บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา ·...

Post on 30-Oct-2019

5 views 0 download

Transcript of บทที่ ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา ·...

บทท่ี ๑ เรื่องที่ ๒ พยางค์และคํา

• โดย ครูพี่ตี่ตี๋ – อ.พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์

• กศ.ม. ภาษาไทย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ

• กศ.บ. ภาษาไทย มหาวทิยาลัยศรีนครินทรวโิรฒ

ภาษาไทย ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๑

อ.พีระเสก บริสุทธิ์บัวทิพย์ (ครูพีต่ี่ตี)๋

การศึกษา

ปริญญาโท : วิทยาการทางการศึกษาและการจัดการเรียนรู้ภาษาไทย

(ภาษาไทย กศ.ม.) มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

ปริญญาตรี : ภาษาไทย (กศ.บ.) คณะมนุษยศาสตร ์

มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ

มัธยมศึกษา : โรงเรียนสวนกุหลาบวิทยาลัย

ผู้สอน

แบบฝึกหัดทบทวน

๑. ทุกคําในข้อใดไมอ่อกเสียงควบกล้ํา

๑. ปลัด พฤทธิ์ นิทรา

๒. ปรอท กลศ แทรก

๓. ปลาต ขรม พุทรา

๔. ปริตร ตรุษ อินทรีย ์

Kruptitee

พยางค์

และ

คํา

พยางค ์

ภาษาไทย ชั้น ม.๑ โดย อ.พีระเสก บริสุทธ์ิบัวทิพย์ (ครูพี่ตี่ตี)๋

พยางค์ คือ กลุ่มเสียงที่มีเสียงพยัญชนะ เสียงสระ

และเสียงวรรณยุกตป์ระกอบกัน จะ.................................

.......................................................................................

บางพยางค์จะมีเสียงพยญัชนะท้ายด้วย

ภาษาไทย ชั้น ม.๑ โดย อ.พีระเสก บริสุทธ์ิบัวทิพย์ (ครูพี่ตี่ตี)๋

เสียงพยัญชนะที่อยู่หน้าเสียงสระในแต่ละพยางค์

เรียกว่า เสียงพยัญชนะต้น จะมีหนึ่งเสียงหรือสองเสียงควบกัน

เสียงที่นํามาควบจะเป็นเสียง /ร/ , /ล/ หรือ /ว/ ซึ่งเรียกว่า

"เสียงควบกล้ํา" เสียงพยัญชนะท้ายที่อยู่หลังเสียงสระในแต่

ละพยางค์เรียกว่า เสียงพยัญชนะท้าย หรือเรียกว่า พยัญชนะ

สะกด ซึ่งจะมีเสียงเดียวเสมอ

ชนิดของพยางค์

พยางค์มี ๒ ชนิด ได้แก ่

พยางค์เปิด พยางค์ปิด

โครงสร้างพยางค์ หรือ การประสมอักษร

มีทั้งหมด ๔ แบบคือ

ส่วน พยัญชนะ สระ วรรณยุกต ์ ตัวสะกด ตัวการันต์

๓ ส่วน

๔ ส่วน

๔ ส่วนพิเศษ

๕ ส่วน

เสียงหนักเบา (ครุ - ลห)ุ

การเน้นเสียงหนักเบาในภาษาไทย มีสาเหตุมาจาก

๑. ลักษณะส่วนประกอบของพยางค์

๒. ตําแหน่งของพยางค์ในคํา

๓. หน้าที่และความหมายของคํา

ลักษณะส่วนประกอบของพยางค ์

คําคร ุคือ พยางค์ที่ลงเสียงหนัก มีหลักสังเกตดังน้ี

๑. เป็นพยางค์ที่ไมม่ีเสียงพยญัชนะท้าย เสียงสระเป็นเสียงยาว

๒. เป็นพยางค์ที่มีพยัญชนะทา้ย เสียงสระเป็นเสียงยาวหรือเสียงสั้นกไ็ด ้

๓. เป็นพยางค์ที่มีตัวสะกดทุกแม ่

ข้อควรสังเกต

๑. สระ ไอ ใอ เอา เป็นสระเสยีงสัน้ ตามรูปไม่มีพยัญชนะท้าย

แต่การออกเสียงสระ ไอ ใอ มีเสียง /ย/ เป็นเสียงพยัญชนะทา้ย

และสระเอา มีเสียง /ว/ เป็นเสียงพยญัชนะท้าย

พยางค์ที่ประสมสระ ไอ ใอ เอา จึงจัดเป็นคําครุ (เน้นเสียงหนัก)

ข้อควรสังเกต

๒. สระอํา ตามรูปไม่ปรากฎพยัญชนะท้าย แต่ออกเสียงมี /ม/ เป็นเสียง

พยัญชนะท้ายจึงจัดเป็นคําครุ เช่นเดียวกับสระ ไอ ใอ เอา แต่ในคําประพันธ์

ประเภทฉันท์ อาจใช้เป็นคําครุบ้าง หรือลหุบ้างแล้วแต่ตําแหน่งของพยางค์ ถือ ถ้า

เป็นคําพยางค์เดียวที่ใช้สระอํา เช่น นํา จัดเป็นคําครุ และคําหลายพยางค์ที่มีสระอํา

เป็นพยางค์ท้าย เช่น ระกํา เป็นคําครุ แต่ถ้าสระอําเป็นพยางค์แรกของคําหลาย

พยางค์ จะใช้เป็นคําลหุ)

หลักท่องจํา

ครุ ลหุ

ตัวสะกด

สระ

รวมถึง

๒. ตําแหน่งของพยางค์ในคํา

- ถ้าเป็นคํา ๒ พยางค์ มักลงเสียงหนักที่พยางค์ท่ี ๒

- ถ้าเป็นคํา ๓ พยางค์ มักลงเสียงหนักพยางค์ท่ี ๓ บางพยางค์อาจ

ลงเสียงหนักที่พยางค์ท่ี ๑ หรือ ๒ บ้าง หรือพยางค์ที่ ๑ กับพยางค์ท่ี ๓ บ้าง

- ถ้าคําที่มีพยางค์ ๑ กับ ๒ เป็นสระเสียงสั้น มักลงเสียงหนักที่

พยางคท์ี่ ๒ และ ๓

- ถ้าคําที่พยางค์ท่ี ๑ เป็นสระเสียงสั้น มักลงเสียงหนักที่พยางค์ที่ ๒

และ ๓

๓. หน้าที่และความหมายของคํา

คําที่ทําหน้าที่เป็นประธาน กริยา และกรรม และคําขยาย

จะออกเสียงหนัก แต่คําที่ทําหน้าที่เป็นคําเชื่อม เช่น คําบุพบท

และคําสันธาน จะออกเสียงเบา คําที่มีรูปเหมือนกันจะออกเสียง

หนักเบาต่างกัน เมื่อใช้ในหน้าที่และความหมายที่ต่างกัน

ภาษาไทยกับครูพี่ตี่ตี๋

Kruptitee