บทที่ 1 โครงสร้างของโลก

Post on 28-May-2015

4.494 views 0 download

Transcript of บทที่ 1 โครงสร้างของโลก

บทที่ 1 โครงสร้างของโลก

โดย..ครูปนิัชยา นาคจ ารูญ

ว่าด้วยโลก (Earth)

โลกเกดิมาไดแ้ลว้ประมาณ 4600 ล้านป ี

สันนิษฐานว่า เกิดจาการหมุนวนของฝุน่และแกส๊ในอวกาศ เรียกว่า เนบิวลา

จากนั้นอีก 100 ปีต่อมา ได้มีการส ารวจแบง่ชัน้ของโลกดว้ยการขดุเจาะกย็งัไม่ส าเรจ็

เนบิวลา

การศึกษาโครงสรา้งของโลก

การใช้คลืน่ไหวสะเทอืน และแบง่ได ้2 คลื่น คือ

คลื่นปฐมภูมิ Primary Waves/P waves : เคลื่อนทีเ่รว็ ผ่านไดห้มด

และคลืน่ทตุิยภูมิ Secondary Waves / S waves : เคลื่อนที่ชา้ ผ่านเฉพาะของแขง็

การศึกษาโครงสรา้งของโลก

ชั้นของโครงสร้างโลก

ชั้นธรณีภาค (Lithosphere)

ลึกประมาณ 0-100 ก.ม. มีสมบัติเป็นของแขง็

คลื่น P และคลืน่ S ผ่านไปดว้ยกนั ด้วยความเรว็ที่เพิม่ขึ้น

ฐานธรณภีาค (Asthenosphere)

ชั้นนี้คลื่นไหวสะเทอืนมีความเรว็ไม่สม่ าเสมอ

มคีวามลกึ 100-400 ก.ม. มีสมบัตเิป็นพลาสตกิ ความเรว็ลดลง

400-660 ก.ม.จะมีการเปลีย่นแปลงโครงสรา้งแร ่มีสมบัตเิปน็ของแขง็ความเร็วเพิ่มขึน้

มีโซสเฟยีร์ (Mesosphere)

ลึกประมาณ 660-2900 ก.ม. คลื่นไหวสะเทอืนมีความเรว็ขึน้สม่ าเสมอ

เนื่องจากบรเิวณลา่งมีโซสเฟยีร์ มีสถานะของแขง็

แก่นโลกชั้นนอก (Outer Core)

มีความหนาตัง้แต ่2900 - 5100 กิโลเมตร คลื่นมีความเรว็เพิ่มขึน้อยา่งช้าๆ

เชื่อกนัว่าชัน้นี้ประกอบดว้ยโลหะเหลก็และนกิเกลิเป็นสว่นใหญ่

เป็นของเหลวหนดื และมีอณุหภูมิสูงมาก ประมาณ 4300 - 6200 องศาเซลเซยีส

แก่นโลกชั้นใน (inner Core)

อยู่ในสถานะของแขง็ ที่ความลกึประมาณ 5,140 กม. - แก่นกลางโลก

มีความดันและอณุหภูมิสูงมาก อาจสูงถงึ 6200 - 6400 องศาเซลเซยีส

ความเรว็คอ่นขา้งคงที ่เพราะมีสถานะเปน็ของแข็งเนื้อเดยีว

ชั้นของโครงสร้างโลก

โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางกายภาพและเคมี

เปลือกโลก( Crust)

ชั้นนอกสดุของโครงสรา้งโลก มีความหนาระหวา่ง 6-35 กิโลเมตร

แบ่งเป็น เปลือกโลกภาคพืน้ทวปี (Continental Crust)

หนาเฉลีย่ 35 – 40 กิโลเมตร ประกอบดว้ยซลิิกอน และอะลูมีเนียม เป็นส่วนใหญ่

เปลอืกโลก( Crust)

เปลือกโลกภาคพืน้สมุทร (Oceanic Crust)

หนาเฉลีย่ 5 – 10 กิโลเมตร ประกอบดว้ยซลิิกอน แมกนีเซยีมเป็นส่วนใหญ่

เนื้อโลก ( mantle)

อยู่ระหว่างเปลือกโลกกบัแกน่โลก มีความหนาประมาณ 2,865 กิโลเมตร (84%)

ส่วนใหญเ่ป็นแมกนีเซยีมและเหลก็ และมีสถานะเป็นของแขง็

ยกเว้นทีค่วามลกึ 70-260 กม.มีการหลอมละลายของหนิอลัตราเมฟกิ

แก่นโลก (core)

ชั้นในสดุ ตั้งแตค่วามลกึที ่2,900 กิโลเมตร ถึงจุดศูนย์กลางโลก

แก่นโลกชัน้นอก มีความหนา 2,200 กม.ประกอบเหล็กและนเิกลิ เป็นหลกั

ชั้นนอก เป็นของเหลวพวกโลหะหลอมชัน้ในเปน็ของแขง็ทีม่ีความหนาแน่นสูง

โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางกายภาพและเคมี

โครงสร้างโลกตามองค์ประกอบทางกายภาพและเคมี

รอยตอ่ระหวา่งเปลอืกโลกกับเนือ้โลก

เรียกว่าแนวแบง่เขตโมโฮโรวิซกิ หรือเรยีกสัน้ๆว่า โมโฮ

ศึกษาไดจ้ากการแบง่สว่นกนัระหว่างหนิอลัตราเมฟกิที่แสดงชั้น และไมแ่สดงชัน้

สรปุ คือสว่นของหนิอลัตราเมฟิกที่แสดงชั้นนัน้เปน็รอยตอ่ของเปลอืกโลกและเนื้อโลก

ค าถามทา้ยบท

ต้นก าเนิดของแมกมาสว่นใหญ่อยูบ่รเิวณชั้นเนื้อโลกตอนบนเป็นหินชนิดใด และมีส่วนประกอบใด

คลืน่ปฐมภูมิ และคลื่นทตุยิภูมิแตกตา่งกนัอยา่งไร

จากภาพดา้นลา่งใหน้กัเรยีนอธบิายการเกดิจุดอบัคลื่น S ตามความรูท้ีเ่รยีนมา

ค าถามทา้ยบท

ค าถามทา้ยบท

ให้นกัเรยีนท าแผนผงัสรปุโครงสรา้งโลก โดยเตมิลงในชอ่งวา่งให้บูรณ์

โครงสรา้งโลก

แบ่งตามการใชค้ลืน่ไหวสะเทอืน แบ่งตามสว่นประกอบทางเคมีและโครงสรา้ง

.........................................

.........................................

.........................................

.........................................

.........................................

.........................................

.........................................