สร้างสื่อการสอนด้วย InfoGraphic2 Align top Align Middle Align...

Post on 11-Feb-2020

13 views 0 download

Transcript of สร้างสื่อการสอนด้วย InfoGraphic2 Align top Align Middle Align...

สร้างสือ่การสอนดว้ย

InfoGraphic

ดุสิต ศรสีร้อย

อาจารย์

คณะบรหิารศาสตร์ มหาวทิยาลัยอุบลราชธานี

สารบัญ

บทที่ 1 เครื่องมือพื้นฐานที่ควรรู้ .............................................................................................................................. 1

1.1 การเรียงวัตถุด้วยค าสั่ง Align .......................................................................................................... 1

1.1.1 ตัวเลือก Align to Slide และ Align Selected Objects .................................................. 2

1.1.2 Distribute ........................................................................................................................... 3

1.2 การสลับล าดบัชัน้วัตถุด้วยค าสั่ง Bring to Front และ Send to Back ........................................ 4

1.3 เครื่องมือหรือค าสั่งส าหรับจัด layout ............................................................................................ 6

1.3.1 การใช้งาน Grid และ Guide ............................................................................................... 6

1.3.2 เครื่องมือจัด layout แบบ grid on screen ....................................................................... 9

1.4 การรวมวัตถุด้วยค าสั่งกลุ่ม Merge Shapes ................................................................................ 11

1.5 สร้างชุดสีด้วย eye dropper ........................................................................................................ 12

1.6 ส าเนาการจัดรูปแบบด้วย Format Painter ................................................................................. 16

1.7 สร้างตัวอักษรตามเสน้โค้ง ............................................................................................................. 17

บทที่ 2 การแทรกวีดีโอจาก Youtube .................................................................................................................. 20

บทที่ 3 การสร้างกราฟเพื่อน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ............................................................................................ 24

3.1 การสร้างกราฟ ............................................................................................................................... 24

3.2 การแก้ไขแหล่งข้อมูลกราฟ ........................................................................................................... 26

3.3 การสลับแถวของการน าเสนอข้อมูล .............................................................................................. 28

3.4 แทรกภาพด้วยกล่องภาพวาด ........................................................................................................ 30

บทที่ 4 องค์ประกอบเพิ่มเติม ................................................................................................................................. 35

4.1 การ download และติดตั้งฟอนต ์................................................................................................ 35

4.2 Download ภาพประกอบจากเว็บไซต์ freepik.com .................................................................. 39

4.3 การโหลดภาพประกอบจากเว็บไซต์ flaticon.com ..................................................................... 44

บทที่ 1

เครื่องมือพื้นฐานที่ควรรู้ 1.1 การเรียงวัตถุด้วยค าสั่ง Align

Align เป็นกลุ่มค าสั่งส าหรับใช้จัดเรียงวัตถุตั้งแต่ 2 ชิ้นขึ้นไปให้อยู่ในระนาบที่ต้องการ ค าสั่งใน

กลุ่ม Align จะอยู่ในแท็บ Format เป็นเครื่องมือที่มีประโยชน์เป็นอย่างมากเนื่องจากช่วยลดเวลาการจัด

องค์ประกอบของวัตถุได้เป็นอย่างดี ดังรายละเอียด

ภาพที่ 1 เครื่องมือในกลุ่ม Align

Align left Align center Align Right

ภาพที่ 2 การเรียงวัตถุในแนวแกนตั้ง

2

Align top Align Middle Align bottom

ภาพที่ 3 การเรียงวัตถุในแนวแกนนอน

1.1.1 ตัวเลือก Align to Slide และ Align Selected Objects

1) Align to Slide เป็นตัวเลือกส าหรับก าหนดการเรียงวัตถุโดยยึดเอาพ้ืนที่ของ

สไลด์เป็นตัวอ้างอิง โปรแกรมจะตรวจสอบว่าผู้ใช้งานต้องการจัดเรียงแบบใด เช่น เรียงแบบจัดแกนกลาง

แนวนอน (Align Middle) โปรแกรมจะจัดให้วัตถุท่ีถูกเลือกอยู่ตรงแกนกลางแนวนอนของสไลด์

ภาพที่ 4

3

2) Align Selected Objects เป็นการจัดเรียงโดยยึดเอาวัตถุที่ถูกเลือกตั้งแต่สอง

ชิ้นขึ้นไปเป็นหลัก หากวัตถุที่ถูกเลือกมีตั้งแต่ 3 ชิ้นขึ้นไป เพาเวอร์พอยต์จะยึดเอาต าแหน่งของวัตถุทาง

ซ้ายมือและทางขวาเป็นหลัก เพ่ือการจัดเรียง

ภาพที่ 5

1.1.2 Distribute

Distribute เป็นค าสั่งในกลุ่ม Align มีคุณสมบัติกระจายระยะหรือช่องไฟของวัตถุที่ถูก

เลือกออกให้มีขนาดเท่าๆ กัน ดังแสดงในภาพตัวอย่างในภาพที่ 6 แถวด้านบนเป็นภาพที่ยังไม่ได้จัดด้วย

Distribute จะเห็นว่าช่องไฟหรือระยะห่างของวัตถุไม่สม่ าเสมอดูไม่สวยงาม ภาพในแถวด้านล่างเป็นแนวของ

วัตถุท่ีถูกจัดระยะด้วยค าสั่ง Distribute แล้ว

ภาพที่ 6

4 1.2 การสลับล าดับชั้นวัตถุด้วยค าสั่ง Bring to Front และ Send to Back

เมื่อมีการสร้างวัตถุ เช่น ภาพวาด (Drawing) หรือ น าเข้า (Insert) ข้อมูลจากภายนอก เช่น

ภาพประกอบลงในสไลด์ โปรแกรมเพาเวอร์พอยต์จะให้ล าดับชั้นการข้อมูลเหล่านั้นโดยอัตโนมัติ โดยใช้

หลักการว่า วัตถุชิ้นไหน สร้างข้ึนหรือน าเข้า ทีหลัง จะมีล าดับชั้นสูงหรือเหนือกว่า วัตถุท่ีสร้างหรือน าเข้าก่อน

หน้า จากตัวอย่างในภาพที่ 7 จะเห็นว่าวงกลม “รับรู้” ถูกสร้างข้ึนมาเป็นล าดับแรกสุด จากนั้นจึงมีการสร้าง

วงกลม “ลูกค้า” และ “แบรนด์” ตามมาเป็นล าดับ

ภาพที่ 7 ตัวอย่างการซ้อนทับกันของวัตถุในสไลด์

ท าให้วงกลม “แบรนด์” ถูกจัดล าดับชั้นอยู่ในระดับสูงที่สุด สามารถซ้อนทับและบดบังพ้ืนที่ของ

วงกลม “ลูกค้า” และวงกลม “รับรู้” ได้ตามล าดับ เช่นเดียวกันกับที่วงกลม “ลูกค้า” จะซ้อนทับวงกลม

“รับรู้” ในขณะที่ถูกวงกลม “แบรนด์” ซ้อนทับอีกชั้นหนึ่ง

5

หากผู้ใช้งานต้องการสลับล าดับชั้นของวัตถุต่างๆ ใหม่ สามารถท าได้โดยใช้ ค าสั่งในกลุ่ม Bring

to Front หรือ Send to Back ดังนี้

คลิกเลือกวัตถุที่ต้องการจัดล าดับชั้นใหม่ (สามารถเลือกพร้อมกันครั้งล่ะหลายๆ ชิ้นได้)

คลิกเมาส์ขวา > เลือกค าสั่ง Bring to Front หรือ Send to Back ดังรายละเอียดต่อไปนี้

ตารางท่ี 1 สรุปค าสั่ง Bring to Front และ Send to Back

ค าสั่ง การท างาน

Bring to Front

Bring to Front > Bring to Font สลับล าดับวัตถุชิ้นที่เลือกข้ึนไป 1 ระดับ

Bring to Front > Bring Forward สลับล าดับวัตถุชิ้นที่เลือกข้ึนไปเป็นล าดับหน้าสุด

Send to Back

Send to Back สลับล าดับวัตถุชิ้นที่เลือกลดระดับไป 1 ระดับ

Send to Back สลับล าดับวัตถุชิ้นที่เลือกข้ึนไปเป็นล าดับสุดท้าย

ภาพที่ 8 การเรียงล าดับชั้นของวัตถุในสไลด์เพาเวอร์พอยต์

6 1.3 เครื่องมือหรือค าสั่งส าหรับจัด layout

1.3.1 การใช้งาน Grid และ Guide

Grid และ guide คือ เส้นเสมือนส าหรับใช้เป็นแนวหรือพ้ืนที่เสมือนส าหรับประกอบการจัด

องค์ประกอบของวัตถุในสไลด์

ภาพที่ 9

สามารถเรียกใช้งานหรือปิดการใช้งาน Grid and Guides ได้ดังขั้นตอนดังต่อไปนี้

1) คลิกขวาที่สไลด์ใดๆ ในสื่อน าเสนอ (Presentation) ภาพที่ 10

2) เลือกคลิกท่ีรายการ Grid and Guides … (ภาพที่ 10)

3) จะปรากฏกรอบโต้ตอบ grid and Guides ปรากฏขึ้นมา

4) คลิกเลือกท่ี display drawing guide on screen (ภาพที่ 11)

5) คลิกปุ่ม OK

7

ภาพที่ 10 การเรียกใช้เครื่องมือ Grid and Guides…

ภาพที่ 11 การเปิดหรือปิดการใช้งานเครื่องมือ Grid and Guides

8

หากต้องการเพ่ิม grid and guide ให้ เลือกที่ Add vertical guide หรือ Add horizontal

guide ตามความต้องการสามารถท าได้ดังนี ้

1) คลิกขวาที่สไลด์จากนั้นจะปรากฏ เมนูลัดขึ้นมา เลือกรายการ Grid and Guides…

> Add Vertical Guide หากต้องการเพ่ิมเส้นบอกแนวแกนตั้ง และ เลือกรายการ

Add Horizontal Guide หากต้องการสร้างเส้นบอกแนวในแนวแกนนอน

2) หากต้องการปรับต าแหน่งที่ตั้งของเส้น Grid and Guide สามารถท าได้โดยการคลิก

เมาส์ซ้ายค้างไว้ที่เส้นแล้วลากไปยังที่ต้องการ

3) หากต้องการลบ สามารถท าได้ได้โดยคลิกม์ซ้ายค้างท่ีเส้นแล้วลากออกไปจากสไลน์

ภาพที่ 12 การเรียกใช้ค าสั่งเพ่ิมเส้นแนวแกนตั้ง

ภาพที่ 13 การเรียกใช้ค าสั่งเพ่ิมเส้นแนวแกนนอน

9

1.3.2 เครื่องมือจัด layout แบบ grid on screen

จากภาพตัวอย่างจะเห็นว่ามีการประยุกต์ใช้เส้นบอกแนวที่มีลักษณะเหมือนกับหน้ากระดาษ

ตารางกราฟ ส าหรับจัดต าแหน่งการจัดหน้าและต าแหน่ง หรือ layout ของวัตถุ ท าให้การจัดวางต าแหน่งท า

ได้แม่นย าและสวยงาม เป็นระเบียบ เป็นกลุ่มก้อน ท าให้ง่ายต่อการอ่าน

ภาพที่ 14

วิธีการเรียกเส้นบอกแนวแบบ grid on screen ขึ้นมาใช้งาน มีวิธีการดังต่อไปนี้

1. คลิกเมาส์ปุ่มขวาที่สไลด์ > คลิกเลือกค าสั่ง Grid and Guides … จากเมนูลัด

ภาพที่ 15

10

2. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ Grid and Guides ขึ้นมา > คลิกช่อง Display grid on screen

3. คลิกปุ่ม OK

ภาพที่ 16

4. จะปรากฏเส้นตาราง Grid and Guides ขึ้นมาบนหน้าจอ

ภาพที่ 17

11 1.4 การรวมวัตถุด้วยค าสั่งกลุ่ม Merge Shapes

การรวมภาพในกลุ่ม Merge Shapes คือ ค าสั่งที่ท าให้วัตถุท่ีสร้างข้ึนตั้งแต่สองชิ้นรวมเป็นชิ้น

เดียวในลักษณะต่างๆ ท าให้ผู้ใช้งานสามารถสร้างสรรค์รูปวาดหรือรูปร่างที่มีลักษณะสวยงามได้

ภาพที่ 18 การวางวัตถุทับซ้อนกันเพ่ือเรียกใช้ค าสั่งในกลุ่ม Merge Shapes

ภาพที่ 19 ค าสั่งในกลุ่ม Merge Shape

12 1.5 สร้างชุดสีด้วย eye dropper

ชุดสีคือกลุ่มของสีที่ถูกก าหนดขึ้นเพ่ือใช้ส าหรับสร้างสื่อน าเสนอ ชุดสีจัดว่าเป็นส่วนประกอบที่มี

ส าคัญเป็นอันดับต้นๆ เนื่องจากมีผลต่อความน่าสนใจของสื่อน าเสนอโดยตรง หลักการเลือกใช้สีส าหรับสื่อ

น าเสนอด้วย powerpoint ควรค านึงถึงรายละเอียดดังต่อไปนี้

1) จ านวนของสี กรณีในสื่อน าเสนอ powerpoint ไม่ควรใช้สีเกิน 3 สี

2) วรรณของสี (สีวรรณร้อน สีวรรณเย็น)

3) น้ าหนักของสี (Value) ความอ่อนแก่ หรือ ความสว่างและความมืดของสี

การสร้างชุดสีมีด้วยกันหลากหลายวิธี เช่น การเลือกชุดสีจากผู้ให้บริการออกแบบสี เช่น เว็บไซต์

Adobe color (color.adobe.com) หรือ Color Lovers (www.colourlovers.com)

ภาพที่ 20 ตัวอย่างชุดสีของ Adobe Color1

1 color.adobe.com

13

ขั้นตอนการสร้างชุดสีด้วย eye dropper มีดังต่อไปนี้

1) แทรกภาพที่มีองค์ประกอบของสีที่ต้องการลงในสไลด์

ภาพที่ 21

2) สร้างรูปวาด (Drawing) ลงบนสไลด์ โดยก าหนดให้มีจ านวนเท่ากับสีในชุดสีที่ต้องการ เช่น

จากภาพตัวอย่าง มีการสร้างรูปวาดวงกลมขึ้นมาจ านวน 3 รูป (สามารถใช้วิธีก าหนดวัตถุ

ส าหรับให้สีโดยใช้พื้นหลังของสไลน์แทนรูปวาดแทน)

ภาพที่ 22

14

3) คลิกเลือกรูปที่ต้องการให้สีด้วยเครื่องมือ Eyedropper

4) ตัวชี้เมาส์จะกลายเป็นรูป Eyedropper เลื่อนเมาส์เข้าไปยังพ้ืนที่ของภาพที่ต้องการเลือกสี

5) คลิกเมาส์เลือกพ้ืนที่สีที่ต้องการ

ภาพที่ 23

6) สีของวงกลมที่เลือกไว้จะเปลี่ยนเป็นสีตามที่คลิกเครื่องมือ Eyedropper

ภาพที่ 24

15

ภาพที่ 25

7) เมื่อเลือกให้สีจนครบจ านวนที่ต้องการแล้วจะพบกว่า สีทั้งหมดจะถูกน าไปเก็บไว้ใน Recent

Color ของถาดเครื่องมือ Picture ท าให้สามารถเลือกก าหนดการให้สีให้กับวัตถุชิ้นอ่ืนๆ ได้

ง่ายและสะดวกข้ึน

ภาพที่ 26

16 1.6 ส าเนาการจัดรูปแบบด้วย Format Painter

1. คลิกเลือกวัตถุต้องฉบับที่ต้องการส าเนาการจัดรูปแบบ

ภาพที่ 27

2. ที่แท็บ Home เลือกค าสั่ง Format Painter

ภาพที่ 28

3. คลิกวัตถุปลายทางหรือวัตถุที่ต้องการก าหนดรูปแบบตามวัตถุตัวต้นแบบ

ภาพที่ 29

17 1.7 สร้างตัวอักษรตามเส้นโค้ง

1. กด

ภาพที่ 30

2. คลิกเลือกตัวอักษรที่พิมพ์

3. คลิกเลือก TAB Format > เลือกรายการ Text Effects > Transform > แล้วเลือกรูปแบบแนว

ความโค้งของตัวอักษร ซึ่งมีให้เลือกอยู่ด้วยกันทั้งหมด 4 ชนิด คือ

3.1. Arch Up

3.2. Arch Down

3.3. Circle

3.4. Button

4. จากภาพตัวอย่างเป็นการเลือกรูปแบบ Arch Down

18

ภาพที่ 31

5. ก าหนดขนาดของพื้นที่ตัวอักษร โดยทั่วไปมักก าหนดให้มีขนาดเป็นรูปสี่เหลี่ยมจตุรัส

ภาพที่ 32

19

6. ปรับต าแหน่งของตัวอักษร โดยคลิกเลือกท่ีวงกลมสีเหลืองและปรับรอบวงของเส้นโค้งตามความ

ต้องการ

ภาพที่ 33

บทที่ 2

การแทรกวีดีโอจาก Youtube

1. คลิกท่ี Ribbon Insert > Online Video…

ภาพที่ 34

2. จะปรากฏหน้าจอ Insert Video ขึ้นมา

ภาพที่ 35

21

3. ไปยังเว็บไซต์ youtube.com เลือกวีดีโอที่ต้องการ

4. คลิกท่ีปุ่ม “Share” ใต้วีดีโอ

ภาพที่ 36

5. คลิกท่ีปุ่ม Embed จากหน้าจอ Share in a public post ที่ปรากฏขึ้นมา

ภาพที่ 37

22

6. คลิกเลือกค าสั่ง Embed Video > คลิกปุ่ม Copy

ภาพที่ 38

7. น าโค๊ด Embed Video วางลงในช่อง From a Video Embed Code ในโปรแกรม

PowerPoint > แล้วกดปุ่ม Insert

ภาพที่ 39

23

8. วีดีโอจะถูกแทรก และเม่ือกดปุ่ม Slide show จะสามารถแสดงผลวีดีโอขณะท าการน าเสนอได้

ภาพที่ 40

บทที่ 3

การสร้างกราฟเพื่อน าเสนอข้อมูลเชิงปริมาณ การน าเสนอข้อมูลแบบเชิงปริมาณด้วยโปรแกรม Powerpoint สามารถประยุกต์ใช้แผนภูมิภาพ

หรือกราฟในรูปแบบต่างๆ เพ่ือเพ่ิมความน่าสนใจในการน าเสนอข้อมูล รวมไปถึงกราฟยังเป็นเครื่องมือที่ช่วย

ให้การท าความเข้าใจกับข้อมูลท าได้ง่ายมากข้ึน

3.1 การสร้างกราฟ

1. คลิกเลือก Ribbon (TAB) Insert > เลือกรายการ Chart

ภาพที่ 41

2. จะปรากฏกรอบโต้ตอบ Insert Chart ปรากฏขึ้นมา เพ่ือให้ผู้ใช้งานเลือกประเภทของกราฟ จาก

ตัวอย่างเป็นการเลือกสร้างกราฟแท่ง > กดปุ่ม OK

25

ภาพที่ 42

3. จะปรากฏเครื่องมือส าหรับสร้างกราฟขึ้นมา ซึ่งจะมีลักษณะเป็นตารางส าหรับบันทึกข้อมูล ทั้งนี้

ผู้ใช้งานสามารถสร้างโครงสร้างตารางและบันทึกข้อมูลได้ตามความต้องการ

ภาพที่ 43

4. หากต้องการตกแต่งลักษณะของกราฟ สามารถท าได้โดยคลิกเลือกพ้ืนที่ท างานส าหรับเพ่ือการ

ตกแต่งหรือจัดการกับกราฟ

26 3.2 การแก้ไขแหล่งข้อมูลกราฟ

ภาพที่ 44

1. คลิกเลือกท่ีกราฟในสไลด์

2. ที่ TAB Design เลือกรายการ Edit Data (สามารถเลือกรายการ Edit data in Excel ได้หาก

ต้องการแก้ไขข้อมูลในตารางด้วยโปรแกรม Excel)

ภาพที่ 45

27

3. หากเลือกแก้ไขข้อมูลด้วยโปรแกรม Excel จะปรากฏหน้าต่างโปรแกรม Excel ปรากฏขึ้นมา

และเม่ือ แก้ไขข้อมูลเรียบร้อยแล้ว ข้อมูลมูลในสไลด์ Powerpoint จะได้รับการปรับปรุงโดย

อัตโนมัติ

ภาพที่ 46

28 3.3 การสลับแถวของการน าเสนอข้อมูล

การเลือกรูปแบบการน าเสนอข้อมูลถือเป็นเรื่องที่ส าคัญ ข้อมูลชุดเดียวกัน แต่หากใช้วิธีการ

น าเสนอในรูปแบบที่ต่างกัน จากตัวอย่างในภาพที่ 47 และภาพที่ 48 คือข้อมูลจากแหล่งข้อมูลเดียวกัน แต่

เมื่อให้การน าเสนอข้อมูลมีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ท่ีต้องการเน้นให้เห็นการเปลี่ยนแปลงของข้อมูลใน

ปี 2018 จึงสลับข้อมูลของเส้นกราฟเป็นการน าเสนอข้อมูลแบบรายปี (ภาพที่ 48)

ภาพที่ 47 การเลือกน าเสนอข้อมูลที่ไม่สอดคล้องกับเป้าหมาย อาจท าให้เกิดปัญหาการสื่อสาร

ภาพที่ 48

29

วิธีสลับชุดข้อมูลในกราฟท าได้ดังนี้

1. คลิกเลือกท่ีกราฟ

2. ที่ TAB Design คลิกเลือกค าสั่ง Switch Row/Column

ภาพที่ 49

30 3.4 แทรกภาพด้วยกล่องภาพวาด

เพ่ือก าหนดพ้ืนที่ของภาพที่จะน ามาแทรก

1. วาดรูปวาดตามความต้องการ เช่น รูปวงกลม รูปดาว รูปหลายเหลี่ยม จากตัวอย่างเป็นการ

วาดรูปสี่เหลี่ยมจ านวน 4 รูป น ามาวางเรียงกันเพ่ือก าหนดเป็นพื้นที่แสดงผลภาพ

2. คลิกเลือกรูปวาดที่ต้องการเปลี่ยนพื้นหลังเป็นภาพ

ภาพที่ 50

3. ที่หน้าต่าง “Format Picture” คลิกเลือกปุ่ม File เพ่ือเลือกรูปภาพจากเครื่องคอมพิวเตอร์

31

ภาพที่ 51

4. หลังจากเลือกรูปภาพแล้วจะพบว่า รูปวาดที่เลือกจะมีพ้ืนหลังเป็นภาพ ปกติแล้วขนาดของ

รูปภาพที่ถูกน าเข้ามาจะถูกปรับให้มีขนาดพอดีกับพ้ืนที่ของรูปวาด ท าให้สัดส่วนของภาพ

ต้นฉบับอาจมีความผิดเพ้ียนไป

ภาพที่ 52

32

5. คลิกเลือกรายการ “Tile picture as feature” > ภาพจะถูกปรับขนาดให้เท่าขนาดจริง ซึ่ง

จะมีผลท าให้ภาพล้นกรอบหรือพ้ืนที่ของรูปวาด

ภาพที่ 53

6. เพ่ือก าหนดให้ภาพมีขนาดพอเหมาะกับพ้ืนที่ของภาพวาด ผู้ใช้งานสามารถปรับค่า Offset

X, Offset Y, Scale X, Scale Y, Alignment

33

ภาพที่ 54

7. สามารถก าหนดลักษณะพิเศษให้กับภาพพ้ืนหลังได้โดยการ คลิกเลือก Ribbon Format >

Artistic Effects > เลือกลักษณะพิเศษตามความต้องการ เช่น จากตัวอย่างเป็นการเลือก

แบบ Blur (สามารถก าหนดค่าความ Blur เพ่ิมเติมได้ที่ค าสั่ง Sharpness)

ภาพที่ 55

34

ภาพที่ 56

ภาพที่ 57

บทที่ 4

องค์ประกอบเพิ่มเติม 4.1 การ download และติดตั้งฟอนต์

1. โหลดฟอนต์จากเว็บ google font (https://fonts.google.com)

ภาพที่ 58

2. คลิกท่ีปุ่มเครื่องหมายบวกเพ่ือเลือกแบบตัวอักษร (สามารถเลือกได้หลายแบบ)

3. แบบตัวอักษรที่เลือกจะที่แถบสีด าด้านล่างของหน้าจอ โดยจะมีตัวเลขก ากับว่าได้เลือกแบบ

ตัวอักษรไว้ทั้งหมดก่ีตัว

ภาพที่ 59

36

4. คลิกท่ีแถบสีด าเพ่ือเลือก download แบบตัวอักษร > คลิกปุ่มลูกศรสีแดงที่มุมขวาบน

ภาพที่ 60

5. หลังจากการ download ฟอนต์เสร็จสิ้นแล้ว โปรแกรม google chrome จะแสดงสถาณะของ

แฟ้มข้อมูลไว้ที่แถบ status

ภาพที่ 61

37

6. ให้คลิกที่ลูกศรชี้ลง > จะปรากฏแถบค าสั่งขึ้นมา > ให้เลือกรายการ Show in folder

ภาพที่ 62

7. ระบบปฏิบัติการ window จะเปิดแฟ้มข้อมูลฟอนต์ที่ download มาในหน้าต่าง explorer

8. คลิกเมาส์ขวาที่แฟ้มข้อมูล > เลือกรายการ Open with > Windows Explorer

ภาพที่ 63

38

9. ระบบปฏิบัติการ window จะเปิดแฟ้มข้อมูลฟอนต์ที่ถูกบีบอัดไว้

10. เลือกแฟ้มข้อมูลฟอนต์ทั้งหมด > คลิกเมาส์ขวา > แล้วเลือกคัดลอก Copy

ภาพที่ 64

11. น าฟอนต์ที่คัดลอกมาไปเก็บไว้ในโฟลเดอร์ส าหรับจัดเก็บแบบตัวอักษร เช่น จากตัวอย่างน าไป

เก็บไว้ที่ โฟลเดอร์ชื่อ font ซึ่งสร้างไว้ใน Desktop (Desktop/font)

12. คลิกเมาส์ขวา > เลือกค าสั่งวาง

13. เพ่ือติดตั้งแบบตัวอักษร ให้เลือกแฟ้มข้อมูลตัวอักษรทั้งหมด > คลิกเมาส์ขวา > เลือกค าสั่ง

Install

14. เสร็จสิ้นการติดตั้งแบบตัวอักษร

ภาพที่ 65

39

4.2 Download ภาพประกอบจากเว็บไซต์ freepik.com

40

41

42

43

44

4.3 การโหลดภาพประกอบจากเว็บไซต์ flaticon.com

45

46

47

48