การวิเคราะห์ค่าความเป็นเมือง

Post on 15-Apr-2017

199 views 0 download

Transcript of การวิเคราะห์ค่าความเป็นเมือง

ค่าความเป็นเมืองของจงัหวดัในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

ช่วงปี พ.ศ.2533-2553

โดยรวี หาญเผชิญ

สฤษด์ิ ติยะวงศส์วุรรณกรกฏ โพษิตลิมปกลุ

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร ์มหาวิทยาลยัขอนแก่น

1.ความเป็นมาและความส าคญั2.การออกแบบและระเบยีบวิธี3.ผลการวิเคราะห์4.การอภิปรายผล

สาระการน าเสนอ

ความเป็นมาและความส าคญั

ความเป็นมาและความส าคญั

ท าไมต้องศึกษาค่าความเป็นเมือง !!!

เมือง คือ ?

ความเป็นมาและความส าคญั

- พืน้ท่ีกระจกุตวัในการอยู่อาศยัของประชากร

- กิจกรรมการแลกเปล่ียน การค้าและบริการ

- กิจกรรมการปกครองและบริหารทรพัยากร

เมืองเป็นโอกาสในการประกอบอาชีพและยกระดบัรายได้ !!!

ความเป็นมาและความส าคญั

เกิดการย้ายถ่ินระหว่างพืน้ท่ี !!!

ท าให้เมืองมีการเปล่ียนแปลง !!!

การเปล่ียนแปลงเมืองโดยขาดความเข้าใจมกัน าไปสู่ปัญหา !!!

ความเป็นมาและความส าคญั

ความเป็นมาและความส าคญั

ความเป็นมาและความส าคญั

ความเป็นมาและความส าคญั

ความเป็นมาและความส าคญั

ความเป็นมาและความส าคญั

- การศึกษาความเป็นเมือง

เป็นพืน้ฐานส าคญัในการวางแผนภาคและเมือง

เก่ียวข้องกบั- ขนาดประชากรกบัการตัง้ถ่ินฐาน- การใช้ประโยชน์ท่ีดินและระบบการสญัจร- โครงสร้างพืน้ฐานของเมือง

ความเป็นมาและความส าคญัค่าความเป็นเมืองกบัพืน้ท่ีศึกษา

ความเป็นมาและความส าคญั- แผนพฒันาเศรษฐกิจและสงัคมแห่งชาติ (2504)การเปล่ียนแปลงระบบฐานการผลิต

ฐานเกษตรกรรม >>> ฐานอตุสาหกรรม

การเพ่ิมขึน้ของประชากร !!!และ

การเติบโตของพืน้ท่ีเมือง !!!อย่างต่อเน่ือง

ความเป็นมาและความส าคญั

3,850,000

3,900,000

3,950,000

4,000,000

4,050,000

2533 2543 2553

จ านวนประชากรภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ (คน)

ปี พ.ศ.

การเปล่ียนแปลงขนาดประชากรภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทย

ในช่วง 20 ปี จากพ.ศ. 2533-2553

ค าถามวิจยั

จงัหวดัในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือของประเทศไทยมีการเปล่ียนแปลงความเป็นเมืองเป็นอย่างไร ?

ในช่วงปี พ.ศ.2533 – 2553 (20 ปี)

การออกแบบและระเบียบวิธี

การออกแบบและระเบียบวิธีการวดัค่าความเป็นเมืองนิยาม

สดัส่วนของจ านวนประชากรระหว่างการตัง้ถิน่ฐานกระจุกตัวอยู่ร่วมกันกับกระจายตัวอยู่โดยรอบของพื้นที่แห่งหนึ่งในชว่งเวลาหน่ึง

สตูรค านวณค่าความเป็นเมืองค่าความเป็นเมือง = จ านวนประชากรในเมือง / จ านวนประชากรทัง้หมดของพืน้ท่ี

คา่ความเป็นเมอืงอยูใ่นชว่ง 0-1 0 หมายถึง ค่าความเป็นเมืองต า่1 หมายถึง ค่าความเป็นเมืองสงู

การออกแบบและระเบียบวิธีฐานข้อมลูประชากรสงัเคราะหจ์าก

ส านักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการส่ือสาร

การวิเคราะห ์2 ระดบัค่าความเป็นเมืองระดบัภาคค่าความเป็นเมืองระดบัจงัหวดั

การออกแบบและระเบียบวิธีปัญหาการก าหนดขอบเขตข้อมูล2 ประเดน็

1. การเปล่ียนแปลงยกระดบัการปกครอง สขุาภิบาล กบัเทศบาล

2. การแยกขอบเขตการปกครอง

การออกแบบและระเบียบวิธีการแก้ปัญหาการก าหนดขอบเขตข้อมลู

1. ชดุข้อมลูเขตสขุาภิบาลและเขตเทศบาล ปี พ.ศ.2533 นับเป็นพืน้ท่ีเมือง วิเคราะหต่์อเน่ืองในช่วง ปี พ.ศ.2543 ถึง2553

2. การแยกขอบเขตการปกครอง- จงัหวดัอ านาจเจริญ <<< จงัหวดัอบุลราชธานี (2536)- จงัหวดับงึกาฬ <<< จงัหวดัหนองคาย (2554)

การออกแบบและระเบียบวิธีการแก้ปัญหาการก าหนดขอบเขตข้อมลูยึดใช้กลุ่มอ าเภอภายใต้ขอบเขตจงัหวดัท่ีแยกออกมาแล้วในปี พ.ศ.2556 และศึกษาข้อมลูสดัส่วนประชากรในระดบัต าบลในปี พ.ศ.2533 และ 2543

ชุดกลุ่มอ าเภอท่ีใช้ในการระบุขอบเขตเชิงพื้นท่ีของประชากร

ในปี พ.ศ.2533 ปี พ.ศ.2543 และปี พ.ศ.2553

การออกแบบและระเบียบวิธี2458 – 2553 2554 – ปัจจบุนั

จงัหว

ดัหนอ

งคาย

อ าเภอเมอืงหนองคาย

จงัหว

ดัหนอ

งคาย

อ าเภอเมอืงหนองคาย

อ าเภอทา่บอ่ อ าเภอทา่บอ่อ าเภอโพนพสิยั อ าเภอโพนพสิยัอ าเภอศรเีชยีงใหม่ อ าเภอศรเีชยีงใหม่อ าเภอสงัคม อ าเภอสงัคมอ าเภอสระใคร อ าเภอสระใครอ าเภอเฝ้าไร่ อ าเภอเฝ้าไร่อ าเภอรตันวาปี อ าเภอรตันวาปีอ าเภอโพธิต์าก อ าเภอโพธิต์ากอ าเภอ (เมอืง) บงึกาฬ อ าเภอเมอืงบงึกาฬอ าเภอปากคาด

จงัหว

ดับงึก

าฬ

อ าเภอปากคาดอ าเภอโซ่พสิยั อ าเภอโซ่พสิยัอ าเภอพรเจรญิ อ าเภอพรเจรญิอ าเภอเซกา อ าเภอเซกาอ าเภอบงึโขงหลง อ าเภอบงึโขงหลงอ าเภอศรวีไิล อ าเภอศรวีไิลอ าเภอบุ่งคลา้ อ าเภอบุ่งคลา้

การออกแบบและระเบียบวิธีขัน้ตอนการวิจยั

ขัน้ตอน วตัถปุระสงค์ ฐานข้อมลู เครื่องมือวิเคราะห์

1 เรียบเรียงฐานข้อมลูประชากรในเขตสขุาภิบาลและเขตเทศบาลภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ ปี พ.ศ.2533, 2543 และ 2553

ส านักงานสถิติแห่งชาติ MS Excel

2 วิเคราะหค่์าความเป็นเมือง ส านักงานสถิติแห่งชาติ MS Excel

3 วิเคราะหก์ารเปล่ียนแปลงค่าความเป็นเมืองปี พ.ศ.2533, 2543 และ 2553

ส านักงานสถิติแห่งชาติ MS ExcelGIS

ผลการวิเคราะห์

- ค่าความเป็นเมืองของภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ- ค่าความเป็นเมืองของจงัหวดัในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

ผลการวิเคราะห์ค่าความเป็นเมืองของภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

ปี พ.ศ. 2533 2543 2553

คา่ความเป็นเมอืงของภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

0.499 0.569 0.626

ผลการวิเคราะห์ค่าความเป็นเมืองของจงัหวดัในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

การอภิปรายผล

การอภิปรายผล1. ปรากฎการณ์ความเป็นเมืองของจงัหวดั

ในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

- สตูรการวดัค่าความเป็นเมืองไม่สามารถอธิบายลกัษณะเมืองเปรียบเทียบกนัได้ เน่ืองจากมีองคป์ระกอบด้านขนาดพืน้ท่ีมาเก่ียวข้อง

- ถ้าใช้ค่าความเป็นเมืองควรวิเคราะหใ์นระดบัข้อมลูเชิงพืน้ท่ีมีขนาดเลก็ท่ีสดุ เช่น ระดบัต าบล

- บอกสดัส่วนของประชากรในพืน้ท่ีเมืองกบันอกเมือง

การอภิปรายผล2. สดัส่วนการตัง้ถ่ินฐานของประชากร

กบัขนาดของขอบเขตพืน้ท่ีจงัหวดั

มีขนาดพืน้ท่ีน้อย >>> ค่าความเป็นเมืองสงูมีขนาดพืน้ท่ีใหญ่ >>> ค่าความเป็นเมืองต า่

- ขนาดพืน้ท่ีใหญ่อาจจะมีจ านวนประชากรมากกว่า !!!- ต้องมีการวิเคราะหเ์พ่ิมเติม- เป็นวิธีการต้องควรระวงัในการวิเคราะห์

การอภิปรายผล3. ค่าความเป็นเมืองกบัล าดบัศกัยข์องเมือง

- ค่าความเป็นเมืองอธิบายแค่สดัส่วนประชากรระหว่างพืน้ท่ีเมืองกบัพืน้ท่ีโดยรอบเพียงเท่านัน้

- พืน้ท่ีมีค่าความเป็นเมืองสงู ย่อมมีแนวโน้มเป็นศนูยก์ลาง แต่ยงัมีช่องว่างด้านขนาดพืน้ท่ี

- การวิเคราะหล์ าดบัศกัยไ์ม่ควรใช้ค่าความเป็นเมืองมาวิเคราะห์

การอภิปรายผล4. ค่าความเป็นเมืองกบัจ านวนประชากร

การเป็นแค่ตวัช้ีวดัเบือ้งต้น !!!- เหมาะสมส าหรบัสะท้อนการเปล่ียนแปลงเปรียบเทียบ

เชิงพืน้ท่ีแห่งนัน้ เพียงแห่งเดียว

ข้อเสนอแนะการวิจยั

ข้อเสนอแนะการวิจยั1. การวิจยัด้านล าดบัศกัยข์นาดของเมือง

- การใช้ข้อมูลขนาดประชากรในระดบัต าบล เพื่อสะท้อนล าดบัศกัยข์นาดและความเป็นเมือง

สามารถเปรียบเทียบระหว่างพืน้ท่ีได้

ข้อเสนอแนะการวิจยั2. การวิจยัด้านความสมัพนัธข์องตวัช้ีวดัความเป็นเมือง

- ขนาดประชากรเป็นเพียงตวัช้ีวดัความเป็นเมืองขัน้แรก - ไม่สามารถสะท้อนบทบาทและประเภทของเมือง

ต้องมีการศึกษาองคป์ระกอบความเป็นเมืองเพ่ิมขึน้

จบประเดน็การน าเสนอ

การจ าแนกขนาดเมืองในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

ประเภทขนาดเทศบาล

ช่วงขนาดประชากร (คน)

จ านวนพืน้ท่ีเมืองของภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ (ร้อยละ)

ปี พ.ศ.2533 ปี พ.ศ.2543 ปี พ.ศ.2553เทศบาลมหานคร > 500,000 - - -เทศบาลนครศนูยก์ลาง 300,000 – 499,999 - - -เทศบาลนคร 50,000 – 299,999 3 (0.11) 5 (0.19) 6 (0.22)เทศบาลเมอืง 10,000 – 49,999 64 (2.39) 69 (2.58) 150 (5.60)เทศบาลต าบล 7,000 – 9,999 47 (1.76) 70 (2.61) 166 (6.20)เลก็กวา่เทศบาลต าบล < 6,999 247 (9.22) 353 (13.18) 489 (18.26)นอกเขตเทศบาล ประชากรกระจายตวัเชงิพืน้ที่ 2,317 (86.52) 2,181 (81.44) 1,867 (69.72)

รวม 2,678 (100.00) 2,678 (100.00) 2,678 (100.00)

ล าดบัศกัยข์นาดของเมืองระดบัต าบลในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

ล าดบัศกัยข์นาดของเมืองศนูยก์ลางจงัหวดัในภาคตะวนัออกเฉียงเหนือ

เกณฑก์ารจ าแนกขนาดของการปกครองส่วนท้องถ่ิน

ประเภทเทศบาล จ านวนประชากร การจดัเกบ็รายได้ท้องถ่ินเทศบาลต าบล 7,000 คน ขึน้ไป ไมต่ ่ากวา่ 12 ลา้นบาทเทศบาลเมอืง 10,000 คน ขึน้ไป รายไดพ้อควรแก่การทีจ่ะปฏบิตัหิน้าทีซ่ึง่ก าหนดไวใ้น

พระราชบญัญตัเิทศบาลเทศบาลนคร 50,000 คน ขึน้ไป รายไดพ้อควรแก่การทีจ่ะปฏบิตัหิน้าทีซ่ึง่ก าหนดไวใ้น

พระราชบญัญตัเิทศบาลเทศบาลนครศนูยก์ลาง

300,000 คน ขึน้ไป รายไดพ้อควรแก่การทีจ่ะปฏบิตัหิน้าทีซ่ึง่ก าหนดไวใ้นพระราชบญัญตัเิทศบาล

เทศบาลมหานคร 500,000 คน ขึน้ไป รายไดพ้อควรแก่การทีจ่ะปฏบิตัหิน้าทีซ่ึง่ก าหนดไวใ้นพระราชบญัญตัเิทศบาล

*** การสงัเคราะหต์คีวามจาก พรบ.เทศบาล พ.ศ.2496