บริษัท ซิงเกอร ประเทศไทย...

Post on 17-Mar-2020

4 views 0 download

Transcript of บริษัท ซิงเกอร ประเทศไทย...

บริษทั ซิงเกอรประเทศไทย จาํกดั (มหาชน)

รายงานนําเสนอ

หัวขอนําเสนอ• ธุรกิจของบรษิัทฯ

• ขอมูลทางภาคธุรกิจ

• คูแขงทางการคา

มุมมองในธุรกิจ

• เปาหมายของป 2551• การปรับปรุงคณุภาพสินเชื่อ

• การปรับปรุงคณุภาพบัญชี และการเก็บเงิน

• การปรับปรุงผลการขาย

ผลการดําเนินงานในป

2551

• กลยุทธการเติบโตแบบรัดกุมกลยุทธในป 2552

• 1.จุดเดนในงบการเงิน

• 2. อัตรากําไรขั้นตน

• 3. คาใชจายในการขายและการบริหาร

บทสรุปทางดานการเงิน

และจดุเดนในรอบป

• 1. การถวายจักรเยบ็ผา และสงมอบ

• 2. โครงการปนน้ําใจ

• 3. รางวัลแหงคุณภาพ

• 4. การกํากับและดแูลกิจการท่ีดี

การตอบแทนสู

สังคม

• ธุรกิจของบริษทัฯ

• ขอมูลทางภาคธุรกิจ

• คูแขงทางการคา

มุมมองใน

ธุรกิจ

2539-402527250024682432

บรษิัท ซิงเกอร สหรฐัอเมริกา ไดแตงตั้งให บรษิัท เคียมฮั่วเฮงจํากัด เปนผูจําหนายจักรเย็บผาในประเทศไทย

ไดเริ่มนําเอาบริการเชาซื้อโดยผอนชําระเปนงวดมาใชครัง้แรก

ไดเริ่มเพิ่มแนวผลิตภัณฑเครื่องใชไฟฟาในครัวเรือน โดยเริ่มจากการจําหนาย ตูเย็น เปนอันดับแรก

บรษิัทฯ ไดรบัอนุญาตใหเขาเปนบรษิัทจดทะเบยีนในตลาดหลักทรัพยแหงประเทศไทย

ทําสถิติยอดขายสูงท่ีสุดในประวัติของบรษิัทฯ ท่ี 8,524 ลานบาทมีบัญชีลูกคาท้ังหมด831,000 บญัชี

2552f2550-51254925482547

ไดรบัพระราชทานตราตั้งพระครุฑพาหจากพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวฯ ในวันท่ี 24 พฤษภาคม 2547

ไดมุงเนนการขายเชาซื้อธุรกจิรถจักรยานยนตโดยมีสัดสวนการขายรถจักรยานยนตอยูท่ี 61% เครื่องใชไฟฟาภายในบาน 39%

มีผลประกอบการขาดทุนจากการสํารองหน้ีสูญ

อยูในสภาวะฟนตัว มีการปรบัผัง โครงสรางการบริหารงานของบรษิทัฯ เพ่ือแกไขปญหาของการเชาซื้อรถจักรยานยนต และไดเปลีย่นไปมุงเนนการขายสินคาเครื่องใชไฟฟาภายในบานมากข้ึนโดยใชกลยทุธการตแีลกสินคาเกาที่มีอยูเดิมและเสนอสินคาใหมทดแทน

ปรับปรุงผลการดําเนินงานใหดีขึ้นอยางตอเน่ือง1. การอนุมัติสินเช่ือ2. คุณภาพบญัชี3. ยอดขาย

ประวัติของบริษัทฯ

• สินคาเคร่ืองใชไฟฟาภายในบาน– ตูเย็น– ตูแชแข็ง– ตูแชเครื่องด่ืม– ตูแขไวน– เครื่องทํานํ้าเย็น– เครื่องซกัผา– เตาแกส– เครื่องปรับอากาศ– ปมนํ้า– เตาอบไมโครเวฟ– พัดลม– เครื่องทํานํ้าอุน– หมอหุงขาว– เตารดีไฟฟา

• สินคาใหหมวดเคร่ืองเสยีง โทรทัศน– โทรทัศนสี– ชุดโฮมเธียเตอร– เครื่องเลนดีวีดี

• สินคาจกัรเย็บผา– จักรเย็บผา– เครื่องรีดผา

ธุรกิจประกันชวีิต- บ.เมืองไทยประกันชีวิตเคร่ืองคอมพิวเตอร (บ.เอสวีโอเอ)จานดาวเทียม (บ. สามารถ)รถจกัรยานยนต (ซูซกูิ, ยามาฮา, ฯลฯ)เคร่ืองมือการเกษตร (บ. ชุมสิน)

ผลติภัณฑภายใตแบรนดซิงเกอร ผลติภัณฑภายใตแบรนดอื่นๆ

ผลิตภัณฑท่ีจําหนายโดยบริษัทฯ

ฐานลกูคาของบริษัทฯ สวนใหญอยูในกลุม C & D

กลุมลูกคาเปาหมาย- อาศัยอยูในชนบท- ขาราชการผูมีรายไดนอย- แมบาน และเกษตรกร

รายไดประชากร ของประเทศไทย

2.2%> 30,000 บาท

12.0%10,000 – 30,000 บาท

ประชากรที่มีรายไดตํ่ากวา< 10,000 บาท

กลุมลูกคาของซิงเกอร

ครอบคลุมกวา 80%

ของจํานวนประชากร

ทัง้หมดของประเทศ

แหลงขอมูล : สํานักงานสถิติแหงชาติ 2549

ฐานลูกคาของบริษัทฯ

•ยอดขายท้ังหมดกวา 75% มาจาก

ฐานลูกคาในภาคกลางและภาค

ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

ภาคใตSouth

ภาคตะวันออกEast

ภาคกลางCentral

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือNortheast

ภาคเหนือNorth

36.10%

38.45%

7.37%

18.08%

จํานวนรานสาขา : 194 สาขาจํานวนพนักงานขายในภาคสนาม: 3,697 คน

เครือขายราน / สาขา ของบริษัทฯ

คูแขงทางธุรกจิ

คูแขงทางธุรกิจโดยตรงของซงิเกอร (ดีอี แคปปตอล และไมดา) ในธุรกิจการขายตรงของ

การเชาซื้อสินคาไดตัดสินใจเปลี่ยนแนวทางธรุกิจ โดยหันไปทําธุรกิจอื่น ดังนัน้จงึนับได

วาบริษัท ซงิเกอรฯ เปนเพียงบริษัทฯ เดียวที่ทําการขายตรงในธุรกิจเชาซื้อสนิคา

SWOT

จุดออน

โอกาส อุปสรรค

ปจจัยภายใน

ปจจัยภายนอก

จุดแขง็1. เปนแบรนดที่มีความจงรักภักดีสงู2. เปนผูเช่ียวขาญในระบบการเชาซื้อ3. มีเครือขายการขายที่ครอบคลุม4. เปนแบรนดที่ไดรับการยอมรับในเร่ือง

ของ “การบริการ” 5. มีทีมงานขายตรงที่เขมแข็ง6. การสงเสริมการขายแบบการ”ตีแลก”

1. ความแตกตางของผลิตภัณฑ2. ใมมีฐานกําลังการผลิต3. ระดับความรูของพนักงานขาย4. ฐานลูกคาสวนใหญอยูในกลุม C & D

1. การปรับเปลี่ยนธุรกิจของคูแขงโดยตรง2. การสงเสริมการขายที่สามารถ “ตีแลก”

สินคาไดทุกยี่หอ และทุกประเภท3. พฤติกรรมการเชาซื้อที่เพิ่มขึ้นของ

ผูบริโภค สืบเน่ืองมาจากการชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจ

4. การประกันราคาสนิคาทางการเกษตรจากทางรัฐบาล ทําใหฐานลูกคามีรายไดที่แนนอน

1. การชะลอตัวของภาวะเศรษฐกิจ2. การเกิดขึน้ของหางโมเดิรนเทรดในตาง

จังหวัด3. ปจจยัในดานการเมือง4. การเปลีย่นแปลงงายของราคาสินคา

ทางการเกษตร

• เปาหมายของป 2551• การปรบัปรุงคุณภาพสนิเชื่อ

• การปรบัปรุงคุณภาพบัญชี และ

การเก็บเงิน

• การปรบัปรุงผลการขาย

ผลการ

ดําเนินงานในป

2551

การกลั่นกรองขัน้ที่ 1การคัดเลือกโดยพนกังานขาย-อาชีพ-รายได-ท่ีพักอาศัย-ทรัพยสินท่ีใชค้ําประกัน-ผูค้ําประกัน

สมัครขอสินเช่ือเขาซื้อ

การกลั่นกรองขัน้ที่ 2การคัดเลือกโดยศนูยควบคมุสนิเชือ่-การใหคะแนนสินเช่ือ-บัญชีแบล็คลิสต-ศูนยขอมูลเครดิตแหงชาติ-รายงานของผูตรวจสอบ(โดยจะมุงเนนท่ีรานสาขาในกลุมซีหรอืบางสาขาในกลุมเอ และบ)ี

การกลั่นกรองข้ันที่ 3การตรวจทานโดยผูจัดการหนวย / ผูจัดการสาขา-ใบสมัครขอสินเช่ือทุกใบท่ีสงเขามาโดยพนักงานขายจะตองถูกตรวจทานกอนทุถครั้ง ท้ังโดยผูจัดการหนวยขาย และผูจัดการสาขา

อนุมัติสินเช่ือเขาซื้อ

ขั้นตอนการอนุมัตสิินเชื่อ

ขั้นตอนของการควบคุมสินเชื่อ เพื่อใหไดลูกคาท่ีมีคุณภาพ

บทบาทและหนาที่ของซงิเกอร คอลเซ็นเตอร

แจงเตือนบัญชีคางชําระ

การบริการหลังการขาย

โทรตอนรับลูกคาสําหรับบัญชีใหม

การโทรเสนอขายสินคา การบริการ และ

โปรโมชั่นตางๆ

ผูจดัการราน/สาขา

ในกรณีที่ขั้นตอนที่ 1-4ไมสามารถใชได ผูจัดการราน

จะตองเปนผูรับผิดชอบความ

เสียหายที่เกิดขึ้น ถาผูจัดการ

รานคนดังกลาวไมไดปฏิบัติ

ตามชอบังคับของบรษิัทฯ

ผูค้าํประกันของพนักงานขาย

ในกรณีทีพ่นักงานขายไดหลบ

หนีหายไป ผูค้ําประกันของ

พนักงานขายจะถูกฟองรอง

เรียกคาเสียหายตามที่ไดทําขอ

ผกูมดัเอาไว

ผูคํ้าประกันลูกหน้ีเชาซื้อ

ในกรณีที่ลูกหน้ีบญัชีเชาซื้อ

ไดหลบหนีหายไป หรือไม

สามารถชําระหนี้ได หรือไมมี

ทรัพยสินอันมีคาใดๆ ซึ่งนํามา

ชดใชหรอืชําระหน้ีได ผูค้ํา

ประกันของลูกหน้ีเชาซื้อน้ันๆ

จะถูกฟองรองเรยีกคาเสียหาย

ตอไป

1

2

3

5

4

พนักงานขาย

ในกรณีที่ลูกหน้ีเชาซื้อและผู

ค้ําเประกันไดหลบหนีหายไป

พนักงานขายที่เปนผูขายบญัชี

เชาซื้อน้ันๆ จะตองเปนผูรับ

ผิดชอบความเสียหายที่เกิดขึ้น

ดยการหกัเงินจากบญัชีเงินฝาก

ค้ําประกัน หรอืชําระโดยเงินสด

แทนลูกหน้ีฯ และผูค้ําฯ

ลูกหน้ีเชาซื้อ

-ออกหนังสือแจงเตือน

-ยกเลิกสญัญาเชาซื้อ

-นําสินคากลับคืน

-ดําเนินการตามกฎหมายเรยีก

คาเสียหายตามยอดหน้ีคงเหลือ

5 ขั้นตอนของการเรียกคืนคาเสียหายท่ีเกิดขึ้นจากบัญชีเชาซื้อ

การกลับลําจากการทําธุรกิจรถจักรยานยนต และหันมามุงเนนการขายสินคาเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน

2548 2551

หมายเหต:ุนับต้ังแตป 2549 บริษัทฯ ไดหันกลบัมามุงเนนการขายสินคาเครื่องใชไฟฟาภายในครัวเรือน

เครื่องใชไฟฟา45%

รถจักรยานยนต55%

รถจักรยานยนต7%

เครื่องใชไฟฟา93%

สัดสวนการขายของสินคาแยกตามประเภทของผลิตภัณฑ

ป 2551 ป 2550

ผลิตภัณฑ 2547 2548 2549 2550 2551

ตูเย็น 39,388 35,397 30,868 27,543 36,221โทรทัศน 40,084 36,280 24,976 23,680 26,044เครื่องซักผา 51,228 47,870 30,193 30,900 56,072จักรเย็บผา 10,170 10,830 8,715 10,036 11,922เครื่องเสียง 4,027 741 2,926 2,274 1,996เครื่องเลนวีซีด/ีดีวีดี 4,306 4,845 1,782 4,014 4,196ตูแช / ตูทําความเย็น 10,254 9,853 10,387 11,556 16,487เตาแกส 5,645 5,315 4,954 4,345 3,309เครื่องปรับอากาศ 1,222 1,881 840 1,655 2,726

ยอดขายสินคาเครื่องใชไฟฟาพ.ศ. 2547, 2548, 2549, 2550 และปพ.ศ. 2551

กลยุทธในป 2551 และสําหรับในปตอๆ ไป: ผลักดันยอดขายสินคาเคร่ืองใชไฟฟา

• 1. จุดเดนในงบการเงิน

• 2. อัตรากําไรขั้นตน

• 3. คาใชจายในการขายและการบริหาร

บทสรุปทางดาน

การเงิน และจุดเดน

ในรอบป

จุดเดนในงบการเงิน 2549 - 2551

'000 บาท 2551 2550 2549รายไดรวม 2,355.36 2,514.14 3,813.12กําไรขั้นตน 1,081.10 1,070.93 1,837.80คาใชจายในการขายและบริหาร 1,046.53 1,291.54 1,735.10กําไร (ขาดทุน) จากการขาย -102.92 -438.29 -1,113.29กําไรกอนหักดอกเบี้ย,ภาษี และคาเสื่อมราคา 40.37 -339.38 -1,014.07กําไรกอนหักดอกเบี้ย ,ภาษี -6.32 -392.96 -1,075.78กําไรสุทธิ (ขาดทุน) -81.60 -500.22 -1,233.04ดอกเบี้ยธนาคาร 75.14 107.10 156.95

กําไรขั้นตนจากการขาย

กลยทุธสาํหรับการทําตลาดในตลาดสนิคาทดแทน – กลยทุธการตแีลกซึ่งทําใหเกดิการปรับปรุงท่ีดีขึ้นดงัน้ี: -

1. การเปลี่ยนสัดสวนการขายของสินคา เครื่องใชไฟฟา และรถจักรยานยนต• เครื่องใชไฟฟาปรับเพิ่มจาก 55% เปน 77%• รถจักรยานยนตลดลงจาก 25% เปน 7%

2. การปรับตัวดีขึ้นของอัตรากําไรขั้นตนจากการขาย• จากเดิม 38% ในป 2549 เพิ่มขึ้นเปน 50% ในป 2551

การลดคาใชจายในการขายและการบริหาร

การลดลงของคาใชจายในการขายและการบริหารจากการดําเนินงานดังนี้ :-

1.) หนี้สงสัยจะสูญทีล่ดลงอยางมากอันเนื่องมาจากจาํนวนบัญชีเชาซ้ือของรถจักรยานยนตที่ ลดลงประกอบกับการปรับปรุงคุณภาพของบัญชีเชาซ้ือดวยการเขมงวดในการพิจารณาเครดิต กอนขาย2.) แผนการลดคาใชจายที่ไมจาํเปนรวมทั้งการยุบรานสาขาที่ไมกอใหเกิดรายได

• 1. การถวายจักรเย็บผา และสงมอบ

• 2. โครงการปนน้ําใจ

• 3. รางวัลแหงคุณภาพ

• 4. การกํากับและดูแลกิจการที่ดี

การตอบแทน

สูสังคม

โครงการปนน้ําใจสูชุมชน

รางวัลแหงคุณภาพ

การกํากับและดูแลกิจการที่ดี

• กลยุทธการเติบโตแบบรัดกุมกลยุทธในป

2552

กลยุทธการเติบโตแบบรัดกุม:

• ดําเนินงานดวยความระมัดระวัง และรอบคอบ

• เติบโตแบบพอเพียง

• เนนท่ีคุณภาพ มากกวาจํานวน

• ปรับปรุงผลกําไร

• เขมงวดในการควบคุมสินเชื่อ

• มุงเนนการเก็บเงิน

• ใชประโยชนรานสาขาใหมากที่สุด

กลยุทธในป 2552

ซิงเกอร ... สงความสขุใหทุกครัวเรือน

ขอบคณุครบั