อักขราวิสุทธิ์ - uni.net.th ·...

Post on 04-Nov-2019

1 views 0 download

Transcript of อักขราวิสุทธิ์ - uni.net.th ·...

อักขราวิสุทธิ ์โปรแกรมตรวจสอบการคัดลอกผลงานวชิาการ

ผศ. ดร.โชติรตัน์ รัตนามหัทธนะ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์

คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

การลอกงานเขียน ความคิด หรืองานสร้างสรรค์ดั้งเดิมทั้งหมด หรือบางส่วนที่เหมือน หรือเกือบเหมือนงานดั้งเดิมของผู้อื่น มาแอบอ้างเป็นงานดั้งเดิมของตนเอง

- วิกิพีเดีย (เม.ย. 2557)

Plagiarism การลอกเลียน/ลักลอกวรรณกรรม

2

ส่งงานของคนอื่น แต่เคลมวา่เปน็งานของตนเอง

คัดลอกค าพูด หรือไอเดียจากผู้อื่นโดยไม่ให้เครดิต

ไม่ใส่เครื่องหมายอัญประกาศ ในที่ทีค่วรใส ่

ใส่ข้อมลูอ้างอิงทีค่ลาดเคลื่อน/ไม่ถูกต้อง

ปรับเปลี่ยนค าพูด Keyword หรือบางวลี แต่เนื้อหายังคงเดิม และไม่มีการใหเ้ครดิต

รวบรวมค าและประโยคมาจากที่ต่าง ๆ ซึง่เมื่อเขียนแล้วกลับเป็น Contribution ส่วนใหญ่ของงานตนเอง

เอางานเก่าของตนเองมาเขียนใหม่ (Self Plagiarism / Recycling Fraud)

ตัวอย่างของ Plagiarism

มีการคัดลอกค า และวลีมาจากข้อความต้นฉบับเป็นจ านวนมาก

มีการปรับเปลี่ยนข้อความหลายที่ แต่เนื้อหายังคงเดิม บางครั้งเปน็การถอดความที่มาจากหลาย ๆ หน้า โดยใส่ที่มาในเชิงอรรถ เป็นการจงใจปิดบังหรืออ าพรางวา่ข้อความเหล่านี้ได้รับการถอดความมาจากข้อความผู้อื่น ท าให้ Plagiarism ไม่ให้ชัดเจนมากนัก

มีการอ้างองิแหลง่ที่มา แต่การอ้างอิงหน้าอาจจะไม่ถูกต้องนัก

ไม่มีการใช้อัญประกาศในที่ ๆ ควร

บางงาน Plagiarize ได้เนียนมาก

Plagiarism Detection Software เทียบกับเอกสารบน internet หรือฐานขอ้มูลเอกสารอา้งอิง ทัง้ที่อยู่

ในรูปของ HTML, PDF, TXT, Word ฯลฯ

Turnitin, Dupli Checker, PlagiarismChecker.com, Plagiarismdetect, Plagiarisma.net, MOSS, Jplag, SafeAssign, Copyscape, Ephorus, Urkund, EVE, Glatt, Plagium, Copyscape, iThenticate, PlagScan, WriteCheck, Viper, Deja Vu ฯลฯ

การตรวจจับ Plagiarism

จุฬาฯ 100 ปี

ไม่มี Plagiarism

7

8

งานแถลงข่าว 26 สิงหาคม 2556

9

ข่าวที่ได้รับการเผยแพร่ผ่านสื่อต่างๆ

10

ประเด็นปัญหาในการท าวิทยานพินธ์

การลักลอกผลงานทางวิชาการ

การจ้างท าวิทยานิพนธ ์

3 มาตรการ ป้องกันการลักลอกผลงานวิชาการ

13

แจกเอกสารแนะน าและอบรมนิสิตเกี่ยวกับ “Plagiarism” ตลอดจนมาตรการการตรวจสอบ

เปิดรายวิชา “จริยธรรมการวิจัย” เป็นรายวิชาเรียนออนไลน์ ที่นิสิตทุกคนต้องลงทะเบียนและสอบผ่าน

อบรมอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

1. มาตรการสร้างจิตส านึก

14

15

เอกสารแนะน าและอบรมนิสิตเกี่ยวกับ

“Plagiarism”

16

เปิดรายวิชา “จริยธรรมการวิจัย” เนื้อหารายวิชาจริยธรรมการวิจัยใน ระบบ Blackboard มีทั้งหมด 8 บทเรยีน ดังนี ้บทน า บทที ่1 การวิจัยและจริยธรรมการวิจัย บทที ่2 การได้มาซึ่งข้อมูลและการจัดการข้อมูล บทที่ 3 การเป็นเจ้าของงานประพันธ์และการ ตีพิมพ์ บทที ่4 การประพฤติผิดทางการวิจัย บทที ่5 การใช้สัตว์ทดลองในการวิจัย บทที่ 6 พี่เลี้ยงในงานวิจัยและงานวิจัยร่วม บทที ่7 ภาวะส่วนตัว การถือเป็นความเฉพาะ และผลประโยชน์ขัดกัน บทที ่8 กระบวนการตรวจสอบจริยธรรมการ วิจัยของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

17

จัดโครงการอบรม “การปฏิบัติหน้าที ่

อาจารยท์ี่ปรึกษาวิทยานิพนธ”์

ก าหนดให้นิสิตส่งแบบรายงานความก้าวหน้าและแผนการท าวิทยานิพนธท์ุกภาคการศึกษา

ก าหนดให้นิสิตเขียนวิทยานิพนธ์ด้วย โปรแกรม “CU E-THESIS”

2. มาตรการป้องปราม

18

ปัญหา - การเขียนวิทยานิพนธ์

รูปแบบการเขียน (Format) ผิดเพี้ยน จากรุ่นพี่สู่รุ่นน้อง

หน้าแรก/หน้าลายเซ็นกรรมการ/สารบัญ มักผิดบ่อย

เอกสารอ้างอิงไม่ถูกต้องสมบูรณ์

อาจารย์ที่ปรึกษาพบปัญหาเมื่อสายเกินไป

Digital File ของวิทยานิพนธ์ท่ีส่งให้ห้องสมุด มีหลากหลาย version ยุ่งยากในการสร้าง Metadata

19

20

การทดลอง เก็บข้อมูล

วิเคราะห์ผล

CU E-THESIS กลไกที่ส าคัญ และประโยชน์ที่หลากหลาย

CU E-THESIS

โปรแกรม

โปรแกรม

3. มาตรการติดตาม/ตรวจสอบ

30

• โปรแกรม ไม่เหมาะสมในการตรวจสอบวิทยานิพนธ์ที่เขียนเป็นภาษาไทย

• ค่าใช้จ่ายสูง (ประมาณ 960,000 บาท/ปี)

• ค่อนข้างยุ่งยากในการใช้งาน

31

ปัญหา – การตรวจสอบการลักลอกผลงาน

• โปรแกรมส าหรับตรวจสอบความคลา้ยกันระหว่างวิทยานิพนธ์หรือบทความกับคลังฐานข้อมูล

อักขราวิสุทธิ ์

โปรแกรมอักขราวิสุทธิ์ (ฐานข้อมูล)

วิทยานิพนธ์

ความคล้าย = 60% ………………..................

..

……………….............

..... ผลการตรวจสอบ

32

วิทยานิพนธ ์

การเชื่อมโยงของระบบ

33

การตรวจสอบบทความ

34

กรอกข้อมูลผ่านเว็บไซต์

ได้รับผลทางอีเมล

ผลลัพธ์การตรวจสอบ

35

Confidential & Proprietary 36

ผลลัพธ์การตรวจสอบ (ปีการศึกษา 2557)

Confidential & Proprietary 37

ผลลัพธ์การตรวจสอบ (เสร็จต้นปี 2557)

Confidential & Proprietary 38

ฐานข้อมูลของระบบอักขราวิสุทธิ์ (ปี 2557)

39

> 15,000 เล่ม + วิทยานิพนธ์ 2,500 เล่ม/ปี + สารนิพนธ์ 2,000 เล่ม/ปี

> 1,200 เรื่อง > 20 วารสาร

> 1,000 รายการ > 80,000 บทความ

CU Theses

Other

Databases

CU Research

Reports

& e-Books

CU Journal

Articles

Wiki

ความสามารถของระบบอักขราวิสุทธิ ์

ตรวจสอบเอกสารกับฐานข้อมูลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

สามารถตรวจสอบได้ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ

รองรับรูปแบบไฟล์ได้หลายรูปแบบ

มีรายงานแสดงส่วนคลา้ย

รองรับการดัดแปลงของข้อความ

รวดเร็ว

40

ความสามารถของระบบอักขราวิสุทธิ ์

• รายงานค่าคะแนนความเหมือนของเอกสารที่มีความคล้ายกับเอกสารต้นฉบับ

• แสดงผลลัพธ์รายงานโดยแยกตามแหล่งที่มาของเอกสารที่มคีวามคล้ายกับเอกสาร ต้นฉบับ

• มีหน้าจอการแสดงผลลัพธ์ใหแ้สดงต าแหนง่และรูปแบบผลลัพธ์ให้เหมือนกับเอกสารต้นฉบับที่น าเข้าสู่ระบบ

• เปรียบเทียบผลลัพธ์กับฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์จาก CUIR และอินเตอร์เน็ต

• รองรับไฟล์เอกสารในรูปแบบ PDF, DOC และ DOCX โดยที่เอกสารจะต้องอยู่ใน รูปแบบของอักขระ (ไม่ใช่รูปภาพ)

• ระบบจะส่งอีเมลไปถึงผู้ใช้เมื่อระบบประมวลผลเสร็จสิ้น

41

ความสามารถของระบบอักขราวิสุทธิ ์

• รองรับการน าเข้าฐานข้อมูลจากหลายประเภทแหลง่ข้อมูล

• รองรับการตรวจสอบจากหลายแหล่งข้อมูล

• รองรับการตรวจสอบจากมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ

• มีการแสดงผลภาพรวมส าหรับผู้ดูแลระบบของแต่ละมหาวิทยาลัย

• สถาปัตยกรรมระบบ เหมาะกับการใช้งานที่มีจ านวนผู้ใช้จริงเป็นจ านวนมาก

• มีการพัฒนา API (Application Programming Interface) เพื่อเชื่อมต่อกับระบบอื่น เช่น ระบบการส่งวิทยานิพนธ์ออนไลน ์

42

นิสิต

มี template ส าหรับการเตรียมวิทยานิพนธ์ที่ถูกตอ้ง ส่งงานอาจารย์ที่ปรึกษาผ่านระบบ ระบบป้องกันข้อมูลสูญหาย/ได้รับความเสียหาย ข้อมูลพื้นฐานถูกต้อง ครบถ้วนและทนัสมัย ขั้นตอนการนดัสอบวิทยานิพนธ์และส่งวิทยานิพนธ์ฉบับ

สมบูรณ์กระชับขึ้น ป้องกัน Plagiarism โดยไม่เจตนา

ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ ์

43

อาจารย ์

หมดภาระในการตรวจสอบรูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์ และข้อมูลพื้นฐาน

ตามงานนิสิตผ่านระบบ และร่วมตรวจสอบ Plagiarism อย่างใกล้ชิด

ทราบที่มาของข้อมูล/ป้องปรามการจ้างท าวิทยานิพนธ ์

44

ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ ์

หน่วยงาน

ประหยัดเวลาและทรพัยากรในการตรวจสอบรูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์ และข้อมูลพืน้ฐาน

ส่งต่อ/แบง่ปันข้อมูล และน าข้อมูลไปใช้ได้ทันท ี

ความเสี่ยงของการมีวิทยานิพนธ์ทีเ่ข้าขา่ย Plagiarism ลดลง

มีข้อมูลในการบริหารจัดการวิทยานพินธ์ตลอดเวลา

45

ข้อดี E-THESIS + อักขราวิสุทธิ ์

มหาวทิยาลัยที่ต้องการใช้ระบบอักขราวิสุทธิ ์

46

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุญาตให้มหาวิทยาลัยอื่นใช้ฐานข้อมลูของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยตรวจสอบวิทยานิพนธ์

โดยไม่มีค่าใช้จ่าย

แต่ละมหาวิทยาลัยสามารถจัดเก็บข้อมูลวิทยานิพนธ์ทีส่ถาบันตนเองและตรวจสอบฐานขอ้มูลของตนเองได ้

สถาปัตยกรรมระบบ

Confidential & Proprietary 47

...

CU e-thesis

E-Thesis

1

2

สามารถเก็บข้อมูลวิทยานิพนธ์ได้ที่ 1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย หรือ 2. มหาวิทยาลัยปลายทาง

การเตรียมความพร้อมของมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วมโครงการ

• เตรียมข้อมูลพร้อม Metadata – ข้อมูลวิทยานิพนธ์สามารถเป็นได้ทั้ง Microsoft Word หรือ PDF

– Metadata อยู่ในรูปแบบ Dublin Core หรือ MARC 21

• เตรียมเครื่องแม่ข่ายตามขนาดเครื่องที่ก าหนด (CPU+RAM+HDD+Network) (ส าหรบัมหาวทิยาลัยที่ต้องการเก็บข้อมูลที่สถาบันตนเอง)

48

การตรวจสอบข้อมูลของมหาวิทยาลัยที่เข้าร่วม

เก็บข้อมูลที่ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เก็บข้อมูลที่ มหาวิทยาลัยปลายทาง

ไม่มีค่าใช้จ่ายด้านการพัฒนาโปรแกรม

ไม่มีค่าใช้จ่ายด้าน Infrastructure

ความเร็วในการตรวจสอบ

49

การเริ่มต้นโครงการในปีแรก (เก็บข้อมูลที่มหาวิทยาลัยปลายทาง)

เซ็นสัญญาการให้สิทธ์ิการใช้โปรแกรม

เริ่มใช้งานกับฐานข้อมูลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เตรียมเครื่องแม่ข่ายตามขนาดเครื่องที่ก าหนด เตรียมข้อมูลพร้อม Metadata ส าหรับวิทยานิพนธ ์

ลงโปรแกรมและเชื่อมฐานข้อมูลที่เครื่องแม่ข่าย เริ่มใช้งานข้อมูลที่น าเข้า

การเริ่มต้นโครงการในปีแรก (เก็บข้อมูลที่จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)

เซ็นสัญญาการให้สิทธ์ิการใช้โปรแกรม

เริ่มใช้งานกับฐานข้อมูลจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

เตรียมเครื่องแม่ข่ายตามขนาดเครื่องที่ก าหนด เตรียมข้อมูลพร้อม Metadata ส าหรับวิทยานิพนธ ์

ลงโปรแกรมและเชื่อมฐานข้อมูลที่เครื่องแม่ข่าย เริ่มใช้งานข้อมูลที่น าเข้า

52

หน่วยงานที่สนใจและศึกษาดูงาน

ม.ศิลปากร

ม.อีสเทิรน์

เอเชีย

มรภ.เลย

ม.แม่โจ ้

มรภ.

อุดรธานี

ม.มหิดล

ม.นเรศวร

ปี

2556

ปี

2557

สถาบนับณัฑิต

พฒันาบริหาร

ศาสตร ์

มหาวิทยาลยั

รามค าแหง

ติดต่อสอบถามเพิ่มเติม

53

1. รศ. ดร.อมร เพชรสม คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย amorn.p@chula.ac.th 02-218-3515 2. ดร.วิชญ์ เนียรนาทตระกูล / นายไพโรจน์ ลีลาภทัรกิจ บ. อินสไปก้า จ ากัด vit@inspica.com / pairote@inspica.com 089-506-6976 3. ผศ. ดร.โชติรัตน์ รัตนามหัทธนะ ภาควิชาวิศวกรรมคอมพิวเตอร์ คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ann@cp.eng.chula.ac.th 089-499-9400

http://www.akarawisut.com

ถาม - ตอบ

54