ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

Post on 20-Jul-2015

106 views 3 download

Transcript of ดร.กำพลฯ การรับฟังพยานหลักฐานวินัย

หลักการรับฟังพยานหลักฐาน

ดร.ก าพล วันทา

ส านักนติิการ

ส านักงานปลัดกระทรวงศกึษาธิการ

หลักความชอบด้วยกฎหมายของการกระท าทางปกครอง

ฝ่ายปกครองจะกระท าการใดที่มีผลกระทบต่อสิทธิ เสรีภาพ หรือประโยชน์โดยชอบธรรมของเอกชนได้ ต่อเมื่อ๑. มีกฎหมายให้อ านาจ และ๒. จะต้องกระท าการดังกล่าวภายในกรอบหรือขั้นตอนที่

กฎหมายก าหนด

การกระท าที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย

๑. ไม่มีอ านาจหรือนอกเหนืออ านาจหน้าที่๒.ไม่ถูกต้องตามกฎหมาย๓.ไม่ถูกต้องตามรูปแบบ ขั้นตอน หรือวิธีการอันเป็นสาระส าคัญ๔.ไม่สุจริต๕.เลือกปฏิบัติที่ไม่เป็นธรรม๖. สร้างขั้นตอนโดยไม่จ าเป็นหรือสร้างภาระเกินสมควร๗.ใช้ดุลพินิจโดยไม่ชอบ

การรับฟังพยานหลักฐานคือ การพิจารณาข้อเท็จจริงที่ได้จากการ

สอบสวนว่า ข้อเท็จจริงเป็นอย่างไร ผู้ถูกกล่าวหา

มีการกระท าหรือไม่ได้กระท าการใด อย่างไร

หรือไม่โดยอาศัยพยานหลักฐานและเหตุผลใด

เพื่อหาข้อยุติของเรื่อง

หลักในการรวบรวมพยานหลักฐาน

การท าบันทึก

การใช้ภาษาไทย

การตั้งประเด็น

- ประเด็นข้อเท็จจริง

- ประเด็นข้อกฎหมาย

ข้อเท็จจริงที่เข้าสู่ส านวน

โดยพยานหลักฐาน

โดยผู้สอบสวนหรือผู้พิจารณารับรู้เอง

โดยข้อสันนิษฐาน

โดยผู้สอบสวนหรือผู้พิจารณาตรวจเห็นเอง

โดยผู้ถูกกล่าวหารับ

การรับฟังข้อสันนิษฐานหลัก รับฟังไม่ได้

ข้อยกเว้น

มีกฎหมาย ระเบียบ หรือแบบธรรมเนียม

ให้สันนิษฐานไว้ก่อนอย่างใด ก็ตกเป็นหน้าที่

ของผู้ถูกกล่าวหาที่จะน าสืบหักล้าง ถ้าน าสืบ

หักล้างไม่ได้ ก็ต้องฟังตามข้อสันนิษฐาน

ข้อเท็จจริงที่รับรู้เอง

1. ถ้อยค าภาษาไทยหรือภาษาอื่นที่เป็นที่เข้าใจกัน

อยู่ทั่วไป

2. ธรรมเนียม ประเพณี ซึ่งเป็นที่รู้กันอยู่ทั่วไป

3. กิจการความเป็นไปของบ้านเมือง

4. สิ่งธรรมดา ธรรมชาติ

ประเภทของพยานหลักฐาน

1. พยานบุคคล

2. พยานเอกสาร

3. พยานวัตถุ

4. พยานผู้เชี่ยวชาญ

พยานบุคคล

บุคคลที่จะให้ถ้อยค าเกี่ยวกับข้อเท็จจริง

ที่ตนได้รับรู้มา โดยสามารถเข้าใจและตอบ

ค าถามได้

พยานเอกสาร

สิ่งที่จารึกเป็นลายลักษณ์อักษรที่แสดงออก

ซึ่งความหมาย

พยานวัตถุ

สิ่งที่มีรูปร่างทั้งหลายที่สามารถมีผลต่อ

ความเห็นของบุคคล โดยความคงอยู่

ที่ตั้ง หรือสภาพของสิ่งนั้น

พยานผู้เชี่ยวชาญ

พยานบุคคลซึ่งเป็นผู้มีความรู้เชี่ยวชาญ

ในศาสตร์สาขาใดสาขาหนึ่ง และมาให้

ถ้อยค า โดยการให้ความเห็นในทาง

วิชาการ

พยานหลักฐานแบ่งตามน้ าหนักพยาน

ได้หลายประเภท ดังนี้

1. พยานชั้นหนึ่งและพยานชั้นสอง

•พยานชั้นหนึ่ง ได้แก่ พยานหลักฐาน

ที่ดีที่สุดที่พึงจะมีได้ในขณะนั้น เช่น

พยานที่ลงนามเป็นพยานในสัญญา

•พยานชั้นสอง ได้แก่ พยานหลักฐานอื่นที่

ยังไม่ดีที่สุด แม้จะบ่งชี้ข้อเท็จจริงได้ เช่น

บุคคลที่ให้การว่าเคยเห็นและจ าลายมือของ

คู่สัญญาได้

2. พยานโดยตรง และพยานเหตุผลหรือ

พยานแวดลอ้มกรณี

• พยานโดยตรง - พยานหลักฐานใด

ๆ ที่ระบุว่าข้อเท็จจริงได้มีอยู่ โดยไม่ต้อง

หาเหตุผลสันนิษฐานอย่างใดต่อไปอีก

•พยานเหตุผลหรือพยานแวดล้อมกรณี

- พยานที่ ไม่ ร ะบุ โดยตรงว่ าข้ อ เท็ จจริ ง

เป็นเช่นนั้น แต่มีเหตุผลหรือพฤติการณ์

เชื่อมโยงพอจะเชื่อได้ว่าข้อเท็จจริงควรจะ

เป็นเช่นนั้น

การรับฟังพยานเหตุผลหรือพยานแวดล้อมกรณี

1. รับฟังประกอบพยานโดยตรงให้มีน้ าหนักยิ่งขึ้น

2. รับฟังเมื่อบ่งชี้โดยแน่นอนไม่มีทางจะคิดเป็นอย่างอื่น

3. รับฟังว่าพยานฝ่ายใดมีน้ าหนักกว่ากันเมื่อสองฝ่าย

โต้เถียงกัน โดยอ้างพยานเหตุผลหรือพยาน

แวดล้อมกรณีด้วยกัน

4. รับฟังเพ่ือแย้งพยานโดยตรงที่ปราศจากเหตุผล

3. ประจักษ์พยานและพยานบอกเล่า

• ประจักษ์พยาน - พยานที่ได้รู้ได้เห็น

ข้อเท็จจริงนั้นมาด้วยตนเอง

• พยานบอกเล่า - พยานที่มิได้รู้เห็น

ข้อเท็จจริงนั้นมาด้วยตนเอง หากแต่ได้ยิน

ได้ฟังผู้อื่นเล่าถึงข้อเท็จจริงนั้นมาอีกทอดหนึ่ง

หรือหลายทอด

การรับฟังพยานบอกเล่า

หลัก ไม่พอรับฟัง

ข้อยกเว้น

รับฟังเป็นพยานเหตุผล หรือพยานแวดล้อมกรณี

ประกอบพยาน

รับฟังเม่ือสมเหตุสมผล และมีพยานแวดล้อมกรณี

อื่นสนับสนุนพอ

พยานที่มีน้ าหนักมากควรรับฟัง 1. พยานที่เป็นกลาง

2. พยานที่มีเหตุผลเชื่อมโยง

3. พยานคู่

4. พยานร่วม

5. พยานเอกสาร

6. พยานวัตถุ

7. พยานผู้เชี่ยวชาญ

พยานที่มีน้ าหนักน้อยไม่ควรรับฟัง 1. พยานที่ไมอ่ยู่กับรอ่งกับรอย

2. พยานที่มีสาเหตุโกรธเคือง

3. พยานที่มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด

4. พยานเดี่ยว

5. พยานที่ให้การที่แตกต่างกัน

6. พยานที่ไมส่มเหตุสมผล

7. พยานบอกเล่า

8. ค าซัดทอดของผู้ถูกกล่าวหา

หลักการชั่งน้ าหนักพยาน

1. ต้องฟังพยานที่มีน้ าหนักมากก่อน

2. ถ้าไม่มีพยานที่มีน้ าหนักมาก ฟังพยานที่มี

น้ าหนักน้อย

3. ฟังค าพยานที่สมเหตุสมผลในสภาพปกติ

วิสัยของคนทั่วไป

การชั่งน้ าหนักหรือการรับฟัง

พยานหลักฐานของผู้พิจารณา

1. สามัญส านึก

2. หลักตรรกวิทยา

3. ประสบการณ์

ขึ้นอยู่กับ :

ข้อควรระวัง

- พยานหลักฐานนอกส านวน

- พยานรับสมอ้าง / เท็จ

- พยานเลื่อนลอย