การเขียนระเบียบวิธีวิจัย

Post on 25-May-2015

31.419 views 0 download

description

คำแนะนำในการเขียนระเบียบวิธีวิจัย

Transcript of การเขียนระเบียบวิธีวิจัย

แนวทางเบือ้งต้นในการเขียน ระเบยีบวิธีวิจยั (วิธีการศึกษา)

ดร.กฤษดา เชยีรวัฒนสขุ© copyright 2013

ส่วนของบทน า (ส่วนน า) ของบทท่ี 3

ส าหรบัการศึกษา (การวิจยั) เรื่อง ..............................................ในครัง้น้ี เป็นการวิจยัเชิงปริมาณ (Quantitative Research) โดยใช้การวิจยัเชิงส ารวจ (Survey Research Method) และมีวิธีการเกบ็ข้อมลูด้วยแบบสอบถาม (Questionnaire) ซ่ึงผูท้ าการศึกษา (วิจยั) ได้ก าหนดแนวทางในการด าเนินการศึกษา (วิจยั) โดยมีล าดบัขัน้ตอนในการศึกษา (วิจยั) และมีระเบียบวิธีการศึกษา (วิจยั) ในด้าน การก าหนดประชากร การสุ่มกลุ่มตวัอย่าง การเกบ็รวบรวมข้อมลู การจดัท าและการวิเคราะหข้์อมลู รวมถึงสถิติท่ีใช้ในการศึกษา (วิจยั) ดงัน้ี

ส่วนของบทน า (ส่วนน า) ของบทท่ี 3ควรระบใุห้ชดัเจนว่า

เป็นการวิจยัเชิงปริมาณ (Quantitative Research)

เป็นการวิจยัเชิงคณุภาพ (Qualitative Research)

เป็นการวิจยัแบบผสม (Mixed Method)

ส่วนของบทน า (ส่วนน า) ของบทท่ี 3ควรระบใุห้ชดัเจนว่า ใช้การวิจยัในลกัษณะ (ประเภท) ใด

ใช้การวิจยัเชิงส ารวจ (Survey Research) เช่น การส ารวจทศันคติ ความคิดเหน็ เพ่ือศึกษาประเดน็ท่ีสนใจ หรือหาข้อเทจ็จริง

ใช้การวิจยัศึกษาย้อนหลงัในส่ิงท่ีเกิดขึน้แล้ว (Ex-Post Factor Research) เป็นการศึกษาหาความสมัพนัธข์องตวัแปร จากเหตกุารณ์ท่ีเกิดขึน้อยู่ก่อน (หาสาเหตจุากผลท่ีเกิดขึน้) ส่วนใหญ่ใช้ในการศึกษา เช่น การศึกษาว่าเดก็มีคะแนนต า่มีสาเหตจุากปัจจยัใด หรือเดก็มีบคุลิกภาพต่างกนัเกิดจากการเลี้ยงดท่ีูต่างกนัอย่างไร

ใช้การวิจยัเชิงทดลอง (Experimental Research) เป็นการศึกษาส่ิงท่ีสนใจโดยมีการควบคมุ (ตวัแปร) และสงัเกตผลท่ีเกิดขึน้ ส่วนใหญ่จะเป็นการทดลองทางวิทยาศาสตร์

การก าหนดประชากร

ประชากรท่ีใช้ในการศึกษา (วิจยั) ในครัง้น้ี คือ ..................................................................................................................................................................................................................................................................................................................................จ านวน XXX คน (ตวัอย่าง)

อธิบายให้ชดัเจนว่า ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาในครัง้น้ี เป็นใคร (บอกคณุลกัษณะให้ชดัเจน)

การก าหนดประชากร

ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาค้นคว้าในครัง้น้ี เป็นนักเรียนท่ีก าลงัศึกษาในระดบัชัน้ประถมศึกษาปีท่ี 6 ของโรงเรียนกฤษดา อปุถมัภ ์ในสงักดักรงุเทพมหานคร ท่ีมีผลสมัฤทธ์ิทางการเรียนต า่กว่าร้อยละ 50

ประชากรท่ีใช้ในการวิจยัครัง้น้ีคือ นักเรียนชายและนักเรียนหญิงระดบัชัน้มธัยมศึกษาปีท่ี 3 ประจ าปีการศึกษา 2555 ในสงักดัส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พืน้ฐานทัง้หมด 118 โรงเรียนของกรงุเทพมหานคร มีจ านวนทัง้ส้ิน 55,000 คน (ข้อมลูจากส านักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน้พืน้ฐาน ปี 2552)

การก าหนดประชากร

ประชากรท่ีใช้ในการวิจยัครัง้น้ี คือ กลุ่มประชากรท่ีอาศยัในเขตกรงุเทพมหานครท่ีใช้รถยนตย่ี์ห้อ โตโยต้า นิว วีออส (TOYOTA New Vios) ทัง้เพศชายและเพศหญิงท่ีเป็นบคุคลท่ีมีอาย1ุ8 ปีขึน้ไป ทัง้น้ีเน่ืองจากเป็นผูท่ี้ได้รบัใบอนุญาตในการขบัข่ีรถยนต ์ซ่ึงไม่ทราบจ านวนประชากรท่ีแน่นอน

ประชากรท่ีใช้ในการศึกษาครัง้น้ี คือ ลกูค้าท่ีเข้ามาใช้บริการท่ีหน้าเคาน์เตอร ์ธนาคารกรงุไทย สาขาบางบอน ในช่วงเดือนเมษายนถึงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2553 ซ่ึง ไม่สามารถนับได้เน่ืองจากขนาดประชากรมีขนาดใหญ่ ไม่ทราบจ านวนท่ีแน่นอน

(ผิด เพราะสามารถนับโดยประมาณได้)

การก าหนดขนาดตวัอย่าง กรณีศึกษาค่าเฉล่ียประชากร

การค านวณหาขนาดของกลุ่มตวัอย่างในการศึกษาน้ีได้ใช้สตูรการหาขนาดของกลุ่มตวัอย่างแบบทราบจ านวนประชากร โดยก าหนดระดบัความเช่ือมัน่ท่ีร้อยละ 95 และก าหนดระดบัความผิดพลาดไม่เกินร้อยละ 5 โดยใช้สตูรของ Taro Yamane (1967) ดงัน้ี

n = N

1 + N(E)2

n = ขนาดของกลุ่มตวัอย่าง

N = จ านวนประชากร

E = 0.05 (ท่ีระดบัความเช่ือมัน่ร้อยละ 95)

(Yamane, T. 1967. Elementary Sampling Theory, USA: Prentice Hall)

การก าหนดขนาดตวัอย่าง กรณีศึกษาค่าเฉล่ียประชากร

ขนาดของกลุ่มตวัอย่างท่ีได้จากการค านวณเท่ากบั XXX ตวัอย่าง ทัง้น้ีผูวิ้จยัได้ท าการเกบ็ตวัอย่างส ารองเพ่ิมเติมอีก XX ตวัอย่าง เพ่ือเป็นการป้องกนัความผิดพลาดจากการเกบ็ตวัอย่างและป้องกนัการตอบแบบสอบถามท่ีไม่สมบรูณ์ ดัง้นัน้จึงมีกลุ่มตวัอย่างท่ีใช้ในการศึกษา (วิจยั) ทัง้ส้ิน XXX ตวัอย่าง

การก าหนดขนาดตวัอย่าง กรณีศึกษาค่าสดัส่วนประชากร

กลุ่มตวัอย่างท่ีใช้ในการวิจยัครัง้น้ี คือ ประชาชนท่ีใช้รถยนตย่ี์ห้อโตโยต้า รุ่นนิววีออสท่ีอาศยัอยู่ในเขตกรงุเทพมหานคร และมีอายตุัง้แต่ 18 ปี ขึน้ไปโดยผู้วิจยัก าหนดขนาดตวัอย่างโดยใช้สตูรการค านวณขนาดของกลุ่มตวัอย่างแบบไม่ทราบจ านวนประชากรท่ีแน่นอน โดยกาหนดให้มีระดบัความผิดพลาดไม่เกินร้อยละ 5 ท่ีระดบัความเช่ือมัน่ร้อยละ 95 (กลัยา วานิชยบ์ญัชา 2545: 26)

n = Z2 pq

e2

การก าหนดขนาดตวัอย่าง กรณีศึกษาค่าสดัส่วนประชากร

โดยท่ี n แทน ขนาดของกลุ่มตวัอย่างe แทน ระดบัความคลาดเคล่ือนท่ียอมรบัได้มีค่าเท่ากบั 0.05Z แทน score ขึน้อยู่กบัระดบัความเช่ือมัน่ ซ่ึงความเช่ือมัน่ท่ี

ผูวิ้จยัก าหนดไว้ 95% นัน้คือ α = 0.05 หรือ 1-α/2 = 0.975

ท าให้ Z = Z0.975 เปิดตารางค่า Z ได้ 1.96p แทน สดัส่วนประชากรท่ีสนใจศึกษาq แทน 1 – p

การก าหนดขนาดตวัอย่าง กรณีศึกษาค่าสดัส่วนประชากร

สาหรบัการวจิยัครัง้น้ีผูว้จิยัก าหนดสดัสว่นของประชากรเทา่กบั 50% หรอื 0.5 และตอ้งการระดบัความเชื่อมัน่รอ้ยละ 95 และมรีะดบัความผดิพลาดไมเ่กนิรอ้ยละ 5 ดงันัน้ สามารถแทนค่าสตูรในการค านวณได ้ดงัน้ี

n = (1.96)2 (0.5) (1-0.5)(0.05)2

n = 385

ความส าคญัของขนาดตวัอย่าง

ขนาดตวัอย่างเลก็ (มีจ านวนน้อย) งานวิจยัขาดความน่าเช่ือถือใช้อ้างอิงประชากรทัง้หมดไม่ได้เสียเวลาเปล่าๆ ในการท า

ขนาดตวัอย่างเหมาะสม ได้ข้อสรปุท่ีถกูต้อง (หรือใกล้เคียงความจริงมากท่ีสดุ)สามารถใช้อ้างอิงประชากรทัง้หมดได้

ขนาดตวัอย่างมากเกินไปส้ินเปลืองงบประมาณ เวลา และเกินความจ าเป็น ฯลฯ

วิธีการการสุ่มตวัอย่าง ควรอธิบายแบบเป็นขัน้ตอนดงัน้ี

ส าหรบัวิธีการสุ่มตวัอย่างเพ่ือเลือกตวัแทนท่ีใช้ในการศึกษาครัง้น้ี จะมีล าดบัขัน้ตอนในการสุ่มตวัอย่างเป็นแบบหลายขัน้ตอน (Multistage Sampling) ดงัต่อไปน้ี

ขัน้ตอนท่ี 1 ใช้วิธีการเลือกกลุ่มตวัอย่างแบบวิจารณญาณ หรือ แบบเจาะจง (Judgment or Purposive Sampling) โดยเลือกกลุ่มตวัอย่างท่ีอาศยัอยู่ใน................................................................................

......................................................................................

ขัน้ตอนท่ี 2 ใช้วิธีการสุ่มตวัอย่างแบบโควตา (Quota sampling) โดยแจกแจงแบ่งสดัส่วนตามขนาดกลุ่มตวัอย่างทัง้หมด 440 ตวัอย่าง โดย..............................................................................................................

วิธีการการสุ่มตวัอย่าง ควรอธิบายแบบเป็นขัน้ตอนดงัน้ี

ขัน้ตอนท่ี 3 ใช้วิธีสุ่มตวัอย่างโดยใช้ความสะดวก (Convenience) ซ่ึงเป็นการสุ่มตวัอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะเป็น (Non-probability) โดยจะท าการแจกแบบสอบถามตามกลุ่มตวัอย่างท่ีก าหนดไว้ โดย.......................

......................................................................................................................

........................................

การเกบ็รวบรวมข้อมลู

ในการศึกษา (วิจยั) เร่ือง...................................................................

........................................................................................................ ในครัง้น้ี ผูวิ้จยัได้ด าเนินการเกบ็รวบรวมข้อมลูตามขัน้ตอน ดงัน้ี

1. ข้อมลูทุติยภมิู (Secondary Data) ได้จากการศึกษาค้นคว้าจากข้อมลูท่ีมีผูร้วบรวมไว้ ดงัน้ี

1.1 หนังสือพิมพ ์วารสาร ส่ิงพิมพต่์างๆ

1.2 ข้อมลูทางอินเตอรเ์น็ต

1.3 หนังสือทางวิชาการ บทความ สารนิพนธ ์วิทยานิพนธ ์และรายงานวิจยัท่ีเก่ียวข้อง

การเกบ็รวบรวมข้อมลู

2. แหล่งข้อมลูปฐมภมิู (Primary Data) ซ่ึงได้จากการใช้แบบสอบถามเป็นเคร่ืองมือในการเกบ็ข้อมูลจากกลุ่มตวัอย่างเป้าหมายจ านวน XXX คน ท่ีอาศยัอยู่ในเขต..................................... (อธิบายตามขอบเขตของประชากรท่ีใช้ในการศึกษา) ดงัน้ี

2.1 ผูวิ้จยัน าแบบสอบถามไปด าเนินการสอบถามกบักลุ่มเป้าหมาย ในเขต.................................................... โดยเกบ็ตวัอย่างตาม...................................................................

2.2 น าแบบสอบถามท่ีได้มาท าการลงรหสั เพ่ือน าไปวิเคราะห์ข้อมลูทางสถิติต่อไป

การเขียนอธิบาย สถิติท่ีใช้ในการศึกษา (วิจยั)มีหลกัการโดยทัว่ไปดงัน้ี

ให้ท าการอธิบายเฉพาะสถิติท่ีมีการน ามาใช้จริงในงานวิจยั

สญัลกัษณ์ท่ีใช้ทางสถิติท่ีใช้ในงานวิจยั ควรเป็นสญัลกัษณ์ท่ีใช้เป็นสากล

ควรอ้างอิงท่ีมาของ ทฤษฎีหรือสตูรจากแหล่งต้นฉบบั

ควรอ้างอิงจากวารสารวิชาการ หนังสือ ท่ีทนัสมยั ไม่เก่าจนเกินไป (ยกเว้น การอ้างจากเจ้าของทฤษฎี ท่ีมีการเสนอไว้นานแล้ว)

ควรตรวจสอบว่า สถิติท่ีใช้ ถกูต้องและเหมาะสมกบัเน้ือหาท่ีม าการวิจยั

การเขียนอธิบาย สถิติท่ีใช้ในการศึกษา (วิจยั)ให้นักศึกษาพิจารณาตวัอย่างการเขียน จากงานวิจยัของผูอ่ื้น

ให้ท าการตรวจสอบรปูแบบและท าความเข้าใจ ในลกัษณะการบรรยายว่ามีการจดัล าดบัอย่างไร

มีส่วนท่ีน าเสนอ ผิดหลกัการ ผิดวิธีการ หรือผิดรปูแบบหรือไม่

วิธีการทางสถิติเหมาะสมหรือไม่

การอ้างอิงถกูต้องหรือไม่

พิจารณาประเดน็อ่ืนๆ ท่ีควรปรบัปรงุแก้ไข

Thank You

ดร.กฤษดา เชียรวัฒนสุข

Dr. Krisada Chienwattanasook