Data Collection in Supporting CPB

Post on 11-Jul-2015

333 views 23 download

Transcript of Data Collection in Supporting CPB

รูพ้ื้ นที ่รูเ้งือ่นไข เขา้ใจคน หนทางปฏิบตัิบรรลผุลสาํเร็จ

การรวบรวมข้อมูลสนับสนุนการเตรียม

สนามรบด้านกจิการพลเรือน (CPB)

ผมคือใคร และ เรียนอะไรมาบ้าง?พ.อ.อรรถสทิธิ์ หัสถธีรรม (เสธ.หนุ่ย)

รอง ผอ.กศ.รร.กร.กร.ทบ.

การศึกษา

นนส.เหล่า ส. รร.ส.สส. (20/30)รร.จปร. วิศวกรรมโยธา (ตท.29/จปร.40)ชั้นนายร้อย รร.ช.กช. และ ชั้นนายร้อย สหรัฐฯ (EOBC)ชั้นนายพัน รร.ช.กช.

สธ.ทบ. (รุ่นที่ 81)ปริญญาโท การบริหารโครงการ Stevens Institute of Technology, U.S.A.ปริญญาเอก การบริหารโครงการ Asian Institute of Technology, ไทย

รับราชการที่ไหนบ้าง?พลทหารกองประจาํการ, ร.19, พล.ร.9 (2529)

นนส.รร.ส.สส. (2530)

นนร.รร.จปร. (2531-2536)

ผบ.มว., ช.พัน.602, พล.ช. (2537-2539)

นายทหารควบคุมการก่อสร้าง ยย.ทบ. (2540-2544)

นทน.สธ.ทบ. (2545)

หัวหน้าแผนก กร.ทบ. (2546-2549)

รอง ผอ.กอง กร.ทบ. (2550-ปัจจุบัน)

พ.อ.พิเศษ....?????? ไม่รู้ อ่ะ แล้วแต่นาย

ราชการสนามที่ไหน?หน.แผนก ฝกร.ศปก.ทบ. (2547-2550)ราชการสนาม จชต. (2547-2550)ศูนย์ประสานการปฏบิัติที่ ๕ กอ.รมน. (ศปป.๕ฯ) (2551-2552)

เจ้าหน้าที่แผนกแผน ส่วนประสานงานพลเรือน ศปป.๕ฯ

คณะกรรมการประเมินผล การดาํเนินการแก้ไขปัญหา จชต.ฯ ของ ศปป.๕ฯ

คณะกรรมประเมนิผล การปฏบิตัิงานของหน่วยในระดบัยุทธวิธ ี(ฉก.หมายเลข) ของ ศปป.๕ฯ

ศูนย์ประสานนโยบาย และยุทธศาสตร์ กอ.รมน.ภาค ๔ สน. (ศปนย.ฯ) (2553-ปัจจุบัน)

เจ้าหน้าที่แผนกมวลชน และพัฒนา ศปนย.ฯ

คณะกรรมการประเมินผล การดาํเนินการแก้ไขปัญหา จชต.ฯ ของ ศปป.๕ฯ

ย้อนไปในปี 2524 ดร.สเุมธ ตันตเิวชกุล ได้ถวายงานแด่ในหลวงเป็นครั้งแรก ได้รับวิชาจากในหลวงที่ ดร.

สเุมธ จดจาํมาจนถงึวันนี้ คือ ดีแล้วที่มาช่วยฉันทาํงานแต่บอกนะว่าไม่มีอะไรให้ นอกจากความสขุที่จะมี

ร่วมกนัในการทาํประโยชน์ให้ส่วนรวม และ จาํไว้นะว่าทาํโครงการใด ให้ยดึหลัก ภูมิสงัคม

ภมูสิงัคม คืออะไรภมูิสงัคม = สภาพแวดล้อมทางกายภาพรอบตัวผู้คน

ผู้คน + ภมูิสงัคม (สภาพแวดล้อมทางกายภาพ) = สงัคม

ภมูิสงัคม มีผลต่อพฤติกรรมผู้คนสงัคม ที่อยู่ภายในบริบทของภมูิสงัคมนั้น

ผู้คนที่อยู่ในภมูิสงัคมที่แตกต่างกนั ย่อมมีพฤติกรรมแตกต่างกนัไป

ความเข้าใจในภมูิสงัคม และ ผู้คนในสงัคม จะช่วยให้วางแผนงานด้านกจิการพล

เรือนเพื่อรองรับภารกจิของหน่วยได้อย่างมีประสทิธภิาพ

การวางแผนงานด้านกจิการพลเรือน จะล้มเหลวอย่างสิ้นเชิงหากผู้วางแผนขาด

ความเข้าใจในภมูิสงัคม และผู้คน ในพื้นที่ปฏบิตักิารที่รับผดิชอบ

ห้องนี้มภีมูสิงัคมแตกต่างกนัอย่างไร

ผู้เข้าร่วมสมัมนา ผู้เข้าร่วมสมัมนา

ผู้บรรยาย

Air

Air

ภมูสิงัคม ประกอบไปด้วยอะไรบ้าง

ภูมิประเทศ

ภูมิธรณี

ภูมิอากาศ

ทรพัยากรธรรมชาติ

ทิวเขาและแม่นํ้ า

ภูมิศาสตรเ์ศรษฐกิจ

คาํถามกวนโอ้ย?• ทําไมคนเหนือ จึงใจเยน็ และพูดชา้ เช่น คําว่า “เจา้”

• ทําไมคนใต ้จึงพูดเร็ว จนคนภาคกลางฟังแทบไม่ทนั

• ทําไมคนเหนือผิวขาว แลว้ คนใตผ้วิคลํ้ า

• ทําไมคนอีสานจะทําปลารา้ แต่ภาคกลางไม่ทํา

• ทําไม่คนจีนขยนัมาก แต่คนไทยขยนันอ้ย

• ทําไมฝรัง่กินขนมปัง แต่คนไทยกินขา้ว

ต้องเข้าใจ ภมูสิงัคม ด้วยการ เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนา

ความร่วมมือ/บูรณาการเชิงนวัตกรรม ใช้ทรัพยากรมาก/หลากหลาย

ใช้ทรัพยากรน้อย/ไม่หลากหลาย

ภยัคุกคาม

ไม่ซับซ้อน

ภยัคุกคาม

ซับซ้อน

• ต้องการความร่วมมอืระหว่างหน่วยงานน้อย

• รับมือภยัคุกคามด้านการทหาร/รปูแบบเดิม

• ต้องการแรงสนับสนุนจากประชาชนน้อย

• ข้อมูลข่าวสารมีการเปลี่ยนแปลงช้า

• ต้องการความร่วมมอืระหว่างหน่วยงานมาก

• รับมือภยัคุกคามด้านการทหาร/รปูแบบเดิม

• ต้องการแรงสนับสนุนจากประชาชนน้อย

• ข้อมูลข่าวสารมีการเปลี่ยนแปลงช้า

• ต้องการความร่วมมอืระหว่างหน่วยงานมาก

• รับมือกบัภัยคุกคามรปูแบบใหม่

• ตอ้งการแรงสนบัสนุนจากประชาชนมาก• ขอ้มูลข่าวสารมีการเปลีย่นแปลงอย่างรวดเร็ว

• ต้องการความร่วมมอืระหว่างหน่วยงานในระดับหนึ่ง

• รับมือภยัคุกคามรปูแบบใหม่

• ตอ้งการแรงสนบัสนุนจากประชาชนมาก• ขอ้มูลข่าวสารมีการเปลีย่นแปลงอย่างรวดเร็ว

สมการอาํนาจกาํลังรบเปลี่ยนแปลงไปการปฏิบตัิการทางทหารภายใตภ้ยัคุกคามรูปแบบเก่า:

อํานาจกาํลงัรบ = อํานาจกาํลงัรบที่มีตวัตน + อํานาจกาํลงัรบทีไ่ม่มีตวัตน

การปฏิบตัิการทางทหารภายใตภ้ยัคุกคามรูปแบบใหม่

อํานาจกาํลงัรบ = อํานาจกาํลงัรบที่มีตวัตน + อํานาจกาํลงัรบทีไ่ม่มีตวัตน + การสนบัสนุนจากประชาชน และภาคส่วนอื่นๆ ในพื้ นทีป่ฏิบตัิการ (AO)

ปบ.ทางทหารรปูแบบเดิม VS รูปแบบใหม่การปฏิบตัิทางทหารภายใตภ้ยัคุกคามรูปแบบเดิม การปฏิบตัิการทางทหารภายใตภ้ยัคุกคามรูปแบบใหม่

มีขอบเขตการปฏบิตัิการที่ชัดเจน เช่น เส้นแบ่งเขตการรบ ฯ ขอบเขตการปฏบิตัิการไม่ชัดเจน

เน้นการหาข้อมูลข้าศกึ เน้นการหาข้อมูลเกี่ยวกบัประชาชน และฝ่ายตรงข้าม

ประชาชน/ภาคส่วนอื่นๆ เป็นอปุสรรคต่อปฏบิตัิการ ประชาชน/ภาคส่วนอื่นๆ เป็นโอกาสต่อการปฏบิัติการ

ไม่ต้องการ/ต้องการน้อย ความร่วมมอืจากภาคส่วน/หน่วย

ราชการอื่นๆ

ต้องการมาก ถงึ มากที่สดุ ความร่วมมอืจากภาคส่วน/หน่วย

ราชการอื่นๆ

ใช้ทรัพยากรทางทหารเป็นหลัก ใช้ทรัพยากรของทุกภาคส่วน

ข้อมูลข่าวสารมกีารเปลี่ยนแปลงน้อย หรือ เปลี่ยนแปลงช้า ข้อมูลข่าวสารมกีารเปลี่ยนแปลงมาก และรวดเรว็

กรณศีกึษา (การปราบปรามคอมมิวนิสต)์คําสัง่ 66/23

จีนเชื่อมสมัพนัธท์างการทูตกบัไทย และเลิกสนบัสนุน พคท.

กรณศีกึษา (สงครามเวียดนาม)ทําไมสหรฐัแพส้งครามเวียดนาม

อํานาจกาํลงัรบสูงมากกว่าฝ่ายตรงขา้ม

แต่ไม่ไดร้บัการสนบัสนุนจาก

ประชาชนภายในประเทศสหรฐัอเมริกา

ประชาชนภายในพื้ นทีป่ฏิบตัิการ

กรณศีกึษา (อฟักานิสถาน)สหรฐั และพนัธมิตรจะชนะเมือ่ไหร่

กรณศีกึษา (๓ จชต.)ภาครฐัจะชนะเมือ่ไหร่?

เข้าใจ เข้าถงึ พัฒนาในมุมมองของงานด้านกจิการพลเรือนสนับสนุนภารกจิของหน่วยทหาร

จะต้องรู้อะไรก่อนที่จะเข้าใจ (รู้ พื้นที่ รู้ เงื่อนไข)

จะมีวิธกีารอย่างไรในการทาํให้รู้ พื้นที่ รู้ เงื่อนไข (รวมรวบจากฝ่ายข่าว/หน่วยงานใน

พื้นที่/จากประชาชนในพื้นที่)

ที่ว่าเข้าใจ และเข้าถงึ คือเข้าใจ และเข้าถงึอะไร (เข้าใจทศันคติ เข้าถงึความคิด)

พัฒนาอย่างไร (พัฒนาเพื่อความมั่นคง และพัฒนาอย่างยั่งยืน)

พฒันาเพือ่ความมัน่คง: หน่วยทหารใช้งานด้านกจิการพลเรือน เช่น การพัฒนาเพื่อความมั่นคง

(ปบ.กร.) เพื่อเข้าถงึ และสร้างความเชื่อมั่นประชาชน (ทหาร), การ ปชส. เพื่อสร้างความเข้าใจ

และสมานฉันท ์เพื่อให้เกดิความเข้าใจอนัดี ซึ่งจะทาํให้ประชาชนในพื้นที่สนับสนุนภารกจิของ

หน่วยทหาร

พฒันาอย่างยัง่ยนื: พัฒนาให้เกดิความเจริญอย่างยั่งยืน (หน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง และ/หรือ

ทหารมีส่วนเกี่ยวข้องบางเลก็น้อย)

ฐานรากของงานด้านกจิการพลเรือน

การเตรียมสนามรบด้านกจิการพลเรือน

(Civil Affair Preparation of Battlefield)

งานด้านกจิการพลเรือน

แรงสนับสนุนจากประชาชน

ภารกจิหลักของหน่วย รองรับยุทธศาสตร์แนวชายแดนฯ

CPB=ฐานราก ,งาน กร.=เสา, ทศันคติ=คาน, ภารกิจหน่วย=หลงัคา

CPB: รู้ พื้นที่ (ภมูิสงัคม) รู้ เงื่อนไข เข้าใจคน หนทางปฏบิตับิรรลุผลสาํเรจ็

ปชช.ในพื้นที่มทีศันคติที่ดีต่อทหาร และให้การสนับสนุน

ภารกจิของหน่วยทหาร

ปจว. ปชส.ปบ.

กร.

งานพฒันา

และงาน ปชส.

โดยหน่วย

ราชการอื่นๆ

ปชช.ในพื้นที่มทีศันคติที่ดีต่อหน่วยราชการ และ

ให้การสนับสนุนภารกจิของหน่วยราชการ

หน่วยทหารบรรลุภารกิจ (ยก., ขว.) หน่วยราชการบรรลุภารกิจ

สถานการณส์มมุติ• แต่ละกลุ่มไดร้บัมอบภารกิจ ชป.กร. ในหมู่บา้นแห่งหนึง่ ใน 3

จชต. (ท่านสามารถจินตนาการ AO ของท่านเองได)้ เพือ่ทํา

หนา้ทีเ่ขา้ถงึประชาชน และสรา้งความเชื่อมัน่ ทั้งนี้ เพือ่ให้

ประชาชนสนบัสนุนงานดา้นยทุธการ และการข่าวของ รอ้ย ร.

ซึ่งเป็นหน่วยเหนอืของ ชป.กร.

• ก่อนปฏิบตัิภารกิจ ชป.กร. ตอ้งจดัทําแผ่นบริวาร CPB เพือ่ใช้ในการคาดการณห์นทางปฏิบตัิดา้นกิจการพลเรือนของฝ่ายตรง

ขา้ม และพฒันาหนทางปฏิบตัิดา้นกิจการพลเรือนของฝ่ายเรา

ภารกจิหลักของ ร้อย ร. (หรือหน่วยของท่าน)

การปฏบิตักิารเชิงรับตามมาตรการ รปภ. 10 ประการ (ยุทธการ)

การปฏบิตักิารเชิงรกุ ได้แก่

พิสจูน์ทราบโครงสร้างฯ (ข่าว)

ทาํลาย และสลายโครงสร้างแกนนาํ (ยุทธการ)

เข้าถงึ และสร้างความเชื่อมั่นกบัประชาชน (กจิการพลเรือน)

ภารกจิ ชป.กร.การเตรียมสนามรบด้านกจิการพลเรือน

รู้ พื้นที่, รู้ เงื่อนไข, เข้าใจคน, กาํหนดพื้นที่, คิดค้น หป.กร.ฝ่ายตรงข้าม และพัฒนา หป.กร.ฝ่ายเรา

สนับสนุนการปฏบิัติการเชิงรับตามมาตรการ รปภ. 10 ประการ และอื่นๆ

การฝึกกาํลังประชาชน

สนับสนุนการปฏบิตักิารทางทหาร ก่อน ระหว่าง และ หลังการปฏบิตักิาร

อื่นๆ

สนับสนุนการปฏบิตักิารเชิงรกุ (ทาํให้ประชาชนสนับสนุนภารกจิ ฉก.ฯ)

สร้างความเข้าใจ และสมานฉันทด์้วยการ ปชส.

ปรับความคิด/ความเชื่อ ด้วยการการต่อต้านการโฆษณาชวนเชื่อเชิงรับ/รกุ

สร้างความเชื่อมั่นด้วยการช่วยเหลือประชาชนผ่านการดาํเนินการโครงการพัฒนาเพื่อความมั่นคง ที่

เนน้การมีส่วนร่วมของประชาชน เช่น สภาสนัตสิขุฯ, โครงการเศรษฐกจิพอเพียง และอื่นๆ เป็นต้น

สนับสนุนภารกจิของหน่วยงานราชการอื่นๆ ในพื้นที่ เพื่อให้เกดิการพัฒนาในระยะยาว/ยั่งยืน

ขั้นตอนการเตรียมสนามรบด้านกจิการพลเรือน1. รูพ้ื้ นที ่(ขอ้มูลพื้ นฐาน): ประสานฝ่ายข่าว

2. รูเ้งือ่นไข: ประสานฝ่ายข่าว และหาเพิม่เติมจากในพื้ นที่

3. เขา้ใจคน ดว้ยการใชข้อ้มูลจาก ขอ้ 1 และ 2

4. กาํหนดลกัษณะพื้ นที่ ดว้ยการใชข้อ้มูลจากขอ้ 1 - 3

5. คาดการณ ์หป.กร. ฝ่ายเขา (คิดแบบผูก้่อเหตุรุนแรง) ดว้ยการใชข้อ้มูล

จากขอ้ 1-4

6. กาํหนด หน.กร. ฝ่ายเรา ดว้ยการใชข้อ้มูลจากขอ้ 4

6 ขั้นตอนการเตรียมสนามรบด้านกจิการพลเรือน

ขั้นที ่1: รูพ้ื้ นที ่(ขอ้มูลพื้ นฐาน)

แผ่นบริวารแสดงสิง่สําคญัทางทางกายภาพ

แผ่นบริวารสถานภาพประชากร แสดงพื้ นทีก่ารนบัถอืศานา

ไทยพุทธ

ไทยมุสลิม

ไทยมุสลิม

แผ่นบริวารสถานภาพประชากร แสดงพื้ นทีก่ารประกอบอาชีพ

ประมง

สวนยาง สวนยาง

สวนยาง

สวนยาง

ขั้นที ่2: รูเ้งือ่นไข

แผ่นบริวารเงือ่นไขในพื้ นที่

ขั้นที ่3: เขา้ใจคน

กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่

เจ้าหน้าของ

รัฐในพื้นที่

ผู้นาํท้องถิ่น

ผู้นาํทาง

ศาสนา

ครสูอน

ศาสนา

ผู้นาํชุมชน

ประชาชน

NGO

เยาวชน

อื่นๆ

ตารางระดบัการได้รับการเชื่อถอื-ทศันคติ

เจ้าหน้าของ

รัฐในพื้นที่

ผู้นาํท้องถิ่น

ผู้นาํทาง

ศาสนา

ครสูอน

ศาสนา

ผู้นาํชุมชน

ประชาชน

NGO

เยาวชน อื่นๆระดบัการไดร้บั

การเชื่อ

ถอืจากช

มุชน

ระดบัทศันคติทีม่ีต่อเจา้หนา้ทีข่องรฐัตํา่ สูง

สูง

ในภาพรวมทศันคตเิป็นอย่างไร?

เจ้าหน้าของ

รัฐในพื้นที่

ผู้นาํท้องถิ่น

ผู้นาํทาง

ศาสนา

ครสูอน

ศาสนา

ผู้นาํชุมชน

ประชาชน

NGO

เยาวชน อื่นๆระดบัการไดร้บั

การเชื่อ

ถอืจากช

มุชน

ระดบัทศันคติทีม่ีต่อเจา้หนา้ทีข่องรฐัตํา่ สูง

สูง

ใครได้รับการเชื่อถอืจากชุมชนมากที่สดุ?

เจ้าหน้าของ

รัฐในพื้นที่

ผู้นาํท้องถิ่น

ผู้นาํทาง

ศาสนา

ครสูอน

ศาสนา

ผู้นาํชุมชน

ประชาชน

NGO

เยาวชน อื่นๆระดบัการไดร้บั

การเชื่อ

ถอืจากช

มุชน

ระดบัทศันคติทีม่ีต่อเจา้หนา้ทีข่องรฐัตํา่ สูง

สูง

แผ่นบริวารสถานภาพประชากร ทศันคติคนในพื้ นที่

ไทยพุทธ

ตารางระดบัการได้รับการเชื่อถอื-ทศันคติ

เจ้าหน้าของ

รัฐในพื้นที่

ผู้นาํท้องถิ่น

ผู้นาํทาง

ศาสนาครสูอน

ศาสนา

ผู้นาํชุมชน

ประชาชน

NGO

เยาวชน

อื่นๆระดบัการไดร้บั

การเชื่อ

ถอืจากช

มุชน

ระดบัทศันคติทีม่ีต่อเจา้หนา้ทีข่องรฐัตํา่ สูง

สูง

แผ่นบริวารสถานภาพประชากร ทศันคติคนในพื้ นที่

ไทยพุทธ

ขั้นที ่4: กาํหนดลกัษณะพื้ นที่

กําหนดลกัษณะพื้ นที่จากภาพรวมของทศันคติของกลุ่มเป้าหมาย

ไทยพุทธ

ขั้นที ่5: คาดการณ ์หป.กร.ฝ่ายเขา

การสรา้งแผนบริวารรวม

+

+

+

+

+

แผ่นบริวารสิ่งสาํคัญทางกายภาพ

แผ่นบริวารการนับถอืศาสนา

แผ่นบริวารสถานภาพประกอบอาชีพ

แผ่นบริวารเงื่อนไข

แผ่นบริวารทศันคติ

แผ่นบริวารอื่นๆ

แผ่นบริวารรวม

คาํถามชวนคิด

• ถ้าฝ่ายเขาต้องการรักษาระดบัทศันคตขิองคนในพื้นที่ให้เป็นสแีดง หรือ แดง

มากขึ้น ท่านคิดว่าฝ่ายเขาน่าจะมี หป.กร.อย่างไร?

• ประชาสมัพันธห์รือไม่ อย่างไร?

• โฆษณาชวนเชื่อหรือไม่ อย่างไร?

• สร้างความเชื่อมั่น/ศรัทธา หรือ สร้างความหวาดกลัว หรือไม่ อย่างไร?

• มอมเมาเยาวชน/ปลุกปั่น หรือไม่ อย่างไร?

• อื่นๆ

ขั้นที ่6: พฒันา หป.กร.ฝ่ายเรา

การพัฒนา หป.กร. ฝ่ายเราหป.กร. สนับสนุน

รปภ.ครู

หป.กร. ในการ

ต่อต้านการโฆษณา

หป.กร. ในการสร้าง

ความเชื่อมั่น/

ศรัทธา

หป.กร. ในการสร้าง

ความเชื่อมั่น/

ศรัทธา

หป.กร. ฝ่ายตรง

ข้าม

การพัฒนา หป.กร. ฝ่ายเรา

หป.กร. 1

หป.กร. 2

หป.กร. 3

หป.กร. 4

หป.กร. ฝ่ายตรง

ข้าม

ผลกระทบที่เกดิ

ขึ้นจาก หป.

ดาํเนินการ หรือ

ไม่ดาํเนินการ

ผลกระทบที่เกดิ

ขึ้นจาก หป.

ดาํเนินการ หรือ

ไม่ดาํเนินการ

ผลกระทบที่เกดิ

ขึ้นจาก หป.

ดาํเนินการ หรือ

ไม่ดาํเนินการ

ผลกระทบที่เกดิ

ขึ้นจาก หป.

ดาํเนินการ หรือ

ไม่ดาํเนินการ

ฝ่ายเรา VS ฝ่ายเขา

ฝ่ายเรา: ใช ้หป.กร. เพือ่สรา้งทศันคติเชิงบวก หรือทํา

ใหป้ระชาชนสนบัสนุนภารกิจฝ่ายเรา

ฝ่ายตรงขา้ม: ใช ้หป.กร. เพือ่สรา้งทศันคติเชิงลบ

หรือทําใหป้ระชาชนสนบัสนุนต่อฝ่ายเขา และ/

หรือ ไม่สนบัสนุนฝ่ายเรา

ประสบการณ์ตอ้งมีระบบรองรับคนที่เก่งงาน กร. ส่วนใหญ่เกดิจากประสบการณ์

ประสบการณย์ากที่จะถ่ายทอด

ระบบถ่ายทอดง่าย

ประสบการณ ์+ ระบบ = มคีุณค่ามาก และถ่ายทอดง่าย

งานเตรียมสนามรบด้านกจิการพลเรือน (CPB) ฐานรากของงาน กร.

CPB รู้พืน้ที ่รู้เงือ่นไข เข้าใจคน หนทางปฏิบัตบิรรลุผลสําเร็จ

ใช ้CPB เป็นเครื่องมือในการเชื่อมโยง/บูรณาการแผนงาน

CPBผบช.

หน่วยงาน

อื่นๆใน

พื้ นที่

ชป.กร./

หน่วยงาน

ดา้น กร.

ภาคส่วน

อื่นๆ

ภาษาแห่งการบูรณาการแผนงาน/โครงการ/ยทุธศาสตร์

(Language of Integration)

ยนิดีรบัขอ้เสนอแนะจากทุกท่าน

ขอบคุณครบั

พ.อ.อรรถสิทธิ์ หสัถธีรรม, 081-3766271, hastheetham@yahoo.com