ชีววิทยา คืออะไร

Post on 24-Feb-2016

640 views 0 download

description

- PowerPoint PPT Presentation

Transcript of ชีววิทยา คืออะไร

บทท่ี 1 ธรรมชาติของสิง่มชีวีติ

1.1 สิง่มชีวีติคืออะไร1.1.1 สิง่มชีวีติมกีารสบืพนัธุ์1.1.2 สิง่มชีวีติต้องการสารอาหาร

และพลังงาน1.1.3 สิง่มชีวีติมกีารเจรญิเติบโต

มอีายุขยัและขนาดจำากัด1.1.4 สิง่มชีวีติมกีารตอบสนองต่อ

สิง่เรา้1.1.5 สิง่มชีวีติมกีารรกัษาดลุยภาพ

ของรา่งกาย1.1.6 สิง่มชีวีติมลีักษณะจำาเพาะ1.1.7 สิง่มชีวีติมกีารจดัระบบ

1.2 ชวีวทิยาคืออะไร1.3 ชวีวทิยากับการดำารงชวีติ1.4 ชวีจรยิธรรม1.5 การศึกษาชวีวทิยา

ชวีวทิยา คืออะไร

ชวีวทิยา (Biology)

***ชวีวทิยา (Biology) จึงหมายถึง การศึกษาแนวคิดเก่ียวกับสิง่มชีวีติอยา่งมีเหตผุล

bios + logos = biologybios =

ชวีติ (ชวีะ)logos = ความคิดและเหตผุล (วทิยา)

1.ด้านโภชนาการ- การเลือกชนิดของอาหาร   - บรโิภคอาหารให้ถกูสดัสว่น - เพิม่ผลผลิตอาหาร - การปรบัปรุงพนัธุ์พชืและสตัว ์

2.ด้านการแพทยแ์ละสาธารณสขุ- การดแูลรกัษารา่งกาย - ป้องกันโรค รกัษาโรค 3.การควบคมุศัตรู

พชืและสตัว ์- การควบคมุศัตรูพชืและสตัวโ์ดยวธิีทางชวีวธิี

4.การอนุรกัษ์ทรพัยากรธรรมชาติและการป้องกันมลภาวะของสิง่แวดล้อม- การใชท้รพัยากรให้คุ้มค่าและใชไ้ด้นานโดยไม่เป็นอันตรายต่อสิง่แวดล้อม

5.การพฒันาประเทศในทกุ ๆ ด้าน - ด้านเศรษฐกิจ เชน่ พชืผัก ธญัพชื ท่ีใชบ้รโิภคและสง่เป็นสนิค้าออก - การใชพ้ลังงานทดแทน เชน่ มูลสตัว ์ซากสตัว ์ใช้ผลิตก๊าซชวีภาพอ้อยและมนัสำาปะหลังใชผ้ลิตแอลกอฮอล์

ความสำาคัญของชวีวทิยา

ทดสอบก่อนเรยีน

ก. Botanyข. Ecology ค.

Evolution ง. Geneticsจ.

Microbiology

ฉ. Morphology

ช. Physiology

ซ. Protozology

ฌ. Taxonomy

ญ. Zoology

1)….…..สตัววิทยา  2)……...นิเวศวิทยา 3)……...สณัฐานวทิยา 4)….…..พนัธุศาสตร์ 5)……...อนุกรมวธิาน 6)….…..โพรโตซวัวทิยา 7)….…..สรรีวิทยา 8)……...พฤกษศาสตร์ 9)….…..ววิฒันาการ10)….…จุลชวีวทิยา

จงนำาตัวเลือกด้านซา้ยเติมลงในชอ่งวา่งด้านขวาให้ถกูต้อง

การจำาแนกทางชวีวทิยา

1. จำาแนกตามธรรมชาติของสิง่มชีวีติ …………..

2. การศึกษาจากโครงสรา้งหน้าท่ีและการทำางานของสิง่มีชวีติ

………….3. การศึกษาเรื่องราวของสิง่มี

ชวีติ

1. จำาแนกตามธรรมชาติของสิง่มชีวีติ

• พฤกษศาสตร ์(Botany) ศึกษาเก่ียวกับพชื แยกยอ่ยเป็น

- Phycology หรอื Algology (สาหรา่ยวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับสาหรา่ย- Mycology (เห็ดราวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับเห็ดรา- Bryology ศึกษาเก่ียวกับมอสส ์ลิเวอรเ์วริต์และฮอรน์เวริต์- Pteridology ศึกษาเก่ียวกับเฟริน์- Dendrology ศึกษาเก่ียวกับไม้ยนืต้น

ศึกษาเก่ียวกับเฟริน์

Pteridology

Bryology ศึกษาเก่ียวกับมอสส ์ลิเวอรเ์วริต์และฮอรน์เวริต์

Mycology (เห็ดราวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับเห็ดรา

• สตัววทิยา (Zoology) ศึกษาเก่ียวกับสตัว ์ แยกยอ่ยเป็น

1. จำาแนกตามธรรมชาติของสิง่มีชวีติ (ต่อ)

- Protozoology (โพรโทซวัวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับโพรโทซวั- Mammalogy (วทิยาสตัวเ์ล้ียงลกูด้วยนม)ศึกษาเก่ียวกับสตัวเ์ล้ียงลกูด้วยนำ้านม- Ichthyology (มนีวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับปลา- Entomology (กีฏวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับแมลง- Acarology (วทิยาเห็บไร) ศึกษาเก่ียวกับเห็บและไร- Malacology (สงัขวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับหอย- Ornithology (ปักษีวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับนก

Malacology (สงัขวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับหอย

Entomology (กีฏวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับแมลง

Mammalogy (วทิยาสตัวเ์ล้ียงลกูด้วยนม) ศึกษาเก่ียวกับสตัวเ์ล้ียงลกูด้วยนำ้านม

Ornithology (ปักษีวทิยา) ศึกษาเก่ียวกับนก

• จุลชวีวทิยา (Microbiology) ศึกษาเก่ียวกับสิง่มชีวีติขนาดเล็กๆ ท่ีมองด้วยตาเปล่าไมเ่ห็น

1. จำาแนกตามธรรมชาติของสิง่มีชวีติ (ต่อ)

- Virology ศึกษาเก่ียวกับไวรสั- Bacteriology ศึกษาเก่ียวกับแบคทีเรยี

2. ศึกษาจากโครงสรา้งหน้าท่ีและการทำางานของสิง่มชีวีติ

• กายวภิาคศาสตร ์(Anatomy) >>ศึกษาโครงสรา้งต่างๆ โดยการผ่าตัด

• สณัฐานวทิยา (Morphology) >>ศึกษาเก่ียวกับโครงสรา้งและรูปรา่งของสิง่มี

ชวีติ• สรรีวทิยา (Physiology) 

>>ศึกษาหน้าท่ีการทำางานของระบบต่างๆ ในรา่งกายของสิง่มชีวีติ

• พนัธุศาสตร ์(Gennetics) >>ศึกษาลักษณะต่างๆ ทางกรรมพนัธุแ์ละการ

ถ่ายทอดลักษณะต่างๆจากบรรพบุรุษสูล่กูหลาน        

กายวภิาคศาสตร ์(Anatomy) 

>>ศึกษาโครงสรา้งต่างๆ โดยการผ่าตัด

พนัธุศาสตร ์(Gennetics) 

>>ศึกษาลักษณะต่างๆ ทางกรรมพนัธุแ์ละการถ่ายทอดลักษณะต่างๆจากบรรพบุรุษสูล่กูหลาน

• นิเวศวทิยา (Ecology) >>ศึกษาความสมัพนัธข์องสิง่มชีวีติกับสิง่แวดล้อม         

• มญิชวทิยาหรอืเนื้อเยื่อวทิยา (Histology) >>ศึกษาลักษณะของเนื้อเยื่อทั้งทางด้านโครงสรา้งและ

หน้าท่ีการทำางาน• วทิยาเอ็มบรโิอ (Embryology) 

>>ศึกษาการเจรญิเติบโตของตัวอ่อน          • ปรสติวทิยา (Parasitology) 

>>ศึกษาเก่ียวกับการเป็นปรสติของสิง่มชีวีติ• วทิยาเซลล์ (Cytology) 

>>ศึกษาโครงสรา้งหน้าท่ีของเซลล์สิง่มชีวีติ

2. ศึกษาจากโครงสรา้งหน้าท่ีและการทำางานของสิง่มชีวีติ

นิเวศวทิยา (Ecology) 

>>ศึกษาความสมัพนัธ์ของสิง่มชีวีติกับสิง่แวดล้อม

วทิยาเอ็มบรโิอ (Embryology) 

>>ศึกษาการเจรญิเติบโตของตัวอ่อน         

3. ศึกษาเรื่องราวของสิง่มชีวีติ

• อนุกรมวธิาน (Taxonomy) >>ศึกษาเก่ียวกับการแบง่หมวดหมู ่การต้ังชื่อ สิง่มชีวีติชนิดต่างๆ• ววิฒันาการ (Evolution) 

>>ศึกษาเก่ียวกับเรื่องราวของสิง่มชีวีติต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั• บรรพชวีนิวทิยา

(Paleontology) >>ศึกษาเก่ียวกับซากโบราณของสิง่มชีวีติ

• อนุกรมวธิาน (Taxonomy) 

>> ศึกษาเก่ียวกับการแบง่หมวดหมู ่การต้ังชื่อ สิง่มชีวีติชนิดต่างๆ

• ววิฒันาการ (Evolution) 

>>ศึกษาเก่ียวกับเรื่องราวของสิง่มชีวีติต้ังแต่อดีตจนถึงปัจจุบนั