Agri specific crop

Post on 15-Feb-2017

736 views 0 download

Transcript of Agri specific crop

การใชผลิตภัณฑเพื่อการเกษตรแอมเวย กับพืชเศรษฐกิจ

พืชเศรษฐกิจที่สําคัญในประเทศไทย

ยางพารา

ปาลมน้ํามัน

มันสําปะหลัง

ออย

ขาว

ขาวโพด

ไมดอกไมประดับ

ไมผล

พืชผัก

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของขาว

• ขาวนาป ป 2556 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรประมาณการ ณ เดือน กันยายน 2555 มีเนื้อที่เพาะปลูก 61.72 ลานไร ผลผลิตตอไรเฉลี่ย 424 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นจากป 2555 สงผลใหภาพรวมการผลิตขาวเพิ่มขึ้น

• ขาวนาปรัง ป 2556 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตรประมาณการ ณ เดือน มิถุนายน 2555 มีเนื้อที่เพาะปลูก 17.12 ลานไร ผลผลิต 11.67 ลานตัน และผลผลิตตอไรเฉลี่ย 682 กิโลกรัม ทั้งเนื้อที่เพาะปลูก ผลผลิต และผลผลิตตอไรเพิ่มขึ้นจากป 2555

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของขาว

• การสงออก ป 2556 คาดวาไทยจะสงออกประมาณ 8.00-8.50 ลานตันขาวสาร เพิ่มขึ้นจากป 2555 รอยละ 23.08 โดยภาครัฐไดกําหนดแผนขยายตลาดสงออกขาวที่มุง แสวงหาตลาดใหมๆ เชน ประเทศในภูมิภาคแอฟริกา อเมริกาใต และตะวันออกกลาง โดยแผนการประชาสัมพันธเนนคุณภาพของขาวไทยและมาตรฐานเปนที่ยอมรับใน ตลาดโลก

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของขาวโพด

• ความตองการใชขาวโพดเลี้ยงสัตว ป 2556 คาดวามี 4.67 ลานตัน เพิ่มขึ้น จาก 4.36 ลานตัน ในป 2555 รอยละ 7.11 เนื่องจากการขยายตัวของอุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว เพื่อการบริโภคภายในประเทศและเพื่อการสงออกเนื้อสัตวและผลิตภัณฑ ทําใหความตองการใช ขาวโพดเลี้ยงสัตวเพื่อเปนวัตถุดิบอาหารสัตวเพิ่มขึ้น

• ขาวโพดฝกสด ไดแก ขาวโพดฝกออนและขาวโพดหวาน ใชในการประกอบอาหารตางๆ ปจจุบันความตองการใชขาวโพดฝกสดในประเทศมีเปนจํานวนมาก แตปริมาณการสงออกไปจําหนายยังตางประเทศนั้นมีนอย เนื่องจากมีพื้นที่ปลูกนอยหากเทียบกับพืชเศรษฐกิจอื่นๆในประเทศ

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของถั่วเหลือง

• ความตองการใชเมล็ดถั่วเหลือง ตั้งแตป 2551 - 2555 ภายในประเทศมีความตองการ เพิ่มขึ้นรอยละ 3.77 ตอป ในป 2555 การใชประโยชนมีหลาย วัตถุประสงค ไดแก สกัดน้ํามัน ทําพันธุ และแปรรูปผลิตภัณฑอาหาร

• การสงออก ของไทยสวนใหญเปนการสงออกเมล็ดถั่วเหลืองสายพันธุธรรมชาติ (Non-GMOs) ที่ผลิตไดภายในประเทศ ตลาดสงออกสวนใหญอยูในทวีปเอเชีย โดยในชวงป 2551 - 2555 ปริมาณสงออกอยูระหวาง 954 - 2,629 ตัน

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของออย

• ป 2555/56 ไทยมีเนื้อที่เพาะปลูกออย 8.09 ลานไร เพิ่มขึ้นจากป 2554/55 0.8 ลานไร

• ป 2555/56 ผลผลิตออย 99.61 ลานตัน เพิ่มขึ้นจาก 98.40 ลานตัน ในป 2554/55 รอยละ 1.22

• ไทยบริโภคน้ําตาลปละ 1.6-1.7 ลานตัน เปนมูลคา 17,000-19,000 ลานบาท

• ไทยมีการสงออกมากกวาปละ 3 ลานตัน เปนมูลคา 20,000-30,000 ลานบาท ทําใหประเทศไทยเปนผูสงออกน้ําตาลอันดับ 4 ของโลก

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของมันสําปะหลัง

• มันสําปะหลังถือเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของประเทศ เปนอันดับ 3 รองจากขาวและยางพารา

• เกษตรกรหลายพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังเพื่อปอนเขาโรงงานผลิตเอทานอล

• ป 2555 ความตองการใชมันสําปะหลังเพิ่มขึ้นในสวนที่ใชเพื่อเปนอาหารและพลังงาน ประเทศผูผลิตในเอเชีย เชน ไทย จีน อินโดนีเซีย ฟลิปปนส และเวียดนาม มีนโยบายสงเสริมการผลิตพลังงานทดแทนเชื้อเพลิงมากขึ้น ทําใหความตองการใชมันสําปะหลังขยายตัวมากขึ้น

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของยางพารา

• ไทยเปนผูสงออกยางพาราธรรมชาติมากเปนอันดับ 1 ของโลก • ในป 2554 ประเทศไทยสงออกผลผลิตยางพาราในรูปแบบยาง

ธรรมชาติ ประมาณ 440,862 ลานบาท• ในเดือน มกราคม-ตุลาคม ของป 2555 เราไดสงออกผลผลิต

ยางพาราในรูปแบบผลิตภัณฑยางตางๆ ประมาณ 227,665 ลานบาท

ความสําคัญทางเศรษฐกิจของปาลมน้ํามัน

• ปจจุบัน ไทยมีจํานวนเกษตรกรผูปลูกปาลมน้ํามันมากกวา 1.28 แสนครัวเรือน มีพื้นที่เพาะปลูก และพื้นที่ใหผลผลิตประมาณ 4.28 และ 3.98 ลานไร

• ไทยสามารถผลิตน้ํามันปาลมดิบไดปละ 1.9 ลานตัน ซึ่งชวยสรางรายไดใหแกเกษตรกรประมาณ 6 หมื่นลานบาทตอป

• การผลิตน้ํามันปาลมดิบของไทยในป 2555 มีแนวโนมขยายตัวรอยละ 5-7 จากปกอนหนา

ผลิตภัณฑเพื่อการเกษตรแอมเวยสารเสรมิประสิทธิภาพ

แอ็ปซา-80ปุยธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม

นิวทริแพลนท เอจี

ปุยธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนปุยธาตุอาหารหลัก

นิวทริแพลนท ไนโตรเจน พลัส

ปุยธาตุอาหารหลัก นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ปุยธาตุอาหารหลัก นิวทริแพลนท โพแทสเซียม พลัส

สารปรับปรงุบํารุงดินนิวทริแพลนท ซอยลพลัส

สารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80Adjuvant APSA-80

X ไมใช ปุย X ไมใช ยา X ไมใช ฮอรโมนพืช

แอดจูแวนทสารเสริมประสิทธิภาพชนิดเขมขน

สวนประกอบ

สารออกฤทธิ์ 80% ประกอบดวย

2. กรดไขมันอิสระสารประกอบอื่นๆ 20%แอลกอฮอลล**เปนสารลดแรงตึงผิวที่ไมมีประจุ (Non Ionic)**

1. อัลคิล อัลริล อัลคอกซีเลต

คุณสมบัติของแอ็ปซา-80

3. เปนตัวกระทําอิมัลชั่น2. เปนสารกระตุน

4. เรงการแทรกซึมน้ําลงสูดิน5. ไมมีฤทธิ์กัดกรอนโลหะ6. สูตรเขมขน ชวยประหยัด

1. เปนสารชวยแผกระจาย

วิธีการผสมสารเสริมประสิทธิภาพ แอ็ปซา-80 กับสารเคมีตางๆ

น้ํา 3 ใน 4 สวน

แอ็ปซา-80สารปองกันกําจัดศัตรูพชื

ผสมแอ็ปซาใหเขากับน้ําเพื่อปรับสภาพน้ํากอน

ผสมสารปองกันกําจัดศัตรูพืชใหเขากับน้ําและแอ็ปซาที่เตรียมไว

เติมน้ําใหเต็มถังผสมสารปองกันกําจัดศัตรูพืชใหเขากันกับน้ําและแอ็ปซากอนนําไปฉีดพน

ปุยเคมีธาตุอาหารรองธาตุอาหารเสริมในรปูคีเลตและสารประกอบ

เชิงซอนสําหรบัพชืผลทางการเกษตรชนิดฉีดพนทางใบ

สูตรชีวภาพ

นิวทริแพลนท เอจี คืออะไร?

ธาตุอาหารรอง

ธาตุอาหารเสริม

กํามะถัน (S) 0.75%

- เหล็ก(Fe) 0.32% - โมลิบดีนัม(Mo) 0.0005%

- โบรอน(B) 0.014% - ทองแดง(Cu) 0.025%

- แมงกานีส(Mn) 0.26% - สังกะสี (Zn) 0.53%

สารอาหารอินทรีย โปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรีย คารโบไฮเดรต

สวนผสมหลักในนิวทริแพลนท เอจี

ธาตุอาหาร ความสําคัญ

กํามะถัน(S)

โบรอน (B)

ทองแดง (Cu)

เหล็ก (Fe)

แมงกานีส (Mn)

โมลิบดีนัม (Mo)

สังกะสี (Zn)

เปนองคประกอบของกรดอะมิโน โปรตีน และวิตามินที่สําคัญกับพืช

ชวยในการออกดอกผสมเกสร มีบทบาทสําคัญในการติดผลและการเคลื่อนยายน้ําตาลมาสูผลชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล การหายใจ การใชโปรตีนและแปง กระตุนการทํางานของเอ็นไซมบางชนิดชวยในการสังเคราะหคลอโรฟลล มีบทบาทสําคัญในการสังเคราะหแสงและหายใจชวยในการสังเคราะหแสงและการทํางานของเอ็นไซมบางชนิด

ชวยใหพืชใชไนเตรตใหเปนประโยชนในการสังเคราะหโปรตีน

ชวยในการสังเคราะหออกซิน (ฮอรโมนพืช) คลอโรฟลล และแปง

ความสําคัญของธาตุอาหารในนิวทริแพลนท เอจี

*** ออกซิน (ฮอรโมนพืช) สงผลใหพชืแตกยอดออน แตกรากกระตุนการเจรญิเติบโตของลําตน ***

เชื้อจุลินทรยี

สารอาหาร

ถังอาหารเพาะเชือ้จลุินทรยีเพื่อการผลิตปุย

กระบวนการผลิตสารเชิงซอนทางชีวภาพ “Biological Complexation Process หรือ BCP

กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี

อบใหเชือ้เจริญเติบโตและเกิดสารเมแทบอไลท

กรดอะมิโน

คารโบไฮเดรต

กรดอินทรยี

โปรตีน

กระบวนการคีเลชัน่

ไอออนโลหะ (จุลธาตุ)

สารเมแทบอไลท ในรปูของโปรตีน กรดอะมิโน กรดอินทรยี

คารโบไฮเดรต

ไอออนโลหะ (จุลธาตุ)

สารคีเลต

- เหล็ก(Fe) - โมลิบดีนัม(Mo) - ทองแดง(Cu) - แมงกานีส(Mn) - สังกะสี (Zn)

1. คีเลตอันเกิดจากการรวมตัวกับกรดอะมิโน

2. คีเลตอันเกิดจากการรวมตัวกับกรดอินทรีย

3. คีเลตอันเกิดจากการรวมตัวกับคารโบไฮเดรต

เติมธาตุอาหารอื่นผสมเขาดวยกัน ทําใหผลิตภัณฑมีเสถยีรภาพในขั้นสุดทาย

กระบวนการผลิตนิวทริแพลนท เอจี

บรรจุลงภาชนะออกมาเปนผลิตภัณฑปุยนิวทริแพลนท เอจี

สังกะสี(ไอออนบวก)จับตัวกับฟอสเฟต(ไอออนลบ) ทําใหเกิดการตกตะกอน

ฟอสเฟต

สังกะสีฟอสเฟต

สังกะสี

ตกตะกอน

ฟอสเฟตไมสามารถจับตัวกับสังกะสี(ไอออนบวก)ไดเพราะมีคีเลตปกปองอยู

ฟอสเฟตคีเลต

สังกะสี

คีเลต

สังกะสี

ฟอสเฟต

ไมเกิดการตกตะกอน

คุณสมบัติที่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

ผิวใบพืช

ผิวใบพืช

ขนาดของคีเลตและสารประกอบเชิงซอนเล็กทําใหพืชดูดไปใชงานไดงายขึ้น

คุณสมบัติที่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ ผิวใบ

เนื้อเยื่อภายในใบ

คุณสมบัติที่ไดจากกระบวนการผลิตปุยคีเลต

NUTRIPLANT AG ชวยลดความเสียหายลงได 55%

NUTRIPLANT® AG ลดความเสียหายอันเกิดจากเครียดดานความแหงแลง

Treated =ฉีดพนปุย 2 ครั้ง (สัปดาหละครั้ง), แลวใหอยูในสภาพแหงแลง 1-4 ชั่วโมง

NUTRIPLANT® AG

ลดความเสียหายที่เกิดกับพืชวัดจากปริมาณสารใน

ของเหลวที่รัว่ซึมออกมาจากเซลล เมื่อคิดจากปริมาณ

ของเหลวทั้งหมด ในชวงเวลา 1-4 ชั่วโมง

NUTRIPLANT® AG ชวยใหพืชทนตอสภาพที่มีอุณหภูมิสูงตนมะเขือเทศทางขวามือ ฉีดพนปุย 2 ครั้ง (สัปดาหละครั้ง), แลวใหอยูในหองที่มีอุณหภูมิ 116º F (47ºC) เปนเวลา 2 ชั่วโมง

ลดความเสียหายเนื่องจากอุณหภูมิสูงNUTRIPLANT® AG

Control Treated

NUTRIPLANT® AG ชวยใหพืชทนตอสภาพที่มีอุณหภูมิต่ําตนมะเขือเทศทางขวามือ ฉีดพนปุย 2 ครั้ง (สัปดาหละครั้ง), แลวใหอยูในหองที่มีอุณหภูมิ 23º F ( -5ºC) เปนเวลา 2 ชั่วโมง

ลดความเสียหายเนื่องจากอุณหภูมิต่ํา

Control Treated

NUTRIPLANT® AG

เพิ่มประสิทธิภาพและคณุภาพผลผลิตใหสูงขึ้น

ชวยในการสังเคราะหแสงของพชื

ใหผลผลิตเร็วขึ้นเสรมิการเจรญิเติบโตของพืชเสรมิการออกดอกออกผล และชวยปองกันดอกและผลรวง

มีสวนประกอบที่สมดุลของธาตุอาหารรอง ธาตุอาหารเสริม

คุณประโยชนของนิวทริแพลนท เอจี

ปุยเคมีธาตุอาหารหลัก ฉีดพนทางใบ ซึ่งใหธาตุอาหารหลักครบถวน ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม

นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18

ประกอบดวยธาตุอาหารหลักในปริมาณ ดังนี้ ไนโตรเจนทัง้หมด (N) 4%ฟอสฟอรัสทีเ่ปนประโยชน (P2O5) 18%โพแทชทีล่ะลายน้ํา (K2O) 18%

สวนประกอบในปุยเคมีนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ธาตุอาหารหลักในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

ประกอบดวยไนโตรเจน (N) ฟอสฟอรัส (P) และโพแทสเซียม (K)

• ไนโตรเจน มีประโยชนในการสังเคราะหหนวยโครงสรางพืน้ฐานของกรดอะมิโน กรดนิวคลีอิก และคลอโรฟลล

• ฟอสฟอรัส เกี่ยวของกับการใชประโยชนจากน้ําตาล แปง และการสงผานพลังงาน

• โพแทสเซียม มีประโยชนตอการเจรญิเติบโตและพฒันาการของราก สรางน้ําตาล และน้ํามัน ความทนทานตอสภาพอากาศหนาวเย็น คุณภาพของผล (น้ําตาล สี และการควมคุมสภาพกรด) และชวยใหพชืทนแลง

อาการขาดไนโตรเจนของใบขาวโพด (ขวา) ปรากฏที่ใบ

แกหรือใบลางเปรียบเทียบกับใบปรกติในตําแหนงเดียวกัน (ซาย)

อาการขาดไนโตรเจนของขาวโพด

อาการขาดฟอสฟอรัสของขาวโพด

อาการขาดธาตุฟอสฟอรัสของขาวโพด แสดงอาการที่ใบแก ลักษณะเดนคือมีสีมวงเกือบทั้งแผนใบ ยกเวน

เสนกลางใบ

อาการขาดโพแทสเซียมของขาวโพด

ใบลางของขาวโพด แสดงใบปรกติ (ซาย) ใบที่ขาดไนโตรเจน (กลาง) และใบที่ขาดโพแทสเซียม (ขวา)

5. ชวยสงเสรมิภูมิคุมกัน (Elicitors) ใหกับพืช

คุณสมบัติ 5 ประการในนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

1. ลิแกนดธรรมชาติ (Natural Ligands) ที่ไดจากกระบวนการผลิตชวยใหปุยซึมเขาสูใบพืชไดรวดเร็วและเปนประโยชนกับพชื

2. ชวยตานอนุมูลอิสระ (Antioxidants) ในเซลลพชื

3. ชวยปองกันภัยจากภาวะออสโมซิสผิดปกติ (Osmorprotectants)

4. ชวยสงเสรมิกระบวนการทางชีวภาพ (Biostimulants) ของพืชใหเปนปกติ

อยูในรูปแบบน้ํา ใชฉีดพนทางใบ ละลายน้ําได 100 % ชวยแกไขอาการขาดธาตุอาหารหลักในพืชไดอยางรวดเร็วและเห็นผลชัดเจน มีธาตุอาหารหลัก N P K ที่พืชตองการอยางครบถวน นอกจากมีธาตุอาหารหลัก N P K แลวใน นิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส ยังประกอบไป

ดวยสารประกอบอินทรียหลายชนิด ธาตุอาหารหลัก N P K และสารอินทรียตางๆในผลิตภัณฑปุยอยูในรูปสารประกอบ

เชิงซอนโมเลกุลเล็ก(คลายคีเลต) ธาตุอาหารหลักและสารอินทรีย มีการเกาะตัวกันอยางเหมาะสม และมีความสามารถ

รวมตัวเขากับสารอื่นๆไดดี ไมเกิดการตกตะกอน

คุณสมบัติเดนของนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส สูตร 4-18-18

คุณประโยชนของปุยนิวทริแพลนท เอ็นพีเค พลัส

• ชวยเรงการออกดอก ออกผล ใหกับพืช จึงเพิ่มปริมาณและคุณภาพของผลผลิตใหสูงขึ้น

• ชวยใหพืชเจริญเติบโตไดอยางสมบูรณสูงสุด และไมทําลายสภาพดินและสิง่แวดลอม

• ชวยใหพืชมีความทนทานตอสภาพแวดลอมอันเลวรายตางๆไดดียิ่งขึ้น

• ใหผลผลิตเร็วขึ้น เกษตรกรเก็บเกี่ยวไดเร็วขึ้นชวยใหเกษตรกรยิ้มได

39

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

“ชวยใหโครงสรางของผนังเซลล เยื่อหุมเซลลและเยื่ออื่นๆในเซลล

มีความสมบูรณ”

“ชวยใหโครงสรางของผนังเซลล เยื่อหุมเซลลและเยื่ออื่นๆในเซลล

มีความสมบูรณ”

40

หากพืชขาดแคลเซียมและโบรอน นอกจากผลผลิตจะลดลงมากแลว ยังทําใหคุณภาพและมูลคาของผลผลิตที่เก็บรักษาไวลดลงมากดวย

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

41

การผสมเกสรนอย จึงไมคอยติดผล

มีอาการกนผลเนาในมะเขือเทศ พริก แตงโม และผลไมอื่นๆรวมทั้งความผิดปกติที่ใบผักตางๆดวย

ผลสมปริแตก

เนื้อในของผลมังคุดเปนเนื้อแกว เนื้อเหลืองและยางไหล

ความผิดปกติในพืช ซึ่งเกิดจากการขาดแคลเซียมและโบรอน หรือภาวะไมสมดุลของแคลเซียมและโบรอน

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

42

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

ตํารับปุย อัตราที่ใช อาการผิดปกติที่เกิดกับผลCaO กรัม/เฮ็กตาร

เก็บในหองเย็น 90 วัน เก็บในหองเย็น 90 วันและขางนอกอีก 15 วัน

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน 510 3.7 4.5แคลเซียมเพียงอยางเดียว 2,430 14.8 8.9

Source: Agrisouth, Colbun, Chile – 2008, 2009 ทดลองกับตนแอบเปลที่ผิวผลมีอาการผิดปกติ คือ รอยบุม ปุยแคลเซียมที่ใช คือแคลเซียมคลอไรด

ฉีดพนปุยนิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน อัตราต่ํา 5 ครั้ง ลดอาการผิดปกติไดถึง 49% เมื่อเทียบกับการใชปุยแคลเซียมเพียงอยางเดียว

ผลิตภัณฑที่มีแคลเซียมและโบรอนอยูดวยกันใหผลดีกวาการใชปุยที่มีแคลเซียมเพียงอยางเดียว

ลดลง 49%

ผลิตภัณฑนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนประกอบดวย

43

แคลเซียม (CaO) 12%โบรอน (B) 0.75%

แคลเซียม โบรอน

44

องคประกอบดานสารอินทรียลิแกนตธรรมชาติที่ชวยเพิม่การดูดซึมเขาสูใบและการเคลื่อนยายของแคลเซียมและโบรอนในใบสารตอตานอนุมูลอิสระทีช่วยปกปองพชืจากอันตรายทีเ่กิดจากอนุมูลอิสระสารกระตุนเชงิชวีภาพทีช่วยสงเสรมิกระบวนการซึ่งสําคัญตอชวีิตและการเจริญเติบโตสารเสรมิประสิทธิภาพการจบัใบและดูดซึมธาตุอาหารเขาสูใบ

* ลิแกนดเปนสารอนิทรยีทีจ่ับกับธาตุอาหารแลวเพิม่ประสิทธิภาพการดูด และการเคลื่อนยายธาตุนั้นในพชื

องคประกอบของนิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน

45

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

บทบาทสําคัญของนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน ทําให1) โครงสรางของผนังเซลลสมบูรณ 2) เพิ่มเสถียรภาพของเยื่อหุมเซลล 3) สงเสริมการยืดตัวของเซลลและเปลี่ยนสภาพของเนื้อเยื่อ 4) เปนสารตานอนุมูลอิสระจึงชวยใหเกิดผลดีตอพืชหลายประการ

คุณประโยชนของนิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน• การติดผล การติดเมล็ด การติดฝก ของพืชแตละชนดิดีขึ้น ทําใหผลผลิตสูง• ผลไม ผักสด และเมล็ดพืชมีคุณภาพดีขึ้น• มะเขือเทศ พริก แตง และพืชอืน่ๆไมมีอาการกนผลเนา• ผลไมรูปทรงดีไมมีผลที่รูปรางบิดเบี้ยว จึงเปนที่ตองการของตลาด• คุณภาพของผลผลิตหลังการเก็บเกี่ยวดีขึ้น• ลดความสูญเสียระหวางการเก็บรักษาและการขนสง

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

การออกดอก การติดผล และการพัฒนาผลในระยะแรก

ไมผล: ใชอัตรา 160-240 มล./ไร ในระยะติดผล และฉีดพนซ้ําทุกสัปดาหอีก 3 ครั้ง แนะนําใหฉีดพนในระยะผลเขาสีดวย

พืชใหผลประเภทเบอรี่ (ผลมีเนื้อหนึ่งถึงหลายเมล็ด): เชน บลูเบอรี่ สตอเบอรี องุน-ใชอัตรา 160-640 มล./ไรเมื่อผลเขาสี และฉีดพนซ้ําตามความจําเปนเพื่อแกไขการขาดธาตุอาหาร

พืชไร ตลอดจนพืชผัก ธัญพืช พืชน้ํามันและถั่วตางๆ: ใชอัตรา 160-640 มล./ไร ในระยะกอนออกดอก ติดผล และฉีดพนซ้ําตามความจําเปนเพื่อแกไขการขาดธาตุอาหาร

นิวทริแพลนทแคลเซียม-โบรอน จําเปนตอการเจริญเติบโตและการพัฒนาของพืชในระยะตางๆ

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

วิธีใช:เขยาขวดกอนเปดขวด นําปุยมาเจือจางดวยน้ําปริมาณเพียงพอที่จะใชฉีดพนไดอยางทั่วถึงหากใชถังฉีดพนแบบสะพายหลัง ควรละลายปุย 40-160 มล./น้ํา 20 ลิตรใชสารละลายปุยที่เจือจางไวแลว 20 ลิตรฉีดพนในพื้นที่ 0.25 ไร (1 งาน)

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

ตํารับปุย ปริมาณแคลเซียมที่ใหทั้งหมด

ความเขมขนของแคลเซียมในผล (มก./100 กรัมผลสด)

(กรัม/เฮ็กตาร) ตัวอนางที่เก็บครั้งที่ 1

ตัวอยางที่เก็บครั้งที่ 2

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน 357 3.9 a* 4.0 aปุยแคลเซียมแบบอื่น 2,924 3.0 b 3.1 c

* ตัวเลขที่ตามดวยตัวอักษรตางกัน แสดงวาความแตกตางมีนับสําคัญทางสถิติ (p<0.05)

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนใหผลการใชดีกวาปุยแคลเซียมรูปอื่นๆ

การใชปุยนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนอัตราต่ํากวาปุยอื่น 8 เทา แตทําใหปริมาณแคลเซียมในผลสูงกวาการใชปุยแคลเซียมแบบอื่น 30%

เพิ่มขึ้น30%

Source: cv. Royal Gala. Agrisouth, Colbun, Chile – 2008, 2009 Calcium salt supplied in a form of calcium chloride

นิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอน

จากบทบาทของปุยนิวทริแพลนท แคลเซียม-โบรอนในดาน:ชวยใหโครงสรางของผนังเซลลสมบูรณสรางเสถียรภาพของเยื่อหุมเซลลการยืดตัวของเซลลและการเปลี่ยนสภาพของเนื้อเยื่อกิจกรรมตานอนุมูลอิสระ

เพื่อใหไดผลผลิตและคุณภาพผลผลิตสูงขึ้น อายุการเก็บรักษานานขึ้น

แนะนําใชใหเกิดประโยชนสูงสุดทางใบ

ใชรวมกับสารเสรมิประสิทธิภาพแอปซา-80 เพื่อเพิม่ประสิทธิภาพในการดูดซึมธาตุอาหารของพืชและชวยใหเกิดผลดียิ่งขึ้น

นิวทริแพลนท ซอยลพลัส

ประโยชนของนิวทริแพลนท ซอยลพลัส

• ใชทางดิน เพื่อชวยเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดินที่มีประโยชนใชไดผลดีกับดินทุกชนิด

• ชวยใหกิจกรรมทางชีวภาพของดินสูงขึ้น จึงทําใหสภาพของดินดีขึ้น

• ชวยเพิ่มธาตุอาหารในดิน ดังนั้นจึงชวยใหพืชเจริญเติบโตและมีผลผลิตสูงขึ้น

คุณประโยชนของนิวทริแพลนท ซอยลพลัส ชวยเพิ่มการเจริญเติบโตของจุลินทรียดินที่เปนประโยชน ชวยปรับปรุงโครงสรางของดิน

จํานวนโคโลนีของจุลินทรยีทีน่บัไดจากดิน 1 กรัม (CFU)จุลินทรยี กอนใชนวิทรแิพลนท

ซอยลพลัสหลังจากใชนวิทรแิพลนท

ซอยลพลัสแบคทีเรยี 93 x 106 9.8 x 107

แอกติโนไมซีต 4.9 x 106 2.6 x 107

เชื้อรา 6.2 x 103 7.8 x 103

* Colony Forming Units

“นิวทริแพลนท ซอยลพลัส ชวยเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดินที่เปนประโยชน เชน แอกติโนไมซีต แบคทีเรีย และเชื้อรา”

การทํางานของนิวทริแพลนท ซอยลพลัสนิวทริแพลนท ซอยลพลัส ชวยเพิ่มประชากรของจุลินทรียที่เปนประโยชนดานการปรับปรุงดิน

จลุินทรีย จํานวนโคโลนีของจุลินทรียที่นับไดจากดิน 1 กรัม (CFU/g) กอนใชสาร หลังจากใชสาร

แบซิลลสั 105 107

คลอสตริเดียม 103 105

ฟลาโวแบคทีเรียม 106 107

ไมโครคอกคัส 105 106

ไรโซเบียม 104 106

CFU/g = Colony Forming Units per gram of Soil

นิวทริแพลนท ซอยลพลัส เพิ่มประชากรของแบคทีเรีย ซึ่งมีบทบาทสําคัญในการเพิ่มธาตุอาหารในดินและความอุดมสมบูรณของดิน ทําใหสุขภาพของพืชดีขึ้น

ความสําคัญของจุลินทรียดิน บาซิลลัส ชนิดตางๆ• ทําหนาที่ปรับปรุงสภาพดินและชวยในการหมุนเวียนธาตุอาหารพืชในดิน • ชวยใหฟอสฟอรัสในดินเปนประโยชนตอพืชมากขึ้น• ชวยปกปองรากมิใหเชื้อโรคเขาทําลาย • ผลิตสารปฏิชีวนะได สารนี้ชวยควบคุมการเจริญเติบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืช• กระตุนระบบภูมิคุมกันโรคใหแกพืช • ชวยควบคุมวงจรของไนโตรเจนใหขับเคลื่อนไปไดดี

ความสําคัญของจุลินทรียดิน คลอสทริเดียม ชนิดตางๆ• ชวยปรับปรุงสภาพดิน และขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหารในดิน ดวยการยอยสลายสารอินทรียตางๆ • ปกปองพืชมิใหโรคพืชเขาทําลายพืชปลูก โดยยับยั้งการเจริญเติบโตของเชื้อสาเหตุโรคพืช • ชวยเพิ่มปริมาณไนโตรเจนที่พืชใชประโยชนได โดยการตรึงไนโตรเจนในสภาพที่ดินขาดออกซิเจน

ความสําคัญของจุลินทรียดิน ฟลาโวแบคทีเรียม ชนิดตางๆ

• ปรับปรุงสภาพดินและความอุดมสมบูรณของดิน • มีความสามารถในการละลายสารประกอบอนินทรียฟอสเฟตในดิน จึงชวยใหฟอสฟอรัสเปนประโยชนแกพืชมากขึ้น •มีความสามารถในการสังเคราะหออกซิน ซึ่งเปนฮอรโมน จึงชวยใหพืชเจริญเติบโตดีขึ้น

ความสําคัญของจุลินทรียดิน ไมโครคอกคสั ชนิดตางๆ•ปรับปรุงสภาพดิน และขับเคลื่อนวงจรธาตุอาหารในดิน โดยการยอยสลายซากพืช รวมทั้งลิกนินซึ่งเปนสารที่สลายยากดวย•ชวยลดสภาพพิษของสารตางๆ โดยการยอยสลายสารมลพิษในดิน เชนสารเคมีฆาวัชพืช และสารเคมีฆาแมลงหลายชนิด•ควบคุมวงจรของไนโตรเจนในบางขั้นตอน เชน การเปลี่ยนสารประกอบไนเตรตใหเปนไนไตรท

ความสําคัญของจุลินทรียดิน ไรโซเบียม ชนิดตางๆ

•เพิ่มไนโตรเจนที่เปนประโยชนใหแกพืช โดยอยูในรากพืชตระกูลถั่ว แลวเปลี่ยนแกสไนโตรเจนซึ่งพืชใชประโยชนไมได ใหอยูในรูปที่พืชใชประโยชนงาย

ประโยชนของการเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรียดิน

•ชวยใหสมบัติทางฟสิกสและเคมีของดินดีขึ้น•ลดความแนนทึบของดิน•เพิ่มการถายเทอากาศ•เพิ่มความจุในการเก็บน้ําไวใหพืชใชประโยชน •เพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดินที่เปนประโยชนตอพืช

การปรับปรุงดินใหมีสภาพแวดลอมเหมาะสมแกการเจริญเติบโตของพืชมากขึ้น ยอมทําใหไดผลผลิตสูงขึ้น

อัตราการใชนิวทริแพลนท ซอยลพลัส

ชนิดของดินอัตราการใช

การฉีดทั่วแปลง ฉีดพนหรือราดเฉพาะบริเวณใตทรงพุมหรือขางแถวพืช

ดินทราย 160 ซีซี/ไร 80 ซีซี/ไรดินรวน 120 ซีซี/ไร 45 ซีซี/ไรดินเหนียว 80 ซีซี/ไร 40 ซีซี/ไร

สรุปคุณประโยชนของนิวทริแพลนท ซอยลพลสั

ประโยชนตอดิน•เพิ่มจํานวนของจุลินทรยีดิน•ปรับปรุงโครงสรางดินและชวยใหดินไมแนนทบึ

ประโยชนตอพชื•รากดูดธาตุอาหารที่เปนประโยชนไดมากขึ้น•การกระจายตัวของรากดีขึ้น•ผลผลิตมากเพิ่มขึ้น

แนะนําใชใหเกิดประโยชนสูงสุดทางดิน

ใชรวมกับสารเสรมิประสิทธิภาพแอปซา-80 เพื่อเพิม่ประสิทธิภาพในการดูแลดินเพือ่เพาะปลูกพชื

ประกาศเพิ่มเติมวิธีการใชแอ็ปซา-80 รวมกับนิวทริแพลนท ซอยลพลัส ในเอกสารฝกอบรมผลิตภัณฑเพื่อการเกษตร เลม พืชพลังงานเศรษฐกิจ,

พืชสวนเศรษฐกิจ และพืชไรเศรษฐกิจเดิม เปลี่ยนเปน

โปรดแจงนักธุรกิจแอมเวยในองคกรใหทราบโดยทั่วกัน

ขอกําหนดตาม พ.ร.บ. เกี่ยวกับการจําหนายปุย 2518

ตองขายปุย ณ สถานที่ที่ไดรับอนุญาตการขาย เชน แอมเวยช็อปนธอ. สามารถซื้อนิวทริแพลนท เอจี เพื่อการใชเอง โดย “ไม”

สามารถนําไปเสนอขายตอ ยกเวน นธอ.ที่มีใบอนุญาตจําหนายปุยกรณีทําผิด มาตรา 57 แหง พ.ร.บ.ปุย จะไดรับโทษจําคุกไมเกิน 5 ป

หรือปรับไมเกินสองแสนบาทหรือทั้งจําทั้งปรับ

การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี

ในกรุงเทพมหานคร ดําเนินการขอไดที่ ฝายปุยเคมี สํานักควบคุมพืชและวัสดุการเกษตร กรมวิชาการเกษตร ถนนพหลโยธิน เขตจตุจักร กรุงเทพฯ โทร.02-579-5536-7 ผูขอตองมีใบทะเบียนการคาหรือทะเบียนพาณิชย ใบอนุญาตออกใหจําหนายตามที่อยูที่ขอเทานั้น คาธรรมเนียม 100 บาท ใชเวลาดําเนินการ 1 วันทําการ อายุ

ใบอนุญาตมีอายุตามกําหนดไมเกิน 1 ป

การขออนุญาตจําหนายปุยเคมี

ในตางจังหวัดสามารถขออนุญาตจําหนายปุยเคมีไดที่สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร 8 เขต ไดแก เชียงใหม ชัยนาท พิษณุโลก จันทบุรี ขอนแกนสุราษฏรธานี อุบลราชธานี สงขลา