วิเคราะห์ SPSS

Post on 12-Jul-2016

21 views 1 download

description

วิเคราะห์ SPSS

Transcript of วิเคราะห์ SPSS

โปรแกรมสําเร็จรูปเพื่อการ

วิเคราะหขอมูล SPSS

สถิตินับเปนขอมูลท่ีจําเปนในทุกสาขา

สาขาที่นําสถิติไป

ประยุกตใช

ดานบริหาร

จิตวิทยา

การเกษตร

เศรษฐศาสตร

สาขาอื่น ๆ

การแพทย

วิศวกรรมศาสตร

ธุรกิจ

สาธารณสุข

วิธีการทางสถิติพรรณนา

1. การแจกแจงความถี่ (Frequencies)

2. การวัดแนวโนมสูสวนกลาง (Measure Central of Tendency)

การหาคาเฉล่ีย (Mean)

การหาคาฐานนยิม (Mode)

การหาคาแสดงตําแหนงขอมูล (Median, Quartiles, Percentiles)

3. การหาคาการกระจาย (Dispersion)

แบ่งตามระดบัของการวดัของข้อมูล

การแบงขอมูลตามระดับการวัดแบงได 4 ระดับ ดังน้ี

1. มาตรานามบัญญัติ (Nominal Scale)

2. มาตราเรียงอันดับ (Ordinal Scale)

3. มาตราอันตรภาค (Interval Scale)

4. มาตราอัตราสวน (Ratio Scale)

เกณฑ มาตราสวนประมาณคา ( Rating Scale ) โดยใชเกณฑการแปลความหมาย ดังนี้

คาเฉล่ีย 4.51 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับดีมากทีสุ่ด

คาเฉล่ีย 3.51 – 4.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับดีมาก

คาเฉล่ีย 2.51 – 3.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง

คาเฉล่ีย 1.51 – 2.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับนอย

คาเฉล่ีย 1.00 – 1.50 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับนอยทีสุ่ด

เกณฑการแปลความหมาย

คาเฉล่ีย 4.21 – 5.00 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับดีมากทีสุ่ด

คาเฉล่ีย 3.41 – 4.20 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับดีมาก

คาเฉล่ีย 2.61 – 3.40 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับปานกลาง

คาเฉล่ีย 1.81 – 2.60 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับนอย

คาเฉล่ีย 1.00 – 1.80 หมายถึง ความพึงพอใจอยูในระดับนอยทีสุ่ด

8.054

5151

==−

=−

NN

ประเภทของข้อมูล

แบงตามลักษณะของขอมูล1. ขอมูลเชิงปริมาณ (Quantitative Data) เปนขอมูลที่วัดคาไดวามีคามากหรือนอย

จึงแสดงออกเปนตวัเลข เชน รายได อาย ุ ความสงู ฯลฯ

ขอมูลแบบไมตอเน่ือง (Discrete Data) เชน จํานวนคน จํานวนตกึ

ขอมูลแบบตอเน่ือง (Continuous Data) เชน รายได นํ้าหนัก สวนสงู

2. ขอมูลเชิงคุณภาพ (Qualitative Data) เชน ลักษณะของสินคา คุณภาพของสินคา

เพศ การนับถอืศาสนา ฯลฯ

การจาํแนกตวัแปรเชงิคณุภาพและเชงิปรมิาณ

• ตัวแปรระดับที่สูงกวาจะสามารถแปลงระดับการวัดเปนตัวแปรระดับที่ตํ่ากวาได แตตัวแปรระดับ

ที่ตํ่ากวาจะแปลงระดับการวัดเปนตัวแปรระดับสูงกวาไมได

• การจําแนกระดับของตัวแปรจะมีผลตอการเลือกวิธีการทางสถิติที่จะนํามาใชสรุป และวิเคราะห

ขอมูล

ตัวแปร

(Variables)

การวัดแบบ

แบงกลุม

(Nominal)

การวัดแบบจัด

อันดับ

(Ordinal)

การวัดแบบชวง

ขอมูล

(Interval)

การวัดแบบ

อัตราสวน

(Ratio)

คุณภาพ

(Qualitative)/ /

ปรมิาณ

(Quantitative)/ /

ขั้นตอนการดาํเนินงานทางสถติิ

ระเบียบวิธีทางสถิติ ประกอบดวย

1. การเก็บรวบรวมขอมลู (Collection of data)

2. การวิเคราะหขอมูล (Analysis of data)

3. การนําเสนอขอมูล (Presentation of data)

4. การสรุปและแปลความหมายขอมูล(Conclusion and Interpretation of data)

ความเปนมาของ SPSS

S = Statistical P = Package S = Social S = Scientists

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับ SPSS SPSS เปนเครื่องมือสําหรับการวิเคราะหขอมูลดวยวิธีทางสถิติ

สามารถประมวลผลดวยตาราง สรางกราฟ และวิเคราะหทางสถิตทิี่

หลากหลาย

ผูวิเคราะหสามารถเขียนโปรแกรมคําส่ังเพื่อส่ังใหโปรแกรม SPSS

ทํางานตามที่ตองการได

สวนประกอบสําคัญในการใชโปรแกรม SPSS ในการวิเคราะหทางสถิติ

1. โปรแกรม

2. ขอมูลสําหรับการวิเคราะห

จดุเดนและเหตผุลแหงความสําเรจ็โปรแกรม SPSS

SPSS เปนโปรแกรมสําเร็จรูปที่จัดทําข้ึนสําหรับงานวิจัย

มีคําส่ังหลากหลายคําส่ัง มีโปรแกรมยอยภายใตโปรแกรมใหญ

เปนโปรแกรมที่นักวิชา 3 ดาน พัฒนารวมกัน (สังคม, สถติ,ิ Com)

ใชงานงาย สะดวก และรวดเรว็

เพ่ือโอกาสใหนักวิชาการไดพัฒนาเทคนิควิธีการวิเคราะหในการทํา

วิจัยไดอยางกวางขวางมากข้ึน

การใช SPSS วิเคราะหขอมลูเบ้ืองตน

การตรวจสอบขอมูลกอนนํามาใช

การกําหนดคุณลักษณะของตัวแปรที่ตองนําขอมูลเขา

การวิเคราะหดูคาสถิติพ้ืนฐาน (mean, median, min, max, Variance)

การทดสอบสมมติฐานเก่ียวกับคาเฉล่ีย 2 กลุม (t-test)

การทดสอบสมมติฐานเก่ียวกับคาเฉล่ียต้ังแตสองกลุมขึ้นไป (F-test)

การวิเคราะหตารางไขว (Crosstab [Pearson Chi-Square])

หลักการตั้งชื่อตัวแปรมีดังนี้

ความยาวของชือ่ตัวแปรตองไมเกนิ 8 ตัว(สําหรับ version 12 ขึน้ไปต้ังชื่อไดถึง 64 ตัว)

ชื่อตัวแปรตองไมลงทายดวยจุด

ชื่อตัวแปรตองไมเวนวรรค และไมมีอักษรพิเศษ เชน !, ?, ‘ , * เปนตน

ชื่อตัวแปรจะตองไมซ้ํากัน

อักษรตัวเล็กและอักษรตัวใหญในชื่อตัวแปรจะไมมีความแตกตางกัน เชน Sex กับ sex

เริ่มตนการใชงาน

การเรียกโปรแกรม

1

2

หนาตาง Spss For Windows เมือ่เปดโปรแกรม

หมายถึง การเปดบทเรียนชวยสอนเรื่อง Spss for Win

หมายถึง การเริ่มตนกําหนดตัวแปรและใหคาตัวแปร

หมายถงึ การทาํงาน Spss รวมกับระบบฐานขอมูล

หมายถึง การสรางสวนทํางานรวมกับระบบฐานขอมูล

หมายถึง การนําขอมูลโปรแกรม Spss มาทําการแกไข เพิ่มใหคา

ตัวแปร และ วิเคราะหผล

หมายถึง การนําขอมูลโปรแกรมอ่ืนๆ มาทํางานรวมกับโปรแกรม Spss

หมายถึง ถาไมตองการใหแสดงหนาตางนี้อีกในการเปดครั้งตอไป

สวนประกอบของหนาตางหลักไตเตลิบาร เมนบูาร ทลูบาร

กําหนดคาตัวแปร

ชุดตัวแปร

ช่ือตัวแปร

ดูและแกไขขอมูล สรางและแกไขตัวแปร แสดงสถานะการทาํงาน

สวนประกอบท่ีสําคัญของเมนูบาร (Menu Bar)

จัดการไฟลแกไข/ปรับปรุงรูปแบบ/แสดงจัดการขอมูลแปลงขอมูลวิเคราะหขอมูลสรางกราฟ

เปนแถบเครื ่องมือที ่ใชสําหรับสั่งใหโปรแกรมทํางานตามที ่

ตองการ แถบเครื่องมือนีจ้ะเปนคําสั่งสําเร็จรูปที่มีการใชงานบอย

แตในบางคําส่ังจําเปนตองเขียนคําส่ังที่ Syntax

สวนประกอบของแถบมมุมอง (View Bar)

สวนที่แสดงและแกไขขอมูลของชุดตัวแปร เรียกวา Data

View

สวนที่ใชสรางและแกไขโครงสรางตัวแปร เรยีกวา Variable

View

Data view

Data view เปนสวนกําหนดคาชุดของตัวแปรในแตละชุดหรือ

ใชในการปอนขอมูลหรือแสดงขอมูล ดังภาพ

Variable view

Variable view เปนสวนกําหนดคุณสมบัติของตัวแปร โดยสามารถสรางและแกไขโครงสรางตัวแปร ดังภาพ

Name = กําหนดช่ือตัวแปร

Type = กําหนดชนิดของตัวแปร

Width = กําหนดจํานวนความกวางของคาตัวแปร

Decimals = กําหนดจํานวนของจุดทศนิยม

Label = กําหนดนิยามหรือช่ือของตัวแปรโดยละเอียด (จะรายงานใน Output)

Value = กําหนดคาตัวแปรหรือความหมายของคาของตัวแปร

Missing = กําหนดเม่ือไมพบคาตัวแปรของชุดตัวแปรน้ัน

Columns = กําหนดความกวางของชอง Columns สําหรับกรอกขอมูล

Align = จัดคาของชุดตัวแปรใหชิดซาย กลาง หรือ ขวา

Measure = กาํหนดมาตราวัดของตัวแปร

กําหนดใหแสดงภาษาไทยในหนาตางขอมูล

เลือกเมนู View -> Fonts

เลือก Font, Font type และ Size ตามที่ตองการ แลวคลิกปุม OK

แนะนํา: ฟอนตภาษาไทยสวนใหญจะลงทายดวย UPC

คํานวณคาสถิติพื้นฐานของตัวแปรท้ังหมดAnalyze ⇒ Descriptive Statistics ⇒ Descriptive…Analyze ⇒ Descriptive Statistics ⇒ Frequencies…

การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยสําหรับ 2 กลุมตัวอยาง

สถิติที่ใชทดสอบ z-test และ t-test

z-test ตองทราบคาความแปรปรวน

t-test ถาจาํนวนตัวอยางมาก จะไมแตกตางจาก z-test

มีการสุมตัวอยางจากแตละประชากรเปนอิสระกัน

สมมติฐานที่ตองการทดสอบ

H0 : µ1 = µ2 หรอื H0 : µ1 - µ2 = 0

H1 : µ1 ≠ µ2 หรอื H1 : µ1 - µ2 ≠ 0

จากตัวอยางต้ังสมมติฐานไดวา

H0 : คาใชจายเฉล่ียไมขึ้นกับเพศ

H1 : คาใชจายเฉล่ียขึ้นกับเพศ

เปรียบเทียบคาเฉลีย่สําหรับ 2 กลุมตัวอยาง

Analyze ⇒ Compare Means ⇒ Independent-Samples T Test…

การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยตั้งแตสองกลุมขึ้นไป

สถิติที่ใชทดสอบ F-test

เปนการวิเคราะหความแปรปรวนทางเดียว [One Way ANOVA]

คาความแปรปรวนของแตละกลุมตองเทากัน

สมมติฐานที่ตองการทดสอบ

H0 : µ1 = µ2 = µ3 …= µn

H1 : µi ≠ µj มีอยางนอย 1 คูที่ไมเทากัน

จากตัวอยางต้ังสมมติฐานไดวา

H0 : คาใชจายเฉล่ียไมขึ้นกับเพศ

H1 : คาใชจายเฉล่ียขึ้นกับเพศ

เปรียบเทียบคาเฉลี่ยต้ังแตสองกลุมขึ้นไป

Analyze ⇒ Compare Means ⇒ One-Way ANOVA…

การวิเคราะหตารางไขว (Crosstab)

ตัวแปรทั้ง 2 ตัว เปนตัวแปรเชิงกลุมหรือเชิงคุณภาพ

สถิติที่ใชในการทดสอบ ไดแก Pearson Chi-Square

สมมติฐานที่ใชในการทดสอบ

H0: ตัวแปรทั้ง 2 ตัวเปนอิสระกัน

H1: ตัวแปรทั้ง 2 ตัวไมเปนอิสระกัน

ถาตารางขนาด 2×2 และ Eij < 5 เกินกวา 20% ของ cell ทั้งหมด ให

ใช Fisher’s Exact test แทน Pearson Chi-Square

การวิเคราะหตารางไขว (Crosstab)

Analyze ⇒ Descriptive Statistics ⇒ Crosstabs…

The END

Thank you

¡ÒÃÇÔà¤ÃÒÐË�à¤Ã×èͧÁ×ÍÇÔ¨ÑÂ

เครือ่งมือวิจยัในรปูเอกสารทีส่ามารถใชเปนแบบวัดในการวิจยั

• แบบสอบถาม

• แบบสัมภาษณ

• แบบทดสอบ

• แบบสังเกต

• แบบวัดทางจิตวิทยา

สิ่งที่ผูวิจัยจะตองคํานึงถึงสําหรับเครื่องมือ

2. Reliability ความเที่ยง หรือ ความนาเชื่อถือ

1. Validity ความตรง หรือ ความสมเหตสุมผล

(ก) เปาสําหรบัการขวางลูกดอก

สมมุติวาเปาหมาย

ของการขวางลูกดอก

คือวงกลมในสุด

(ข) ผลการขวางลูกดอกของมือที่

ไมมีความเที่ยงและไมมีความตรง

(ค) ผลการขวางลูกดอกของมือที่

มีความเที่ยงแตไมมีความตรง

(ง) ผลการขวางลูกดอกของมือที่

มีทั้งความเที่ยงและความตรงพรอมกัน

การตรวจสอบความตรงตามเนือ้หา

ผูเช่ียวชาญอยางนอย 3 คน

1. วิธีการวิเคราะหดรรชนีความสอดคลอง

2. วิธีการวิเคราะหดรรชนีความเหมาะสม

1. วิธีการวิเคราะหดรรชนีความสอดคลอง

ความสอดคลองระหวางคําถามรายขอกับจุดประสงคหรือพฤติกรรมที่ตองการวัด

ใหคะแนน +1 ถาแนใจวาคําถามวัดจุดประสงคนั้น

ใหคะแนน 0 ถาไมแนใจวาคําถามวัดจุดประสงคนั้นหรือไม

ใหคะแนน -1 ถาแนใจวาคําถามไมวัดจุดประสงคนั้น

1. วิธีการวิเคราะหดรรชนีความสอดคลอง

นําคะแนนทั้งหมดที่ผูเช่ียวชาญใหคะแนนไปหาคาเฉลี่ยแตละขอคําถาม

เรียกคาเฉลี่ยน้ันวา ดรรชนคีวามสอดคลอง

โดยสูตร IOC (index of item-objective congruence)เกณฑการคัดเลือกคําถามรายขอ คือ

ถา IOC 0.50 แปลวา คําถามขอน้ันวัดตรงจุดประสงค

ถา IOC < 0.50 แปลวา คําถามขอนั้นวัดไมตรงจุดประสงค

≥ ใชได

ใชไมได

ความพึงพอใจในการใหบริการของแผนกตําราและคําสอน

จุดประสงค วัดความพึงพอใจในการใหบริการของแผนกตําราและคําสอน

ผลการใหคะแนนจากผูเช่ียวชาญจากคนที่ 1 จากท้ังหมด 5 คน

คําถาม ใช(+1) ไมแนใจ(0) ไมใช(-1)1. เวลาท่ีแผนกตําราฯ เปดใหบริการ

(8.30 – 17.00 น. ทุกวันจันทร-เสาร)

2. ความรวดเร็วในการผลิตสิ่งพิมพท่ัวไป

3. ความสวยงามของการออกแบบปกตํารา

4. การใหคําแนะนําในการผลิตสิ่งพิมพ

5. ความถูกตองในการพิสูจนอักษร

6. ความเขาใจเกี่ยวกับนโยบายการผลิตสิ่งพิมพ

ผลการวิเคราะหดรรชนีความสอดคลองของผูเช่ียวชาญทั้ง 5 คน

คําถาม

ขอที่

คะแนนความคิดเห็นของผูเชี่ยวชาญ (R)ΣR IOC

คนท่ี 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนท่ี 5123456

-1+10

+10

+1

0+1+1+10

+1

+1+1+1+1+10

+1+1+1+1+10

+1+1+1+1+1-1

254531

0.41

0.81

0.60.2

ตัวอยางการคํานวณ คําถามขอที่ 1 IOC = 405

2.

N

R==∑

2. วิธีการวิเคราะหดรรชนีความเหมาะสม

ใหผูเช่ียวชาญอยางนอย 3 คน พิจารณาใหคะแนนความเหมาะสมระหวางคําถาม

รายขอกับจุดประสงค โดยใชมาตราประเมิน 5 ระดับแบบลิเคิรต(Likert scale)

ถาใช คะแนน 0 – 4 โดย ถาใชคะแนน 1 – 5 โดย

4 = เหมาะสมมากท่ีสดุ

3 = เหมาะสมมาก

2 = เหมาะสมปานกลาง

1 = เหมาะสมนอย

0 = เหมาะสมนอยท่ีสุด

5 = เหมาะสมมากท่ีสดุ

4 = เหมาะสมมาก

3 = เหมาะสมปานกลาง

2 = เหมาะสมนอย

1 = เหมาะสมนอยท่ีสุดพิจารณาขอที่เหมาะสมจากคาเฉลี่ย

และคาเบ่ียงเบนมาตรฐาน S.D.X

X ต้ังแต 2.5 ขึ้นไป ขอคําถามเหมาะสมS.D. เกิน 1 ผูเช่ียวชาญคิดแตกตางมาก

ต้ังแต 3.5 ขึ้นไป ขอคําถามเหมาะสมS.D. เกิน 1 ผูเช่ียวชาญคิดแตกตางมาก

X

คําถามเหมาะสม

มากท่ีสุด

(4)

เหมาะสม

มาก

(3)

เหมาะสม

ปานกลาง

(2)

เหมาะสม

นอย

(1)

เหมาะสม

นอยท่ีสุด

(0)1. เวลาที่แผนกตําราฯ เปดใหบริการ

(8.30 – 17.00 น. ทกุวันจันทร-

เสาร)

2. ความรวดเร็วในการผลิตสิ่งพิมพทั่วไป

3. ความสวยงามของการออกแบบปกตํารา

4. การใหคําแนะนําในการผลิตสิ่งพิมพ

5. ความถูกตองในการพิสูจนอักษร

6. ความเขาใจเกี่ยวกับนโยบายการผลิตสิง่พิมพ

ถาใช คะแนน 0 – 4 โดย

ผลการวิเคราะหดรรชนีความเหมาะสมของผูเช่ียวชาญทั้ง 5 คน

คําถาม

ขอที่

คะแนนความคิดเหน็ของผูเชีย่วชาญS.D.

คนท่ี 1 คนที่ 2 คนท่ี 3 คนท่ี 4 คนท่ี 5123456

122323

133312

344441

444441

344341

2.43.43.43.43.01.6

1.340.890.890.551.410.89

X

นําแบบสอบถามที ่ได ไปทดลองใช (Try out) กับ……………………..ทีไ่มใชกลุมตัวอยาง จํานวน 30 คน เพื ่อหาคุณภาพของเครือ่งมือ โดยการหาคาความเทีย่งหรือ

ความเชื ่อถือไดของแบบสอบถาม (Reliability) แบบ

Cronbach’s Alpha โดยแบบสอบที่ใชไดควรมีคา

มากกวา 0.80

2. Reliability ความเที่ยง หรือ ความนาเชื่อถือ

2. Reliability ความเที่ยง หรือ ความนาเชื่อถือ

การใชโปรแกรม SPSS

ทดสอบคาเฉลีย่ดวย t-test

รูปแบบการวเิคราะหดวย t-test

1) One-Sample t-test

2) Paired - Samples t-test

3) Independent - Samples t-test

การสรปุผลการทดสอบ

จากการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม SPSS

ทําได 2 วิธีคือ

1.จากคาพี (P: Probability) หรอืความ

นาจะเปน (ในโปรแกรม SPSS อาจเขียน

Asymp. Sig.หรอื Sig. แทน คาพี)

2. จากการเปดตาราง

วิธีการสรุปคา Sig.

ถา P ≤ Alpha(α) สรุปวาคาเฉลี่ยของประชากร 2 กลุม แตกตางกัน

ถา P > Alpha (α) สรุปวาคาเฉลี่ยของประชากร 2 กลุม ไมแตกตางกัน

สําหรบัประชากร 1 กลุม• วิเคราะหเมื่อตองการเปรียบเทียบคาเฉล่ียของกลุมตัวอยางกับคาเฉล่ีย

มาตรฐาน

• ที่เมนูบารเลือก Analyze

– Compare Means

• One-Sample t-test

– คลิกตัวแปรใสในชอง Test Variable

– ในชอง Test Value ใหใสคาเฉล่ียมาตรฐานที่ตองการ

ทดสอบ

– คลิก OK

การทดสอบคาเฉลี่ยดวย t-test

ของกลุมตัวอยางกับคาเฉลี่ยมาตรฐาน

มีตารางที่สําคัญ 2 ตารางคือ

ตาราง One-Sample Statistics

และ ตาราง One - Sample Test

ตัวอยาง out put

One-Sample Statistics

19 35.47 7.321 1.680Post-test ScoresN Mean Std. Deviation

Std. ErrorMean

One-Sample Test

6.236 18 .000 10.474 6.95 14.00Post-test Scorest df Sig. (2-tailed)

MeanDifference Lower Upper

95% ConfidenceInterval of the

Difference

Test Value = 25

ตวัอยางการนาํเสนอผลการวเิคราะหขอมูล

ตารางที่ 1 ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนหลังเรียนกับเกณฑผาน 25 คะแนน

คะแนน n คาเฉลี่ย SD. t p

หลังเรียน 19 35.47 7.32 6.236** .000

** p < .01

ตวัอยางการนาํเสนอผลการวเิคราะหขอมูล

จากการทดสอบคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเ รี ย น ห ลั ง เ รี ย น ด ว ย t-test พ บ ว า ค า เ ฉ ลี ่ย ค ะ แ น นผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนแตกตางจากคะแนนเกณฑผานที่ 25 คะแนนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

สําหรบัประชากร 2 กลุม• วิเคราะหเม่ือตองการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง

2 กลุม (ที่ไมเปนอิสระจากกัน)

• ที่เมนูบารเลือก Analyze

– Compare Means

• Paired - Samples t-test

– คลกิตัวแปรทีต่องการทดสอบ 1, 2 ใสในชอง Paired Variables

– คลกิ OK

การทดสอบคาเฉลีย่ดวย t-test

ของกลุมตัวอยาง 2 กลุม ที่ไมเปนอิสระจากกัน

มีตารางที่สาํคัญ 2 ตารางคือ

ตาราง Paired Samples Statistics

และ ตาราง Paired Samples Test

ตัวอยาง out put

Paired Samples Statistics

9.83 18 3.185 .75135.83 18 7.358 1.734

Pre-test ScoresPost-test Scores

Pair1

Mean N Std. DeviationStd. Error

Mean

Paired Samples Test

-26.000 4.947 1.166 -28.460 -23.540 -22.299 17 .000Pre-test Scores -Post-test Scores

Pair1

Mean Std. DeviationStd. Error

Mean Lower Upper

95% ConfidenceInterval of the

Difference

Paired Differences

t df Sig. (2-tailed)

ตวัอยางการนาํเสนอผลการวเิคราะหขอมูล

ตารางที่ 2 ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการ

เรียนกอนและหลังเรียน

คะแนน n คาเฉลี่ย SD. t p

กอนเรียน

หลังเรียน

18

18

9.83

35.83

3.19

7.36

-22.299** .000

** p < .01

ตวัอยางการนาํเสนอผลการวเิคราะหขอมูล

จากการทดสอบเปรียบเทียบคาเฉลี ่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนและหลังเรียนดวย t-test พบวาคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนกอนเรียนแตกตางจากคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .01

สําหรบัประชากร 2 กลุม• วิเคราะหเม่ือตองการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง

2 กลุม (ที่เปนอิสระจากกัน)• ที่เมนูบารเลือก Analyze

– Compare Means

• Independent - Samples t-test

– คลิกตัวแปรตามใสในชอง Test Variable

– คลิกตัวแปรตนใสในชอง Grouping Variable

– กดปุม Define Groups แลวใสคาของตัวแปร

– คลกิ Continue

– คลกิ OK

การทดสอบคาเฉลีย่ดวย t-test

ของกลุมตัวอยาง 2 กลุม ที่เปนอิสระจากกัน

มีตารางที่สาํคัญ 2 ตารางคือ

ตาราง Group Statistics

และ ตาราง Independent Samples Test

ตัวอยาง out putGroup Statistics

8 39.63 6.545 2.31410 31.60 6.204 1.962

Sex of respondencesmalefemale

Post-test ScoresN Mean Std. Deviation

Std. ErrorMean

Independent Samples Test

.055 .818 2.662 16 .017 8.025 3.015 1.634 14.416

2.645 14.752 .019 8.025 3.034 1.549 14.501

Equal variancesassumedEqual variancesnot assumed

Post-test ScoresF Sig.

Levene's Test forEquality of Variances

t df Sig. (2-tailed)Mean

DifferenceStd. ErrorDifference Lower Upper

95% ConfidenceInterval of the

Difference

t-test for Equality of Means

ตวัอยางการนาํเสนอผลการวเิคราะหขอมูล

ตารางที่ 3 ผลการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

หลงัเรียนจําแนกตามเพศ

เพศ n คาเฉลี่ย SD. t p

ชาย

หญิง

8

10

39.63

31.60

6.55

6.20

2.662* .017

* P < .05

ตวัอยางการนาํเสนอผลการวเิคราะหขอมูล

จากการทดสอบคาเฉลี่ยคะแนนผลสัมฤทธ์ิทางการเรียนหลังเรียนดวย t-test พบวาคะแนนผลสัมฤทธิ์ทางกาเรยีนหลงัเรยีนของเพศชายและหญิงแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

LOGOwww.themegallery.com

การใชโปรแกรม SPSS

ทดสอบคาเฉลี่ยดวย ANOVA

www.themegallery.com

ANOVA

ข้ันตอนการทดสอบดวย ANOVA2

ตาราง Out put ANOVA3

ตารางนาํเสนอขอมลูดวย ANOVA4

ทําไมตองใช ANOVA1

www.themegallery.com

1. t-test and ANOVA

สถิติที (t) ทดสอบไดเฉพาะคาเฉล่ียไมเกิน

สองกลุม แตการวิเคราะหความแปรปรวน

(ANOVA) สามารถทดสอบคาเฉล่ียได

ตั้งแต 2 กลุมเปนตนไป

www.themegallery.com

สมมติฐานท่ีใชทดสอบ

สมมติฐานวจิยั: เจตคติวิชาคณิตศาสตรของนักเรียนท่ีเรียน

โปรแกรมตาง ๆ แตกตางกัน

สมมติฐานสถติิ

3211

321

::

µµµµµµ

≠≠==

HHo

23

22

211

23

22

21

:

:

σσσ

σσσ

≠≠

==

HHo

www.themegallery.com

2. ขั้นตอนการทดสอบดวย ANOVA

เมนูบาร เลือก Analyze

Compare Means

• One-Way ANOVA

– คลิกตัวแปรตามใสในชอง Dependent List

– คลิกตัวแปรตนใสในชอง Factor

www.themegallery.com

2. ขั้นตอนการทดสอบดวย ANOVA

– กดปุม Post Hoc

»คลิกเลือกสถิติทดสอบท่ีชอง Equal Variances

Assumed เชน scheffe

»คลิกเลือกสถิติทดสอบท่ีชอง Equal Variances

Not Assumed เชน Dunnett’s C

»ใสคา Significance Level เชน .05 , .01

»คลิก Continue

– คลิก OK

www.themegallery.com

2. ขั้นตอนการทดสอบดวย ANOVA

– กดปุม Options

»ในชอง Statistics คลิกเลือกสถิติท่ีตองการ

เชน Descriptive, Homogeneity of varience

test

»คลิก Continue

– คลิก OK

www.themegallery.com

ตารางท่ีสําคัญของ ANOVAAdd your company slogan.

ตาราง Test of Homogeneity of Variances2

ตาราง ANOVA3

ตาราง Multiple Comparisons4

ตาราง Homogeneous Subsets5

ตาราง Descriptives1

www.themegallery.com

3. ตาราง Out put

Descriptives

Post-test Scores

7 43.29 3.729 1.409 39.84 46.73 38 486 32.17 3.656 1.493 28.33 36.00 26 356 29.67 4.885 1.994 24.54 34.79 25 39

19 35.47 7.321 1.680 31.95 39.00 25 48

scienceart scienceartTotal

N Mean Std. Deviation Std. Error Lower Bound Upper Bound

95% Confidence Interval forMean

Minimum Maximum

www.themegallery.com

วิธีอานคาจากตาราง Descriptives

เชน โปรแกรมวิทยาศาสตร มีจํานวน 7 คน มีคาเฉลี่ย

43.29 สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3.729 ความคลาดเคลือ่น

มาตรฐาน 1.409 ชวงความเชื่อมั่น 95% ของคาเฉลี่ยเปน

ดังนี้ ขอบตํ่าคอื 39.84 ขอบสูงคือ 46.73 โดยคาตํ่าสุดคือ

38 และคาสูงสุดคือ 48

www.themegallery.com

3. ตาราง Out put

Test of Homogeneity of Variances

Post-test Scores

.042 2 16 .959

LeveneStatistic df1 df2 Sig.

www.themegallery.com

วิธีอานคาจากตาราง Test of homogeneity of variences

จากตาราง Test of Homogeneity of Variances ถา Sig. มีคาเกิน

ระดับนัยสําคัญท่ีกําหนดแลว แปลวาความแปรปรวนของ

ประชากรไมแตกตางกัน ไมเชนนัน้ แปลวาความแปรปรวนของ

ประชากรแตกตางกัน

ในท่ีนี้คาพีคอื Sig. = .959 ซึ่งมีคาเกินกวาระดับนัยสําคัญ .05

ดังนั้นจึงสรุปวาความแปรปรวนของประชากรไมแตกตางกัน

www.themegallery.com

หลักการทดสอบดวย ANOVA

ถาความแปรปรวนของประชากรแตกตางกัน ไมควรใชสถิติ ANOVA แตควรเลือกใชวิธีไมอิงพารามิเตอร(Nonparametric methods)

ถาความแปรปรวนของประชากรไมแตกตางกัน ควรจะใชสถิติ ANOVA ทดสอบคาเฉลี่ยตอไปได

www.themegallery.com

3. ตาราง Out put

ANOVA

Post-test Scores

695.142 2 347.571 20.628 .000269.595 16 16.850964.737 18

Between GroupsWithin GroupsTotal

Sum ofSquares df Mean Square F Sig.

www.themegallery.com

วิธีอานคาจากตาราง ANOVA

จากตาราง ANOVA ถา Sig. มีคาเกินระดบันัยสําคัญท่ีกําหนด

แลว แปลวาคาเฉลี่ยของประชากรไมแตกตางกัน ถามีคานอยกวา

หรือเทากับระดับนัยสําคัญท่ีกําหนด แปลวาคาเฉลี่ยของ

ประชากรแตกตางกันอยางนอย 1 คู

ในท่ีนี้คาพีคอื Sig. = .000 ซึ่งมีคานอยกวาระดับนัยสําคัญ .05

ดังนั้นจึงสรุปวาคาเฉลี่ยของประชากรแตกตางกันอยางนอย 1 คู

www.themegallery.com

วิธีอานคาจากตาราง ANOVA

ถาคาเฉลีย่ของประชากรไมแตกตางกนัแลว

ก็ยุติการทดสอบเพยีงเทานี้

แตในท่ีนี้คาเฉลี่ยของประชากรแตกตาง

ดังนั้นจึงตองตรวจสอบตอไป

โดยจะดูตาราง Multiple Comparisons

วามีคาเฉลี่ยคูใดบางท่ีแตกตางกัน

www.themegallery.com

3. ตาราง Out put

Multiple Comparisons

Dependent Variable: Post-test Scores

11.12* 2.284 .001 4.96 17.2813.62* 2.284 .000 7.46 19.78

-11.12* 2.284 .001 -17.28 -4.962.50 2.370 .584 -3.89 8.89

-13.62* 2.284 .000 -19.78 -7.46-2.50 2.370 .584 -8.89 3.8911.12* 2.053 .001 5.38 16.8513.62* 2.442 .001 6.62 20.62

-11.12* 2.053 .001 -16.85 -5.382.50 2.491 .690 -4.65 9.65

-13.62* 2.442 .001 -20.62 -6.62-2.50 2.491 .690 -9.65 4.65

(J) Studying programof respondencesart scienceartscienceartscienceart scienceart scienceartscienceartscienceart science

(I) Studying programof respondencesscience

art science

art

science

art science

art

Scheffe

Dunnett T3

MeanDifference

(I-J) Std. Error Sig. Lower Bound Upper Bound95% Confidence Interval

The mean difference is significant at the .05 level.*.

www.themegallery.com

วิธีอานคาจากตาราง Multiple Comparisons

ถาคาเฉลีย่ของประชากรแตกตางกันแลว จะมีสัญลักษณ *

ปรากฏอยูท่ีมุมขวาบนของผลตาง

ในท่ีนี้เลือกใชสถิต ิScheffe และเลือกระดับนัยสําคัญทาง

สถิติท่ี 0.05 ปรากฏวาคูท่ีมีความแตกตางกันมี 2 คูคือ

science กบั art science และ science กบั art

www.themegallery.com

3. ตาราง Out put

Post-test Scores

6 29.676 32.177 43.29

.569 1.000

Studying programof respondencesartart sciencescienceSig.

Scheffea,bN 1 2

Subset for alpha = .05

Means for groups in homogeneous subsets are displayed.Uses Harmonic Mean Sample Size = 6.300.a.

The group sizes are unequal. The harmonic mean of thegroup sizes is used. Type I error levels are not guaranteed.

b.

www.themegallery.com

วิธีอานคาจากตาราง Homogeneous subsets

คาเฉลี่ยท่ีไมแตกตางกันอยางมีนัยสาํคญั โปรแกรมจะจัด

ใหอยูในเซตเดียวกนั ในท่ีนี้โปรแกรมจัดได 2 เซตยอย

เซตท่ี 1 มี 2 กลุม คือ art และ art science

เซตท่ี 2 มี 1 กลุม คือ science

www.themegallery.com

ตารางที่ 1 การวิเคราะหความแปรปรวนของคะแนนผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนหลังเรียนของนักเรียนที่มีโปรแกรมการเรียนแตกตางกัน

แหลงความแปรปรวน SS df MS F

ระหวางกลุม

ภายในกลุม

695.142

269.595

2

16

347.571

16.850

20.628*

รวม 964.737 18

จากการวิเคราะหคะแนนผลสัมฤทธิท์างการเรียนหลังเรียนพบวามคีาเฉล่ียคะแนนผลสัมฤทธิท์างการเรียนหลังเรียนของนักเรียนอยางนอย 1 คูที่แตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ .05

* P < .05

www.themegallery.com

ตารางที่ 2 การเปรียบเทียบคาเฉล่ียคะแนนผลสัมฤทธ์ิ

ทางการเรียนหลังเรียนรายคูตามโปรแกรมการเรียน

โปรแกรมการเรียน

คาเฉลี่ย วิทยาศาสตร ศิลป-คาํนวณ ศิลป

วิทยาศาสตร

ศิลป-คาํนวณ

ศิลป

43.29

32.17

29.67

-

11.12*

13.62*

-

2.50 -

จากการเปรียบเทียบรายคู พบวามคีวามแตกตางของคาเฉล่ียคะแนนผลสัมฤทธิท์างการเรียนหลังเรียน 2 คู คือโปรแกรมวทิยาศาสตรกับศิลป-คํานวณ และโปรแกรมวิทยาศาสตรกับศิลป อยางมีนัยสําคัญทางสถิตทิี่ระดบั .05

LOGOwww.themegallery.com