จุด 1 กับ จุด 2 และ จุด 3 กับ จุด 4 โดยทําท้ัง 2 ดาน การสรางวงกลมเล็กดานบน - เลือก Main Menu > Create > Arc > Circ pt+dia - พิมพคา Dia = 1.75 และพิมพคาพิกัด 0,6 จะไดดังรูป

112

รูปที่ 3.108

3. การใชคําสั่ง Letters

รูปที่ 3.109

- ไปที่ Main Menu เลือก Create > Next menu > Letters จะปรากฏ กรอบขึ้นมา

113

รูปที่ 3.110

- พิมพขอความในชอง Letter จากนั้นกําหนดคา Height =0.75 Spacing=0.15 แลว Alignment=Vertical คลิก Ok

- เลือกจุด Starting คือพิกัด -0.375,4.2 จะไดดังรูป

รูปที่ 3.111

114

2.13 การสรางเสน Toolpaths 2 มิติ ในโปรแกรมมาสเตอรแคม คําสั่งสําหรับ toolpath โปรแกรมมาสเตอรแคมประกอบดวยคําสั่งหลักๆ อยู 5 คําสั่ง คือ Contour, Drill, Pocket, facing, Surface ในบทนี้จะขอกลาวถึง Contour, Drill, Pocket เทานั้น

รูปที่ 3.112 Contour

รูปที่ 3.113 Drilling รูปที่ 3.114 Facing

รูปที่ 3.115 Pocketing รูปที่ 3.116 Circle Milling

115

คําสั่ง Contour

เปนคําสั่งในการกัดชิ้นงานโดยใหมีดกัดเดินตามเสน Contour และตามความลึกท่ีกําหนด

รูปที่ 3.117 - ไปที่ Main Menu เลือก Toolpath > Contour - คลิกเสนสี่เหลี่ยมดานใน

รูปที่ 3.118

- เลือกทิศทาง จากนั้น คลิก Done - จะปรากฏ Dialogue Box ขึ้นมา

116

รูปที่ 3.119

- คลิกขวาเพื่อเลือก Get tools from library เพ่ือทําการเลือก tool - เลือก Tool ขนาด Dia = 0.75 endmill จากนั้นคลิก OK

กรณีท่ีตองการที่จะแกไข tool คลิกขวาที่ไอคอนของ tool เพ่ือทําการแกไข tool และ holder และคาพารามิเตอรตางๆ ตามรูป

- คลิก OK

117

รูปที่ 3.120

รูปที่ 3.121

118

คาคุณสมบัติของ Contour

รูปที่ 3.122 Clearance การตั้งคาระยะหางระหวาง tool กับชิ้นงาน Retrace การตั้งคาระยะยกของ tool Feed plane การตั้งคาระยะสําหนับสิ้นสุดการเคลื่อนที่เร็ว Top of stock การตั้งคาระดับของชิ้นงานที่ระดับปกตอ โดยตั้งไวท่ีคา Z=0 Depth การตั้งคาระดับความลึกการกัดงานของ Tool ตาราง 3.1 Compensation

Compensation

Control Computer

Machine Code Generated

ผลที่เกิดขึ้น

Off Off None ไมชดเชยรัศมีและไมสามารถชดเชยรัศมีได

119

Off Right/Left None โปรแกรมจะทําการชดเชยรัศมีโดยซอฟแวรแตไมสามารถชดเชยรัศมีtool จากเครื่องจักรได

Right/Left Off G41/G42 ไมสามารถทําการชดเชยรัศมีโดยซอฟแวรแตสามารถปรับแกโดยการใช G41/G42

Right/Left On G41/G42 ทําการชดเชยรัศมีโดยซอฟแวรและสามารถปรับแกโดยการใช G41/G42

NC Utilities

รูปที่ 3.123

รูปที่ 3.124

120

- การเลือก Post Processor ไปที่ Nc Utils > Post Proc > Change - จะปรากฏกรอบ Specify file name to read

รูปที่ 3.125

- เลือก Post Processor ใหเหมาะสมกับเครื่องจักร - คลิก Open

- เลือก Nc Utils > Post Proc > Run เม่ือตองการแปลงเปน NC Code - คลิก ok ท่ีกรอบ Operation Manager - โดยจะมีกรอบ Specify file name to read เลือก File NCI ท่ีเรา ทําไว คลิกOpen - และจะมีกรอบ Specify file name to write พิมพชื่อ file ท่ีตองการจะเซฟ

121

รูปที่ 3.126

รูปที่ 3.127

122

จะสามารถออก NC Code ไดดังรูป % O0002 (PROGRAM NAME - T004 ) (DATE=DD-MM-YY - 01-09-03 TIME=HH:MM - 11:30 ) N100 G20 N102 G0 G17 G40 G49 G80 G90 ( 3/4 DRILL TOOL - 1 DIA. OFF. - 1 LEN. - 1 DIA. - .75 ) N104 T1 M6 N106 G0 G90 G54 X-33.3966 Y-5.2581 S2005 M3 N108 G43 H1 Z.25 N110 Z.1 N112 G1 Z0. F4.3 N114 X-19.7886 Y16.7239 F360.9 N116 G2 X-19.4698 Y16.9015 I.3188 J-.1974 N118 G1 X17.3763 N120 G2 X17.6924 Y16.7283 I0. J-.375 N122 G1 X31.719 Y-5.2538 N124 G2 X31.7779 Y-5.4555 I-.3161 J-.2017 N126 X31.4029 Y-5.8305 I-.375 J0. N128 G1 X-33.0777 N130 G2 X-33.4527 Y-5.4555 I0. J.375 N132 X-33.3966 Y-5.2581 I.375 J0. N134 G0 Z.25 N136 M5 N138 G49 Z.25 N140 G91 G28 Z0. N142 G28 X0. Y0. A0. N144 M30 %

123

3.14 การทํา Drilling 2 มิติ

รูปที่ 3.128

รูปที่ 3.129

- สรางเสน toolpath จากนั้นเลิก Job Setup เลือก Stock โดยการใชขนาดพิกัด 0,0 และ 7.5,6.0 โดยใชคาความหนา 1 “ ทําจากวัสดุ เหล็ก 4140

124

รูปที่ 3.130

รูปที่ 3.131

125

3.15 การแกไข toolpath ของงานเจาะ - กรณีท่ีตองการเปลี่ยนทางเดินของ tool เลือก Option ท่ีเมนู Drill

รูปที่ 3.132

การเจาะรู

รูปที่ 3.133

126

- เลือก Window Pts จากเมนู Drill - จะมีขอความขึ้น Select the first corner of the windows - ใช Mouse คลิกท่ีมุมซายบน ดึงลากลงมาดานลางขวา - คลิกซายเพ่ือตอบรับ จากนั้นคลิก Option จากเมนู Drill - เลือกทิศทางในการเจาะ ดูรูป - คลิก OK - คลิก Done จากเมนู Drill

รูปที่ 3.134

- คลิกขวาเลือก Get tool from library - เลือกดอกสวาน 0.5 “ คลิก Ok - คลิกท่ีแท็บ Drill/Counterbore ปอนคาความลึกท่ีจะทําการเจาะ - เลือก Ok

127

รูปที่ 3.135

Operation Manager จะชวยอํานวยความสะดวกในการทํางาน เพ่ือหรือแกไขเสน Toolpaths ซึ่งจะมีคําสั่ง Verify ,Blackplot , และทําการ post

รูปที่ 3.136

128

คลิก Post เพ่ือดูรูป Simulation ดังรูป

รูปที่ 3.137

2.16 การทํา Pocketing

รูปที่ 3.138

129

Job Setup เปนคําสั่งท่ีใชในการทําสตอก กําหนดขนาดของชิ้นงาน จุด Origin และใชกําหนดชนิดของวัสดุ

รูปที่ 3.139

รูปที่ 3.140

130

- กําหนดขนาดของ Stock โดยกําหนดคา ในแกน XYZ และจุด Origin

รูปที่ 3.141

- เลือกชนิดของ วัสดุ ดังรูป

รูปที่ 3.142

- คลิกจะปรากฏกรอบแสดงชนิดของวัสดุชนิดตางๆ

รูปที่ 3.143

131

ขั้นตอนการทํา Pocket - เลือก Toolpaths > Pocket > Solids - คลิกท่ีพ้ืนผิวที่ตองการทํา Pocket คลิก Done > Done

รูปที่ 3.144

- คลิก Done จะปรากฏกรอบขึ้นมา - คลิกขวาเลือก Get tool from library โดยเลือก 0.5 endmill

รูปที่ 3.145

132

- กรณีท่ีตองการเปลี่ยนแปลงขนาดของ tool และ Holder หรือ tool ไมมีตาม list โดย Click ขวาที่ไอคอน tool จะปรากฏกรอบขึ้นมา

รูปที่ 3.146

รูปที่ 3.147

133

ทิศทางของ Pocketing

รูปที่ 3.148

Machine Direction การตั้งคาทิศทางการเดินกัดชิ้นงานมี 2 แบบคือ Climb และ Conventional

Tip Comp

รูปที่ 3.149

การตั้งคาจุดอางอิงของ tool ท่ีจะใหกัดชิ้นงานมี 2 แบบ คือ - tip การอางอิงท่ีปลาย tool - comp การอางอิงท่ีจุดศูนยกลางของรัศมี tool 3.17 การปรับทิศทางการเดินของ tool - คลิก Operation ท่ีเมนู toolpath แลวคลิก parameter - คลิก tab ของ Roughing/Finishing parameter

รูปที่ 3.150

134

จากนั้นคลิก OK จากนั้นเมื่อทําการปรับแตคาตางๆ เสร็จ จะไดรูปขางลาง

รูปที่ 3.151

- ในการทํา Post คลิก Operation ท่ีเมนู toolpath แลวคลิก Post จะปรากฏกรอบดังรูป - คลิก Post

รูปที่ 3.152

- คลิก OK เพ่ือทําการ Save

135

- พิมพชื่อ file โดยใชชื่อ T005.MC9 คลิก Save - เปดดู file ท่ี Save โดยเปด โปรแกรม Notepad - เลือก ไฟล ซึ่งเซฟท่ี D:\ Program Files\ MCAM9\Mill\NC\T005.NC

รูปที่ 3.153

136

บทที่ 4 การออกแบบโดยใช Mastercam Lathe

4. การออกแบบสําหรับงานกลึง 4.1 ระบบพิกัดสําหรับงานกลึง

กอนทําการใชงานดวย Mastercam Lathe สิ่งแรกที่จะตองพิจารณา คือระบบพิกัด(Coordinate System) ซึ่งแตกตางกับงานกัด (Milling) งานกลึงจะมีแค 2 แกน คือ แกน X และ แกน Z

รูปที่ 4.1

Construction Plane (CPlane) ใน Mastercam Lathe จะใชระบบพิกัด คือ +DZ, –DZ ,+XZ ,-XZ ซึ่ง X จะเรียกวา Radius Programming และ D เรียกวา Diameter Programming

อยางเชนตองการกลึงงานเสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว ซึ่งถาใช +XZ ,-XZ (Radius Programming) ซึ่งในการออกแบบจะสรางแคครึ่งหนึ่งเทานั้น คือ 0.5 นิ้ว กรณีถาใช +DZ,-DZ (Diameter Programming) จะตองออกแบบตามงานจริง คือ เสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว

137

รูปที่ 4.2

รูปที่ 4.3

รูปที่ 4.4

4.2 ขั้นตอนการออกแบบโดยใช Mastercam Lathe

138

- เลือกใช +XZ หรือ -XZ (Radius Programming) คลิก Cplane > Next Menu > +XZ

รูปที่ 4.5

- ทําการเขียนแบบคลาย Mastercam Mill - เลือก Main Menu > Create > Line > Muti หรืออาจจะเรียกใชไอคอน Multi Line

จากทูลบาร Point Radius Value Z Value

A 0 0 B 0.875 0 C 0.875 -1 D 1.125 -1 E 1.125 -1.75 F 1.375 -3 G 1.375 -4

Point Diameter Value Z Value

A 0 0 B 1.75 0 C 1.75 -1 D 2.25 -1 E 2.25 -1.75 F 2.75 -3 G 2.75 -4

139

รูปที่ 4.6

- ทําการ fillet จุด B รัศมี 0.1 นิ้ว - เลือก Create > fillet > radius

รูปที่ 4.7

รูปที่ 4.8

140

- พิมพคา 0.1 แลวกด Enter - ทําการสราง Bar Stock ซึ่งจะทําใน level 2 โดยเลือก level จาก Secondary Menu จะปรากฏ

Dialogue Box เลือก หมายเลข 2 คลิก Ok

รูปที่ 4.8

รูปที่ 4.9

- ทําการเปลี่ยนสีของเสน โดยคลิก Color จาก Secondary menu คลิก Ok - ทําการออกแบบ Bar Stock - เลือก Create > Rectangle > 2 Points - พิมพคาพิกัด 0.-4 ท่ีมุมลางซายและพิมพคา 2.75,0 ซึ่งอยูบนมุมขวาจะปรากฏดังรูป

141

รูปที่ 4.10

รูปที่ 4.11 - Save งานโดย คลิกท่ี File > Save - พิมพชื่อ File โดยใช tutorial1 - เลือก Save

142

รูปที่ 4.12 4.3 ตัวอยางการออกแบบ ช้ินงานที่ 2

รูปที่ 4.13

- เลือกใช +DZ หรือ -DZ (Radius Programming) - คลิก Cplane > Next Menu > +DZ

143

รูปที่ 4.14

- ทําการเขียนแบบคลายกับ Mastercam Mill

- เลือก Main Menu > Create > Line > Vertical หรืออาจจะเรียกใชไอคอน Multi Line จากทูลบาร

- พิมพคาพิกัด 0,0 และคาท่ี 2 คือ 1,0 - เปลี่ยนเปนเสนในแนวนอน คลิก Backup แลวเลือก Horizontal - ใช mouse คลิกท่ีปลายเสน - พิมพคาพิกัด 1,-1 - ทําการเปลี่ยนเสน เลือก Main Menu > Create > Line > Multi - ใช Mouse คลิกในแนวนอน - พิมพคาพิกัด 0.875 , -1.125 และจุด 1.5,-1.125

รูปที่ 4.15

144

รูปที่ 4.16

- Main Menu > Create > Line > Polar - ใช mouse คลิกท่ีปลายเสน - พิมพคามุมเทากับ 169 องศา และพิมพคาความยาว 0.875 - ขั้นตอไปสรางเสนโคง

รูปที่ 4.17

- ใช mouse คลิกท่ีปลายเสน - พิมพคาพิกัด 2.275,-2.32 และคารัศมีเทากับ 0.65

145

รูปที่ 4.18

- สรางเสนถัดไป เลือก Main Menu > Create > Line > Endpoints - พิมพคาพิกัด 2.275,-3.5 - สรางเสนตรงแนวดิ่ง ใชเสน Vertical - พิมพคาพิกัด -3 - ทําการ chamfer

รูปที่ 4.19

146

รูปที่ 4.20

- เลือก 2 Distances - ความยาวดานแรก = 0.05 และดานที่ 2 เลือก 0.05 คลิก Ok - ทํา rough bar stock โดยใสไวใน level 2

รูปที่ 4.21

147

รูปที่ 4.22

- เลือก หมายเลข 2 คลิก Ok - ทําการเปลี่ยนสีของเสน - สราง stock เลือก main menu > Create > rectangle

148

รูปที่ 4.23

- พิมพคาพิกัดจุดแรก 0,-3.5 จดุที่ 2 คือ 3.5,0 - จากนั้นทําการ Save file ชื่อ tutorial2 - เลือก Save คลิก Ok

149

4.4 การสรางเสน toolpath สําหรับงานกลึง

รูปที่ 4.24

รูปที่ 4.25

4.5 ตัวอยางงานที่ 1

รูปที่ 4.26

150

Job setup Job setup สําหรับงานกลึงมีไวเพ่ือกําหนดคาพารามิเตอรตางๆ ท่ีใชรวมกับงานกลึง เชนกําหนด ชนิดของวัสดุ เลือกชนิดของ post processor เลือกชนิดของเครื่องจักร สรางสต็อก ฯลฯ

รูปที่ 4.27 จะปรากฏ Dialogue box ของ Job Setup ขึ้นมา

รูปที่ 4.28

151

- เลือกชนิดของวัสดุ โดยใน ตัวอยางนี้เลือก steel inch 4140 400BHN คลิกท่ีปุมดานขวาเพื่อเลือก วัสดุ

รูปที่ 4.29

- ทําการเลือก ชนิดของ Post processor โดยเลือกชนิดใหเหมาะสมกับ M/C ท่ีใช ในที่นี้เลือก Genetic Fanuc

รูปที่ 4.30

- จากนั้นทําการกําหนดขนาด Stock โดย คลิกท่ี Tab ของ Boundaries

รูปที่ 4.30 - คลิก Parameter….

รูปที่ 4.31

152

- พิมพคา OD =ความโตขนาด stock และคาความยาวเทากับ 1.13 - คลิก Ok - คลิก Ok อีกครั้งเพ่ือปดกรอบ Lathe Job Setup

รูปที่ 4.32

ซึ่ง เสนประที่เหน็คือ ขนาดของสต็อก สวนเสนเต็มคือชิ้นงานกลึง

รูปที่ 4.33 - เลือก toolpath > Operation - คลิกขวา เลือก toolpaths > rough - คลิกท่ีเสนที่ตองการกลึง

153

รูปที่ 4.34

รูปที่ 4.35

- จากนั้น คลิก Backup คลิก Done จะปรากฏ Dialogue Box ของ tool parameter ขึ้นมา

154

รูปที่ 4.36

- คลิก tab ของ rough parameter ขึ้นมา

รูปที่ 4.37

155

- ปอนคา Cutting Method เลือก One-way - คลิก Ok - ทําการเลือกผิวของชิ้นงานที่จะกลึง โดยทําตามขั้นตอนที่ทํามา ซึ่งจะไดรูปดังนี ้

รูปที่ 4.38

- ทําการแปลง เปน NC code - เลือก main menu > toolpaths > Operation - คลิก Post

รูปที่ 4.39

156

- จะมี Dialogue box ขึ้นมา ทําการเปลี่ยน post processor คลิกท่ี Change post - เลือก MPL850SX โดย มีคุณสมบัติดังนี้

o # Post Name : MPL850SX o # Product : LATHE o # Machine Name : CINCINNATI o # Control Name : 850SX

- จากนั้น คลิกท่ีชอง save nc file คลิก Ok

รูปที่ 4.39

- ซึ่ง จะได Post ดังตอไปนี้ % (MSG, TOOL - 1 OFFSET - 1 ) (MSG, LROUGH OD ROUGH RIGHT - 80 DEG. INSERT - CNMG-432 ) :1G0G62G70G97S76M3T1M26X10.Z10. N100G92S3000 N102G0G54X1.4067Z.11M8 N104G96R1.4067S200 N106G95G1Z-.37F.01 N108X1.6F.01 N110X1.7414Z-.2993F.01 N112G0Z.11 N114X1.2133

157

N116G1Z-.37F.01 N118X1.4267F.01 N120X1.5681Z-.2993F.01 N122G0Z.11 N124X1.02 N126G1Z0.F.01 N128Z-.37F.01 N130X1.2333F.01 N132X1.3748Z-.2993F.01 N134G0X1.4067 N136Z.1 N138G1Z-.6848F.01 N140X1.4813Z-.74F.01 N142X1.6F.01 N144X1.7414Z-.6693F.01 N146G0Z.1 N148X1.2133 N150G1Z-.5417F.01 N152X1.4267Z-.6996F.01 N154X1.5681Z-.6288F.01 N156G0Z.1 N158X1.02 N160G1Z-.3986F.01 N162X1.2333Z-.5565F.01 N164X1.3748Z-.4858F.01 N166G0X1.52 N168Z-.63 N170G1Z-.731F.01 N172Z-1.1612F.01 N174X1.6614Z-1.0905F.01 N176G0X4.024 N178M9 N180G0X10.Z10. N182M30 %

158

4.6 ตัวอยางที่ 2

รูปที่ 4.40

Job Setup เลือก main menu > toolpaths > jobsetup

รูปที่ 4.41

Material

159

เลือก Alumenum Inch-6061 คลิก Ok

รูปที่ 4.42

Tool Clearance ควรใชคาท่ีโปรแกรมกําหนดจะเหมาะสมที่สุด คือ Rapid moves=0.05 Entry/exit=0.02

รูปที่ 4.42

ทํา Facing

รูปที่ 4.43

160

- เลือก main menu > toolpaths > Operation - คลิกขวา เลือก toolpaths > face

รูปที่ 4.44

- ทําการเลือก tool โดยการเลือกคาท่ี โปรแกรมกําหนดให

รูปที่ 4.45

- จากนั้น ไปที่แท็บ Face parameters เพ่ือกําหนดขอบเขตการกลึงปาดหนา - คลิก select points

161

รูปที่ 4.46

- จะกลับไปยังหนาจอ Graphic area คลิกจุด 2 จุด ดังรูป

รูปที่ 4.47

- คลิก Ok ท่ีกรอบ Lathe Face - จะกลับมาท่ีกรอบ Operation อีกครั้ง - ทําขั้นตอนตอไป

162

Roughing Toolpath

รูปที่ 4.48 - คลิกขวา เลือก Toolpath > Rough - คลิกเลือกเสนเพ่ือท่ีจะกลึงปอกดังรูป

รูปที่ 4.49

- คลิก backup - เลือก Change end

163

รูปที่ 4.50 คลิกเพ่ือใหลูกศรเลื่อนไปตามเสนที่ตองการกลึง จะไดดังรูป 4.51

รูปที่ 4.51

- คลิก Done และ คลิก Done อีกครั้ง - เลือก tool คลิก Ok จะไดดังรูป

164

รูปที่ 4.52

Finishing Toolpath

- คลิกขวา เลือก Toolpath > Finish

รูปที่ 4.53

- คลิก เลือกเสนเหมือนกับ Roughing ทุกขั้นตอน จะไดดังรูป - เลือก tool ในตวัอยางนี้เลือกชนิด T0202 R0.0156 Finish right 35 Deg คลิก Ok

รูปที่ 4.54

165

จะกลับมาท่ีกรอบ Operations อีกครั้ง

รูปที่ 4.55

- คลิก Verify เพ่ือ ดูรูปจําลอง (Simulation) ดังรูป จากนั้น คลิก

รูปที่ 4.56

166

รูปที่ 4.57

Grooving Toolpath จากรูปจะเพิ่มรองสวนปลายของชิ้นงาน ขั้นตอนในการเซาะรองมีดังนี้

รูปที่ 4.58

167

- เลือก main menu > toolpaths > Operations - คลิกขวา เลือก toolpaths > groove -

รูปที่ 4.59

- เลือก Chain ใน Grooving Options คลิก Ok

รูปที่ 4.60 - คลิกตามเสนที่จะทําการเซาะรอง ดังรูป จากนั้น คลิก Backup - เลือก Change end > move fwd จะไดดังรูป

รูปที่ 4.61

168

- คลิก Done > Done - เลือก tool จากนั้น คลิก ท่ีแท็บ Groove sharp parameter สําหรับปรับมุมมีดกลึงแตใน

ตัวอยางนี้ ใชคา 90 องศา

รูปที่ 4.62

- คลิก Ok จะไดดงัรูป

รูปที่ 4.63

169

บทที่ 5 เครื่องกลึง CNC DYNA MYTE 3000

เครื่องกลึง CNC DYNA MYTE 3000 เปนเครื่องกลึงระบบอัตโนมัติสามารถตรวจสอบรูปแบบ การปฏิบัติงานดวยคอมพิวเตอรกอนที่จะสงรหัส (Code) เขาสูเครื่องกลึงเพ่ือนําไปผลิตเปนชิ้นสวนของเครื่องจักรกลตอไป การทํางานบนเครื่องจักรระบบอัตโนมัตินี้จะทําใหเกิดประสิทธิภาพในการทํางานไดอยางรวดเร็วและมีคุณภาพดียิ่งขึ้น องคประกอบและสวนตาง ๆ ของเครื่องกลึง CNC DYNA MYTE 3000 5.1 ตารางคําสั่งควบคุมและ FUNCTIONS ตาง ๆ

LINE - รูปแบบ PROGRAM เพ่ือเช็คดูกอนเริ่มการทํางาน หรือตองการเปลี่ยน ON. แปลงแกไขสวนตาง ๆ PROGRAM - PROGRAM เริ่มการทํางาน RUN PROGRAM - ปอนขอมูลและคําสั่ง Function ตาง ๆ ของ Program ENTER MANUAL - กําหนดการเคลื่อนที่ของแกนตาง ๆ START - เริ่มตนการเขียน Program มี 2 ระบบ “INCH.?” หรือ “MM?” SPINDLE - ความเร็วรอบ RPM SPEED 0-1000 RPM

170

0-2000 RPM 0-4000 RPM

FEED - กําหนดอัตราการเคลื่อนที่ของแตละแกน ถาไมกําหนดเครื่องจะ RATE เปนคา 1.97 inch/min (50 mm. / min.) - การกําหนดอัตราการเคลื่อนที่ inch/rev หรือ inch/min mm. /rev หรือ mm. /min อัตราการเคลื่อนที่สูงสุด 60 ipm. SETUP - กําหนดจุดอางอิงเริ่มตนของแกน XZCD เปนจุดอางอิงบนเครื่องหรือใช PROG. REF เลื่อนจุดอางอิงไปตําแหนงใหม - เปนคําสั่งสิ้นสุดการเขียน PROGRAM END - END NEWPART สิ้นสุด PROGRAM แลวกลับมาตําแหนงเริ่มตนเดิม - END NEW REFERENCE สิ้นสุด PROGRAM แลวสามารถที่จะกําหนด ตําแหนง SETUP REF. ใหมได SHIFT - ปุมกดเลือกอักษรตัวสีฟา GO ABS - กําหนดใหเปนจุดศูนยจุดสุดทายของแตละแกนกอนการเคลื่อนที่ THREAD - รูปแบบในการกลึงเกลียว GO REL - กําหนดการเคลื่อนที่ของมีดตัดไปทีละตําแหนง DRILL - รูปแบบในการเจาะ DISPLAY - แสดงคาตําแหนงของมีดกลึงในแตละแกน RECT - รูปแบบในการกลึงปอก CALLSUB - ใชเรียกหมายเลขของ SUBRUTINE TRIANGLE - รูปแบบในการกลึงเรยีว SUB - ใชกําหนดหมายเลขของ SUBRUTINE ในโปรแกรม ROUTINE ARC 1 - ใชในการกลึงสวนโคงแบบ ARC 1

171

TOOL - เปลี่ยนมีดกลึง CHANGE - ตําแหนงระยะหางของแกน X หางจากผิวงานคือ ระยะตําแหนง C X->XCLEAR ใน SETUP CONTROL - รหัสควบคุมคําสั่ง - ตําแหนงระยะหางของแกน Z หางจากผิวงานคือ ระยะตําแหนง D Z->Z CLEAR ใน SETUP DWELL - PROGRAM หยุดชั่วคราว กําใหเลือกไดตั้งแต 1-99 วินาที ->MACH 0 - ยกเลิกตําแหนงท่ีตั้งศูนยไวและกําหนดจุดศูนยอางอิงใหม XZ->REF 0 - เคลื่อนที่มีดตัดไปยังตาํแหนงอางอิงศูนย - กําหนดใหโปรแกรมกระโดดขามบรรทัดที่ทํางานอยูไปยังบรรทัดที่ SKIP TO โปรแกรมตองการ ARC 2 - เรียกฟงชั่นในการสรางสวนโคงของ ARC 2 มาใชงาน SUB - เม่ือสิ้นสุดโปรแกรมแลวใหกลับไปที่ SUBROUTINE RETURN NOTCH - เรียกฟงชั่น NOTCH มาใชงาน REPEAT - กําหนดการใชโปรแกรมซ้ําท่ีมีอยูหรือใชเปนบางสวน REPEAT - หยุดการทํางานซ้ําของโปรแกรม END X - ใชกําหนดรูปแบบของแกน X Z - ใชกําหนดรูปแบบของแกน Z - ใชบอกคารัศมีในโปรแกรมหรือบอกคารัศมีของมีดตัดเวลาติดตั้ง R เครื่องมือตัด

172

A - กําหนดคาของมุมในโปรแกรม CHAMFER - เรียกฟงชั่น CHAMFER มาใชงาน - สรางตําแหนงจุดศูนยใหม มีดตัดจะไมเคลื่อนที่ไปที่ตําแหนงนั้น แตจะ ZERO AT หมุนรอบตําแหนงศูนย SPINDLE ON/OFF - กําหนดตองการใหเพลาหมุนหรือหยุด ZERO COODS - กําหนดตําแหนงจุดศูนยท่ีตําแหนงมีดตัดปจจบัุน READ/WRITE - ใชในโหมดของ Line No. เพ่ือติดตอกับเครื่องคอมพิวเตอร โดย ผานทาง RS 232 ON/OFF - ใชปดเปดของ JOG FUNCTION ในทิศทางที่ตรงขาม Z 7 - ใชเรียกหมายเลข 7 L LEET - ทําให JOG เพ่ิมขึ้น 0.001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางตรงกันขาม (ลบ) - ใชเรียกหมายเลข 4 4 F FAST - ทําให JOG เพ่ิมขึ้น 0.0001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางตรงกัน ขาม (ลบ) YES - ใหผูใชตอบ YES ท่ีคําตอบ 1 - ใชเรียกหมายเลข 1 0 - ใชเรียกหมายเลข 0

173

SETUP REF. TOOL ABS. - ใชสําหรับตั้งคําสั่งโปรแกรมและการติดตั้งมีดตัด PREVIOUS - ใชเพ่ือยอนกลับไปกอนถึงบรรทัดปจจุบันไดทีละ 1 บรรทัด ในการตรวจสอบและแกไขขอผิดพลาด INSERT - ในโหมด LINE NO. ใหผูใชแทรกบรรทัดในโปรแกรม X ON/OFF - ใชปดเปดของ JOG FUNCTION ในทิศทางบวก Z

8 - ใชเรียกหมายเลข 8 R RIGHT - ทําให JOG เพ่ิมขึ้น 0.0001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางบวก (เคลื่อนที่จากชิ้นงานเขาไป) 5 - ใชเรียกหมายเลข 5 - ทําให JOG เพ่ิมขึ้น 0.0001 นิ้วตอการกดทีละครั้งในทิศทางบวก C COMBACK - ทําใหมีดตัดเคลื่อนที่ไปตําแหนงท่ีตองการแลวกลับมาตําแหนงจุดเริ่มตน

NO - ใหผูใชตอบ NO ท่ีคําตอบ 2 - ใชเรียกหมายเลข 2 - ใชเติมคาจุดทศนิยมในโปรแกรม TOOL REF - ใชเพ่ือเปลี่ยนแปลงปรับคาของมีดตัดแตละอันมีการสึกหรอของมีดตัด หรือขนาดของชิ้นงานผิดพลาด

174

NEXT DELETE

- ใชเหมือนปุม “ENTER” เพ่ืออานขอมูลเขาหนวยความจําและใช ทํางานตามโปรแกรมของแตละบรรทัด

- ในโหมด LINE NO. ใหใชลบบรรทัดในโปรแกรม CLEAR - ในโหมด LINE NO. ใชลางสวนตาง ๆ ในหนวยความจํา 9 - ใชเรียกหมายเลข 9 6 - ใชเรียกหมายเลข 6 3 - ใชเรียกหมายเลข 3 + / - - ใชกําหนดการเคลื่อนที่แบบตามเข็มนาฬิกา (-) และแบบทวนเข็ม # นาฬิกา (+) HALT - ใชหยุดโปรแกรมในบรรทัดที่กําลังทํางานอยู และกด NETX อีกครั้ง เม่ือตองการใหโปรแกรมทํางานตอไป 5.2 โหมดในการใชงาน 4 อยาง ในเครื่องจักรมีโหมดใหเลือกการทํางานอยู 4 อยาง ในการเลือกโหมดใชงานจะเลือกโดยการกดปุมบนแผงควบคุมดังนี้ MANUAL PROGRAM PROGRAM LINE RUN ENTER NO.

175

MANUAL - ใชกําหนดปรับระยะขนาดของมีดตัดและเปนคูมือในการทํางานของ

เครื่องจักร PROGRAM - สั่งใหเครื่องจักรทําตามโปรแกรมที่มีอยูในหนวยความจํา

RUN PROGRAM - สรางโปรแกรมในแผงระบบควบคุม ENTER LINE NO. - ตรวจสอบโปรแกรมที่เก็บไวในแผงควบคุมและสามารถแกไข

เปลี่ยนแปลงโปรแกรมได

176

บทที่ 6 ผลการศึกษาการใชโปรแกรม มาสเตอรแคม

6.1 ผลการศึกษา มาสเตอรแคมไดแบงโปรแกรมออกเปน 4 สวน คือ Design , Mill , Lathe,Wire โดยสวนของ mastercam design จะสามารถใชงานในการออกแบบ (CAD) เทานั้น สวน Mastercam Mill , Mastercam Lathe , Mastercam Wire จะสามารถออกแบบ (CAD) และในสวนชวยในการผลิต (CAM) โดยระบบการทํางานของ Maastercam จะแยกยอยการทํางานเปนหมวดหมูอยางชัดเจนทําใหการทํางานไมซับซอน ในโครงงานนี้ไดศึกษาในสวนของงานกัดและงานกลึง เม่ือนําโปรแกรม Mastercam ไปเปรียบเทียบกับโปรแกรม Pro/Engineer สามารถสรุประบบการทํางานออกมาโดยคราวๆ ไดดังนี้

1. การออกแบบ CAD ทั้งงานกดัและงานกลึง Mastercam - ใชงานงาย - สามารถนําไฟลท่ีออกแบบจากโปรแกรมอื่นๆไดมาก เชน Solidegde, Pro E, Parasolid,

Auto cad, IAES ฯลฯ

Pro Engineer - มีคําสั่งท่ีชวยในการออกแบบมาก - ออกแบบ 3D ไดดีกวา Mastercam - ยอนกลับไปแกไขงานไดงาย - ใชงานยาก

2. สวนของ CAM และการสราง NC Code

Mastercam - การสราง Tool Path ทําไดงาย - การสราง Stock ของชิ้นงาน ทําไดงาย - การกัดโคง มีคําสั่งในการลด feed - สามารถออกแบบ tool ไดเอง - มีคําสั่งในการ verify หรือ simulation - สามารถแกไข Tool Path ได - ออก code ไดเร็ว

177

- มี post processor สําหรับเครื่อง CNC หลายชนิด - สามารถสราง Tool Path สําหรับงาน 2 มิติได - สราง stock ไดเฉพาะงานสี่เหลี่ยม

Pro Engineer - สราง stock ไดหลากหลาย - ไมสามารถเปนตัว controller สงขอมูลใหเครื่อง CNC ได

การออกแบบ CAD ของ Mastercam ยังดอยกวา Pro /Engineer มาก เพราะมีคําสั่งชวยในการออกแบบ

นอยกวา แต Mastercam มีจุดเดนตรงที่สามารถออกแบบ 2D และ 3D และนําไปกําหนดเสน tool path ไดเลย นอกจากนี้ยังสามารถ import จากโปรแกรมตางๆไดเกือบทุกโปรแกรม โดยเมื่อกําหนดเสน tool path จะแปลงเปน NC code ไดงาย ดังนั้นสามารถสรุปไดวา Mastercam มีจุดเดนในการออกแบบ code และสราง tool path ซึ่งเหนือกวา Pro/Engineer

ปญหาที่เจอใน Mastercam นั้นนอยมาก นอกจากตอนที่แปลงเปน G Code ของเครื่อง Dyna myte 3000 เทานั้น ซึ่งสามารถสรุปขอผิดพลาดไดดังนี้

1. G Code จะมีหนวยกําหนดเปน นิ้ว ตลอด แมจะกําหนดเปนหนวยอื่น เชน มม. แลว 2. G Code จะเกิดปญหาคือ มีเครื่องหมายลบซับซอนกัน หลายจุด เชน

151 ZERO AT 152 X 5.5674 153 Z- -38.5237 154 GR A- -10.543

เม่ือไป Simulation ในโปรมแกรม Dyna myte 3000 ไมสามารถรันได 3. ถากําหนดคา feed เปน default ในตัวโปรแกรมมาสเตอรแคมเมื่อแปลงเปน G Code คา feed จะไม

กําหนดให

178

เอกสารอางอิง

สุทธิพงษ สุภาชัยวัฒน,คูมือปฎิบัติงานกลึง Dynamyte 3000 cnc lathe,มหาวิทยาลัยขอนแกน Kelly Curran and Jon Stenerson,Understanding Mastercam,Prentice Hall Nattapong Kongprasert,Pruek Kongprawechnon,คูมือการใช Mastercam ภาษาไทย,Faculty of Engineer SWU(prasanmitr)

179

ภาคผนวก

180

ภาคผนวก ก ผลที่ไดจากการทดลอง

ตัวอยางงานกดั

รูปที่ ก.1

รูปที่ ก.2

181

รูปที่ ก.3

รูปที่ ก.4

182

รูปที่ ก.5 รูปดัวอยางงานกลึง

รูปที่ ก.6

183

รูปที่ ก.7

รูปที่ ก.8

184

ภาคผนวก ข

แสดง NC Code เฉพาะงานกลึงรูปที่ ก.6 เนื่องจาก Code คอนขางยาวจึงไมสามารถนํามาแสดงทั้ง 8 รูปได

NC Code ของรูปที่ ก.6 เปนดังนี้ 100 START MM 01 102 SET UP >dczx 104 FR XZ/M= 100 106 SPINDLE ON 108 SPD SP= 1800 110 TOOL 1 112 GOfX 22.6167 114 Z 2.7000 116 GO X 22.6168 118 Z- 54.9972 120 ZERO AT 122 X 212.0932 124 Z- 60.4546 126 GR A 3.332 128 >MACH 0 130 GO X 29.1054 132 Z- 59.0404 134 GOfX 29.1054 136 Z 2.7000 138 GOfX 18.9565 140 Z 2.7000 142 GO X 18.9566 144 Z- 48.0701 146 ZERO AT 148 X 212.0932 150 Z- 55.6486 152 GR A 4.542

185

154 >MACH 0 156 GO X 25.8452 158 Z- 54.2344 160 GOfX 25.8451 162 Z 2.7000 164 GOfX 15.2963 166 Z 2.7000 168 GO X 15.2962 170 Z- 37.1600 172 ZERO AT 174 X 212.0932 176 Z- 48.9376 178 GR A 6.921 180 >MACH 0 182 GO X 22.1850 184 Z- 47.5233 186 GOfX 22.1849 188 Z 2.7000 190 GOfX 11.6361 192 Z 2.7000 194 GO X 11.6360 196 Z- 14.8047 198 ZERO AT 200 X 11.4000 202 Z- 16.3000 204 GR A- 85.488 206 >MACH 0 208 GO X 14.4000 210 Z- 31.7722 212 ZERO AT 214 X 212.0932 216 Z- 38.8353 218 GR A 4.106 220 >MACH 0 222 GO X 18.5248 224 Z- 37.4211 226 GOfX 18.5247 228 Z 2.7000

186

230 GOfX 7.9759 232 Z 2.7000 234 GO X 7.9758 236 Z- 6.6130 238 GO X 10.3156 240 Z- 10.5127 242 ZERO AT 244 X 8.4000 246 Z- 10.8000 248 GR A- 16.697 250 >MACH 0 252 GO X 10.4000 254 Z- 14.8000 256 GO X 11.4000 258 Z- 14.8000 260 ZERO AT 262 X 11.4000 264 Z- 14.8341 266 GR A- 12.241 268 >MACH 0 270 GO X 14.8646 272 Z- 13.4199 274 GOfX 14.8645 276 Z 2.7000 278 GOfX 4.3157 280 Z 2.7000 282 GO X 4.3156 284 Z- 0.5127 286 GO X 8.3758 288 Z- 7.2797 290 GO X 11.2042 292 Z- 5.8655 294 SPINDLE OFF 296 CONTROL 1 298 END NEWPART

หมายเหตุ เม่ือแปลงเปน NC code แลวกรณีท่ีไป simulation กับโปรแกรมอื่นจะตองแกไข Code บางสวน