ตัวอักษรจีน 汉字学 · เป...

Post on 23-Jul-2020

2 views 0 download

Transcript of ตัวอักษรจีน 汉字学 · เป...

ตัวอักษรจีน 汉字学

บทที่ 4 การสรางตัวอักษรจีน 1

弟4课 汉字造字法(1) อาจารย วาที่ ร.ต.ดร. เกรียงไกร กองเส็ง

คณะมนุษยศาสตรและสังคมศาสตร มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา

การสร้างอกัษรแบบดั้งเดิมของจีนเรียกวา่ 六书(อกัษรหกชนิด) คือ

•象形 อักษรภาพ หรืออักษรลอกเลียนรูป

•指事 อักษรบงชี้ความ

•会意 อักษรรวมความหมาย หรืออักษรผสานความ

•形声 อักษรแบบบอกความหมายและเสียง หรืออักษรรูป

และเสียง

•专注 อักษรอธิบายเสียง

•假借 อักษรยืม

ความจริงนั้นถือวามีเพียงส่ีชนิดแรกเทานั้นที่เปนการสรางอักษรจีนอยางแทจริง สวนสองชนิดหลังเปนเพียงการใชอักตัวษรไมใชเปน

การสรางตัวอักษร ดังนั้นจึงมีการเรียกวิธีการสรางอักษรจีนแบบ

ด้ังเดิมอีกวา“四书”(อักษรส่ีชนิด) แตไมวาจะเปนการสราง

อักษรแบบหกชนิดหรือส่ีชนิด คนรุนหลังถือเอาการใชงานที่แทจริงใน

สังคม ทั้งนี้ไดผานการศึกษาวิเคราะหสรุปเปนกฎเกณฑตางๆ ได

หลายประการ ซ่ึงกฎเกณฑเหลานี้ไมไดเพิ่งกําหนดออกมาแลว

นํามาใชในการสรางตัวอักษร แตมีมาต้ังแตสมัยราชวงศฮั่น และผูที่

ใชวิธีการสรางตัวอักษรดังกลาวเปนครั้งแรกคือ 许慎นักอกัษร

ศาสตรในสมัยนั้น

1. 象形字 อักษรภาพ หรือตัวอักษรลอกเลียนรูป

เปนอักษรที่เกิดจากภาพวาดของจริง เกือบทั้งหมดเปนตัวอักษรตัวเดียว หากแปลความจากตัวอักษร 象 - เหมือน ประหน่ึง

形 - รูปราง เคาโครง 象形 จึงหมายถึงการประดิษฐตัวอักษรจีน

โดยลอกดึงเอาลักษณะเดนที่เปนรูปธรรมชัดเจนของสรรพส่ิงตาง ๆ

ตามที่ตาสัมผัสมองเห็นไดออกมาเปนรูปเสมือนจริง จุดเดนของตัวอักษรแบบ 象形 นี้ นอกจากรูปลักษณะที่

คลายภาพวาด มีความเสมือนจริงและเปนรูปธรรมสูงแลว มักจะมี

ลักษณะเดนภายนอกทางดานโครงสรางรูปรางบางประการที่สามารถ

โยงใหผูรับสารสามารถมองออกวาตัวอักษรนั้นส่ือถึงส่ิงใด

ตัวอักษร 象形字 นี้เปนตัวอักษรในยุคแรกเริ่มบุกเบิกการประดิษฐตัวอักษรของจีน เปนพื้นฐานสําคัญในการตอยอดการ

ประดิษฐตัวอักษรจีนในลักษณะอื่น ๆ ในยุคตอมาภายหลัง นับวา

ตัวอักษร 象形字 เปนประตูที่เปดเขาสูยุคประวัติศาสตรของจีน

อยางแทจริงตัวอักษรที่ใชวิธีประดิษฐแบบ 象形นี้ โดยมากมักมีความหมายเกี่ยวเนื่องกับรางกายมนุษย สัตว และสรรพส่ิงตาง ๆ ใน

ธรรมชาติหรือหยิบยกจากส่ิงที่สัมผัสมองเห็นไดงาย มีความเปน

รูปธรรมสูง ดังตัวอยางในตาราง เชน

ทั้งนี้ ตัวอักษรตัวเดียวกันแตมีหลากหลายรูปแบบไมแนนอน

ดวยเหตุนี้ความเปนมาตรฐานที่สามารถยึดเปนรูปแบบเดียวกันได

ของตัวอักษรประเภทนี้จึงนอย เชน ตัวอักษร 鹿 ที่แปลวา กวาง

จากหลักฐาน ที่ขุดพบ พบวามีลักษณะการเขียนหลายรูปแบบ และ

รูปแบบมุมมองการนําเสนอตัวอักษร 象形字 แตละตัวมีจุดเนน

และวิธีการนําเสนอที่หลากหลายแตกตาง ทั้งนําเสนอรูปทรง

โครงสรางเต็มตัวทั้งหมด นําเสนอเฉพาะสวนสําคัญเฉพาะจุด หรือ

นําเสนอแบบเชื่อมโยงความสัมพันธเขาหาจุดเนนและใน

ขณะเดียวกันก็มีมุมมองหรือทิศทางในการมองที่แตกตางกันดวย เชน

มุมหนาตรง มุมขาง มุมบน มุมลาง มุมตัดขวาง เปนตน เชน

อยางไรก็ตาม ตัวอักษร 象形字 ก็ยังไมสามารถตอบสนองตอ

การเปนเครื่องมือส่ือสารที่สมบูรณได《说文解字》คัมภรี

ตัวอักษรจีนโบราณสมัยราชวงศฮัน่ตะวันออกระบุวา ตัวอักษรจีนที่

สรางดวยกลวิธี 象形 นั้นมีอยูเพียง 364 ตัว จาก 9,353 ตัวที่

นํามาจําแนกประเภท หรือคิดเปนรอยละ 3.89 เทานั้น สาเหตุเพราะ

象形字 คืออักษรเลียนธรรมชาติ โดดเดนในการถายทอดส่ิงที่เปน

รูปธรรม รูปราง โครงสรางที่มองเห็น ผานสายตา โดยดึงจุดเดน

ออกมาประดิษฐเปนตัวอักษรที่เหมือนภาพวาด ซ่ึงเปนรูปธรรมและมี

จํานวนจํากัด

ส่ิงที่ไมสามารถสัมผัสจับตองหรือมองเห็นไดดวยสายตาโดยตรง

นั่นคือส่ิงที่เปนนามธรรม เชน อารมณความรูสึกนึกคิดนั้นยากที่จะ

บรรยายถายทอดออกมาเปนภาพวาดเล็ก ๆ ได เมื่อยุคสมัยเปล่ียน

สังคมพัฒนาตามความรวดเร็ว ตัวอักษรแบบ 象形字 ก็ถูกปรับ

ลดตัดทอนจํานวนเสนวาดที่มากมายและซับซอนนั้นใหลดนอยเพื่อ

งายและสะดวกตอการใชงานมากยิ่งข้ึน นําไปสูการสูญเสียความเปน

รูปภาพที่ถายทอดความเสมือนจริงของบรรดาสรรพส่ิงตาง ๆ

ทายที่สุดความหมายที่ถายทอดจากตัวอักษรที่ลอกเลียนแบบความ

เสมือนจริงจึงกลายเปนรูปสัญลักษณที่ยากจะตีความความหมายจาก

รูปตัวอักษรไดอีกตอไป

2. 指事字 อักษรบงชี้ความ

เปนอักษรที่ใชเครื่องหมายเปนนามธรรมแสดงความหมาย และ

สวนมากจะเปนตัวอักษรตัวเดียว และมีบางสวนที่เกิดจากการ

ผสมผสานระหวางเครื่องหมายที่เปนนามธรรมกับตัวอักษรภาพ ซ่ึง

การสรางตัวอักษรประเภทนี้จะมีไมมากนัก สวนมากใชในการแสดง

ความหมายที่เปนนามธรรม จับตองไมได และถึงแมวาจะมีตัวตนแตก็

ยากเกินกวาที่จะสามารถวาดออกมาจากของจริงเพื่อแสดง

ความหมายได เชน

ตัวอักษรแบบ 指事字 นั้น เปนรูปแบบการประดิษฐ

ตัวอักษรโดยใชสัญลักษณนามธรรมมาระบุ บงชี้ แสดงจุดสังเกตเพื่อ

แสดงความหมายใหแกตัวอักษร ทั้งนี้ แมลักษณะโดยรวมยังไมหลุด

พนจากความเปนรูปเสมือนจริงไปเสียทั้งหมด แตทวาก็มิใชการ

ถายทอดส่ิงที่เปนรูปธรรมไปเสียทั้งหมดอีกตอไปแลวเชนกัน

รูปแบบการประดิษฐตัวอักษรแบบบงชี้ความหรือ 指事 นั้น

แบงเปน 2 ลักษณะ คือ ลักษณะแรกเปนการกําหนดสัญลักษณใหม

เพื่อใชแทนความหมายนามธรรมที่สมบูรณ และอีกลักษณะหนึ่งเปน

การเพิ่มเติมสัญลักษณบางอยางลงบนตัวอักษรเดิมที่มีอยูเพื่อชี้นํา

เชื่อมโยงใหมองเห็นความหมายที่ลึกลงไปจากพื้นฐานความหมายเดิม

2.2 การเพิ่มเติมสัญลักษณบางอยางลงบนตัวอักษรเดิมท่ีมีอยูเพื่อ

ชี้นําเชื่อมโยงใหมองเห็นความหมายท่ีลึกลงไปจากพื้นฐาน

ความหมายเดิม

ในรูปแบบที่สองนี้จะเกี่ยวของสัมพันธกับตัวอักษรแบบลอก

เลียนรูปหรือ 象形字 โดยตรง เปนการปรากฏรวมของสัญลักษณ

นามธรรมกับตัวอักษรเสมือนจริงที่มีอยูแตเดิมแลว ทั้งนี้ การใช “ส่ิง

ใหม” เติมเขาไปใน “ส่ิงเดิม” แบบที่ตัวอักษร 指事字 ทํานั้น เพื่อ

ยืมความหมายจากอกัษรเสมือนจริงที่มีอยูและเชื่อมโยงบงชี้

ความหมายที่ตองการส่ือจากจุดเฉพาะบางจุดนั้นใหชัดเจนใหชัดเจน

ข้ึน เชน

ตัวอักษรที่ใชวิธีประดิษฐแบบ 指事 นี้ มีจํานวนนอยกวาตัวอักษร

象形 กวาครึ่ง กลาวคือ ปรากฏใน《说文解字》เพียง

125 ตัว จาก 9,353 ตัวเทานั้น หรือคิดเปนรอยละ 1.34 เทานั้น

3. 会意字 อักษรรวมความหมาย (อักษรผสานความ)

会 - รวมผสาน 意 - ความหมาย กแปลตรงตัว 会意字คือตัวอักษร

แบบผสานความ เกิดจากการนําตัวอักษรที่มีอยูเดิมต้ังแต 2 ตัวขึ้นไปมา

รวมกัน เกิดเปนตัวอักษรใหมหน่ึงตัวที่ความหมายประจําตัวอักษรใหมน้ันมา

จากการประสานความหมายจากตัวอักษรด้ังเดิมแตละตัวที่นํามาประกอบกัน

หากเปรียบใหเห็นภาพชัดเจนโดยงาย เปรียบเสมือนการนําเหล็กรูปรางตาง ๆ

หลอมรวมใหเปนเน้ือเดียวกันและหลอขึ้นมาในรูปทรงใหมโดยที่สวนประกอบ

หรือเน้ือในน้ันยังคงเปนเหล็กเดิมอยูน่ันเอง ดังน้ัน ตัวอักษรผสานความ หรือ

会意字 จึงเปนการตอยอดความหมายจากความหมายเดิมไปสู

ความหมายใหมแตยังคงเคาความหมายเดิมหรือจุดเดนเฉพาะจากพ้ืน

ตัวอักษรเดิมอยู ดังตัวอยางในตารางตอไปน้ี